31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

(3) คาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity) ซึ่งจะบอกถึงคาความ<br />

หนืดตํ่<br />

าสุดของแปงที่เกิดจากการใหความรอน<br />

และแรงกวนที่ใชในการผสม(Newport<br />

Scientific,1995) จากตารางที่<br />

18 พบวาที่อุณหภูมิและแรงกวนที่เทากัน<br />

เมื่อผสมแปง<br />

เทายายมอมกับแปงทาว และ/หรือแปงมันสํ าปะหลัง มีผลทํ าใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดลดลง ในทาง<br />

ตรงกันขามเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจา<br />

มีผลทํ าใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้<br />

การที่คาความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงผสมมีคาลดลงเนื่องจากขนาดแอมิโลสของแปงทาวและแปงมัน<br />

สํ าปะหลังมีขนาดเล็กกวาแปงเทายายมอม ปริมาณการไหลออกของแอมิโลสจากเม็ดแปงผสมจึง<br />

มีปริมาณมากกวาสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมเพียงชนิดเดียว<br />

จึงมีผลทํ าใหแปง<br />

ผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดลดลงกวาแปงเทายายมอม เพราะการไหลของแอมิโลสที่ออกมาจากเม็ด<br />

แปงมีผลทํ าใหคาความหนืดลดลง(Whistler and BeMiller, 1999) ในขณะที่เมื่อผสมแปง<br />

เทายายมอมกับแปงขาวเจาพบวาแปงผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเม็ดแปงขาวเจา<br />

จะพองตัวไดไมเต็มที่และแอมิโลสไหลออกจากเม็ดแปงไดยากเนื่องจากเกิดสารประกอบเชิงซอน<br />

ของไขมันกับแอมิโลส ทํ าใหสามารถทนตอแรงกวนไดและเม็ดแปงยังคงอุมนํ้<br />

าไดอยูบาง<br />

(Chen et<br />

al., 1998) คาความหนืดจึงลดลงไมมากเทาแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ดัง<br />

นั้นคาความหนืดตํ่<br />

าสุดของสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาจึงมีคาสูงขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity)<br />

จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

19) พบวาแปงขาวเจา<br />

(X4) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปง<br />

ทาว (X2) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

ที่อุณหภูมิและแรงกวนที่เทากัน<br />

แปงที่จะใหคาความหนืด<br />

ตํ าสุดสูงที ่ ่สุด คือ แปงขาวเจา รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว<br />

ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

29ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดสูง<br />

กวาแปงมันสํ าปะหลังและแปงเทา ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

29ข และ ภาพที่<br />

29ค เมื่อผสมแปงขาว<br />

เจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้เมื่อพิจารณาคาความ<br />

หนืดตํ าสุดกับความงายในการไหลของแอมิโลสออกจากเม็ดแปงพบวามีความสอดคลองกัน ่ เนื่อง<br />

จากการไหลของแอมิโลสที่ออกมาจากเม็ดแปงมีผลทํ<br />

าใหคาความหนืดลดลง(Whistler and<br />

BeMiller, 1999) เพราะฉะนั้นในแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงที่มีการไหลออกของแอมิโลสยาก<br />

เชน แปงขาวเจา จึงทํ าใหแปงผสมนั้นมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

98

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!