31.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอกราบขอบพระคุณ ผศ.ดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ<br />

รศ.วิชัย หฤทัยธนาสันติ์<br />

กรรมการสาขาวิชาเอก รศ.ดร.กลาณรงค ศรีรอต กรรมการสาขาวิชารอง<br />

ที่ไดกรุณาใหคํ<br />

าแนะนํ าในระหวางดํ าเนินการวิจัย ตลอดทั้งตรวจสอบแกไขวิทยานิพนธฉบับนี้จน<br />

สํ าเร็จลุลวงไปดวยดี และขอกราบขอบพระคุณ ดร.วรรณี จิรภาคยกุล อาจารยผูแทนบัณฑิตที่<br />

กรุณาตรวจแกไข และใหคํ าแนะนํ าเพิ่มเติมเพื่อใหวิทยานิพนธฉบับนี้สมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบพระคุณคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดลที่สนับสนุนทุนอุดหนุนการศึกษา<br />

โครงการพัฒนาอาจารยวิทยาเขตสารสนเทศ และบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่<br />

ใหทุนสนับสนุนในการวิจัย และขอขอบพระคุณเจาหนาที่หองปฏิบัติการภาควิชาพัฒนาผลิต<br />

ภัณฑ และหนวยปฏิบัติการแปรรูปมันสํ าปะหลังและแปง ที่ชวยอํ<br />

านวยความสะดวกในการ<br />

ปฏิบัติงาน ขอขอบคุณ คุณขวัญฤทัย ลือสุวรรณทัต คุณอุศมา สุนทรนฤรังษี และคุณณัฐกานต<br />

นวเศรษฐวิสูตร รวมทั้งพี่ๆ<br />

เพื่อนๆ<br />

และนองๆ ทุกทานที่ชวยเหลือในการปฏิบัติงาน<br />

ใหคํ าแนะนํ า<br />

คํ าปรึกษา และความอนุเคราะหในดานตางๆ จนงานสํ าเร็จอยางสมบูรณ<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา พี่สาว<br />

รวมทั้งผูมีพระคุณที่มิไดเอยนามไว<br />

ณ<br />

ที่นี้ทุกทาน<br />

สํ าหรับความรัก ความหวงใย ความเขาใจ และกํ าลังใจที่มีใหมาตลอดจนสํ<br />

าเร็จการ<br />

ศึกษา และสุดทายนี้ขาพเจาขอมอบสวนที่ดีของวิทยานิพนธใหแกครูบาอาจารย<br />

และผูมีพระคุณ<br />

ทุกทาน หากวิทยานิพนธฉบับนี้มีความผิดพลาดประการใด<br />

ขาพเจาขออภัยและขอนอมรับไวแต<br />

เพียงผูเดียว<br />

ปติพร ฤทธิเรืองเดช<br />

พฤษภาคม 2546


สารบาญ<br />

(1)<br />

หนา<br />

สารบาญ (1)<br />

สารบาญตาราง (2)<br />

สารบาญภาพ (6)<br />

คํ านํ า 1<br />

วัตถุประสงค 2<br />

การตรวจเอกสาร 3<br />

อุปกรณและวิธีการ 33<br />

อุปกรณ 33<br />

วิธีการ 36<br />

ผลและวิจารณ 56<br />

สรุปผลการทดลอง 204<br />

ขอเสนอแนะ 209<br />

เอกสารอางอิง 210<br />

ภาคผนวก 222<br />

ภาคผนวก ก 223<br />

ภาคผนวก ข 227<br />

ภาคผนวก ค 244<br />

ภาคผนวก ง 260<br />

ภาคผนวก จ 276<br />

ภาคผนวก ฉ 292


สารบาญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 ความหมายของคุณลักษณะเนื้อสัมผัสตางๆ<br />

ในเชิงคุณภาพทางกายภาพ<br />

จากการทํ า Texture Profile Analysis และในเชิงคุณภาพทางประสาท<br />

สัมผัส 21<br />

2 ตัวอยางขอมูลที่ไดจากการทดสอบดวยวิธี<br />

R-index จํ านวน 20 ตัวอยาง 25<br />

3 อัตราสวนของแปงแตละชนิดในแปงผสมแตละสิ่งทดลอง<br />

44<br />

4 ชนิดและปริมาณแปงที่ใชในแตละสิ่งทดลอง<br />

50<br />

5 สวนผสมของตํ ารับขนมชั้นที่ใชในการทดลอง<br />

51<br />

6 วิธีการประเมินคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

54<br />

7 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณของหัวเทายายมอมสด 100 กรัม 56<br />

8 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณและปริมาณคารโบไฮเดรตของแปงแต<br />

ละชนิด 57<br />

9 ปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปงแตละชนิด<br />

59<br />

10 คาความขาว (whiteness) ของแปงแตละชนิด 61<br />

11 ขนาดเม็ดแปงโดยเฉลี่ย<br />

(ไมครอน) 64<br />

12 ปริมาณความเปนผลึกสัมพัทธของแปงแตละชนิด 67<br />

13 คาเทอรโมไดนามิกสที่เกี่ยวของกับการเกิดเจลาติไนซของแปงเมื่อวิเคราะห<br />

ดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimetry (DSC) 71<br />

14 คุณสมบัติดานความหนืดของแปงแตละชนิดเมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

RVA 75<br />

15 คาเปอรเซ็นตแสงสองผาน(%Transmittance) ของแปงแตละชนิดที่เวลา<br />

ตางๆ กัน 80<br />

16 คาพารามิเตอรตางๆ ที่ไดจากการนํ<br />

าแบบจํ าลองของ GAB มาทํ านายขอ<br />

มูล Moisture sorption isotherm ของแปงแตละชนิด ที่อุณหภูมิ<br />

35 และ<br />

45 องศาเซลเซียส 84<br />

17 คาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิดที่ไดจากการวัดคาแรงกดและ<br />

แรงดึง 87<br />

(2)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

่<br />

18 คุณสมบัติดานความขนหนืดของเจลแปงผสมที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา เมื่อวิเคราะห<br />

ดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) 90<br />

19 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มี<br />

ตอคาคุณสมบัติทางดานความหนืด 92<br />

20 คา Young’s modulus และคาความเคน ณ ตํ าแหนงความเครียดที่ตาง<br />

กัน จากการวัดคาแรงกดของเจลแปงผสมที่ไดจากการผสม<br />

แปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนที<br />

แตกตางกัน 113<br />

21 Degree of elasticity ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

117<br />

22 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสที่วัดไดจากวิธี<br />

Texture Profile<br />

Analysis (TPA) ของเจลแปงผสมที่ไดจากการผสมแปงเทายายมอม<br />

แปงทาว<br />

แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

121<br />

23 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มี<br />

ตอคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

ของเจลแปง 122<br />

24 คาความเคน ณ แรงสูงสุด, คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และ คางาน<br />

ทั้งหมด<br />

จากการวัดคาแรงดึง(Tensile test) ของเจลแปงผสมที่ไดจากการ<br />

ผสมแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ใน<br />

อัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

132<br />

25 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มี<br />

ตอคาแรงดึง 133<br />

26 คาความเคน ณ แรงสูงสุด, คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และ คางาน<br />

ทั้งหมด<br />

จากการวัดคาการแตกหัก (Fracture test) ของเจลแปงผสมที่ได<br />

จากการผสมแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาว<br />

เจา ในอัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

141<br />

(3)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

่<br />

่<br />

27 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มี<br />

ตอคาการแตกหัก 142<br />

28 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

ที<br />

มีตอคา Young’s modulus ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

150<br />

29 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

ที<br />

มีตอคา Degree of elasticity ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

155<br />

30 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคา Hardness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

160<br />

31 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคาCohesiveness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

164<br />

32 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคา Springiness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

168<br />

33 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคา Gumminess ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

172<br />

34 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคาความเคน ณ แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละ<br />

สิ่งทดลอง<br />

176<br />

(4)


สารบาญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

35 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปง<br />

แตละสิ่งทดลอง<br />

181<br />

36 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคางานทั้งหมดที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

185<br />

37 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคาความเคน ณ แรงสูงสุด จากการวัดคาการแตกหักของเจลแปงแตละ<br />

สิ่งทดลอง<br />

189<br />

38 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

ตอคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแตกหักของเจล<br />

แปงแตละสิ่งทดลอง<br />

193<br />

39 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิ<br />

และเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มี<br />

คางานทั้งหมด<br />

ที่ไดจากการวัดคาการแตกหักของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

197<br />

40 คาคุณลักษณะทางดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

เมื่อวัดโดยใชเครื่องวัดคา<br />

เนื้อสัมผัส<br />

Lloyd Instrument TA500 200<br />

41 เปรียบเทียบคา R-index ของคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นแตละสิ่ง<br />

ทดลองกับสิ่งทดลองควบคุม(มีสวนผสมของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ) 202<br />

42 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแปงเทายายมอม 208<br />

(5)


21 ความสามารถในการละลาย ของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

69<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

่<br />

่<br />

22 ลักษณะกราฟ Heat flow ที่อุณหภูมิตางๆ<br />

ของแปงแตละชนิด เมื่อ<br />

วิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimetry (DSC) 73<br />

23 พฤติกรรมดานความขนหนืดของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

ที่ไดจาก<br />

การวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) 74<br />

24 ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

35<br />

องศาเซลเซียส 82<br />

25 ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

45<br />

องศาเซลเซียส 83<br />

26 ลักษณะปรากฏของเจลแปงแตละชนิด 86<br />

27 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลังที่ไมมีปริมาณแปงขาวเจา(0%)<br />

ตอคาอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยน<br />

แปลงคาความหนืด asting temperature) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid<br />

Visco Analyzer (RVA) 94<br />

28 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ<br />

(ค) 50% ตอคาความหนืดสูงสุด( Peak viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะห<br />

ดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) 97<br />

29 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่ปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาความหนืดตําสุด(Trough<br />

viscosity, RVU)เมื่อวิเคราะหดวย<br />

เครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) 99<br />

30 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํา<br />

(7)


สุด (Breakdown, RVU) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer<br />

(RVA) 102<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

31 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาความหนืดสุดทาย (Final viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะหดวย<br />

เครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer(RVA) 105<br />

32 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาการคืนตัว(Setback viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) 107<br />

33 ลักษณะปรากฏของเจลแปงทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองที่ไดจากการผสม<br />

แปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวน<br />

ตางๆ กัน 108<br />

34 ความสัมพันธระหวางคาความเครียดและความเคน จากการวัดคาแรงกด<br />

ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

(Ο) ขอมูลจากการทดลอง และ ( − ) เสน<br />

กราฟจากการใชแบบจํ าลองทํ านาย<br />

110<br />

35 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ<br />

(ค) 50 % ตอคา Young’s modulus (kPa) ของเจลแปงที่ไดจากการวัด<br />

คาแรงกด 116<br />

36 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0% และ (ข) 33% ตอ<br />

คา Degree of elasticity(%) ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

119<br />

37 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ<br />

(8)


50% ตอคาความแข็ง(Hardness , N) ของเจลแปง เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี<br />

Texture Profile Analysis (TPA) 124<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

38 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ<br />

50% ตอคาความสามารถในการเกาะรวมตัวกันของเจลแปง เมื่อทํ<br />

าการ<br />

วัดดวยวิธี Texture Profile Analysis(TPA) 126<br />

39 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่ไมมีปริมาณแปงขาวเจา(0%)<br />

ตอคาความยืดหยุนได<br />

(Springiness, mm) ของเจลแปง เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี Texture Profile<br />

Analysis (TPA) 128<br />

40 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ<br />

50% ตอคาความยากงายในการเคี้ยวตัวอยางของเจลแปง<br />

เมื่อทํ<br />

าการวัด<br />

ดวยวิธี Texture Profile Analysis (TPA) 130<br />

41 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาความเคน ณ แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) 135<br />

42 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคา<br />

แรงดึง(Tensile test) 137<br />

43 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคางานทั้งหมดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) 139<br />

(9)


สารบาญภาพ (ตอ)<br />

(10)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

่<br />

44 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคาความเคน ณ แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาการ<br />

แตกหัก(Fracture test) 144<br />

45 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที่มีปริมาณแปงขาวเจา<br />

3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคา<br />

การแตกหัก(Fracture test) 146<br />

46 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ที มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค)<br />

50% ตอคางานทั้งหมด<br />

ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) 148<br />

47 คา Young’s modulus (kPa) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35<br />

องศาเซลเซียส 153<br />

48 คา Young’s modulus (kPa) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4<br />

องศาเซลเซียส 154<br />

49 คา Degree of elasticity (%) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35<br />

องศาเซลเซียส 157<br />

50 คา Degree of elasticity (%) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4<br />

องศาเซลเซียส 158<br />

51 คา Hardness (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 161<br />

52 คา Hardness (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 162<br />

53 คา Cohesiveness ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35<br />

องศาเซลเซียส 165<br />

54 คา Cohesiveness ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 166


สารบาญภาพ (ตอ)<br />

(11)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

55 คา Springiness indexของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35<br />

องศาเซลเซียส 169<br />

56 คา Springiness index ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4<br />

องศาเซลเซียส 170<br />

57 คา Gumminess (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35<br />

องศาเซลเซียส 173<br />

58 คา Gumminess (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4<br />

องศาเซลเซียส 174<br />

59 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test)<br />

ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 178<br />

60 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test)<br />

ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 179<br />

61 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test)<br />

ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 182<br />

62 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test)<br />

ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 183<br />

63 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปง<br />

ผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 186<br />

64 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปง<br />

ผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 187<br />

65 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 190<br />

66 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 191<br />

67 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture


(12)<br />

test) ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 194<br />

สารบาญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

่<br />

่<br />

68 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture<br />

test) ของเจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 195<br />

69 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที เก็บ ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส 198<br />

70 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที เก็บ ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 199


คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแปงเทายายมอม<br />

และการนํ าไปใชประโยชนในขนมชั้น<br />

Physical and Chemical Properties of Thao Yai Mom Flour<br />

and Its Utilization in Kanom Chan Dessert<br />

คํ านํ า<br />

เทายายมอมเปนพืชในวงศ Taccaceae มีชื่อวิทยาศาสตรวา<br />

Tacca leontopetaloides<br />

Ktze, มีชื่ออื่นๆ<br />

เชน บุกรอ ไมเทาฤาษี สิงโตดํ า ในประเทศไทยเคยมีการสํ ารวจพบวามีอยูคอน<br />

ขางหนาแนนในปาบริเวณชายฝงตะวันออกและภาคใต<br />

และพบกระจัดกระจายในปาในภาคตะวัน<br />

ออกเฉียงเหนือ เทายายมอมเปนพืชลมลุก เจริญเติบโตไดดีในสภาพรมเงาตนไม ในปาโปรงที่เปน<br />

ดินทรายหรือดินรวนปนทราย ตนเทายายมอมสามารถนํ ามาใชประโยชนไดแทบทุกสวน โดย<br />

เฉพาะสวนหัวของตนเทายายมอมนํ ามาสกัดดวยนํ้<br />

าหลายๆ ครั้ง<br />

เพื่อทํ<br />

าแปงที่เรียกวา<br />

แปง<br />

เทายายมอม ซึ่งมีคุณสมบัติใหความใส<br />

เหนียว นํ ามาใชประกอบอาหารไดทั้งอาหารคาวและหวาน<br />

เชน ราดหนา กระเพาะปลา หรือขนมหวาน เชน ขนมชั้น<br />

กะละแม นอกจากนี้ยังมีรายงานพบวา<br />

แปงเทายายมอมมีคุณสมบัติยอยงาย นิยมนํ ามาใชเปนอาหารสํ าหรับผูปวยที่ออนเพลียและไมมี<br />

กํ าลัง เด็กเล็ก หรือผูปวยที่มีปญหาเกี่ยวกับระบบยอยอาหาร<br />

นอกจากนี้สวนของราก<br />

ตน และใบ<br />

ยังมีสรรพคุณทางยาสมุนไพรตามตํ าราแพทยแผนโบราณ อยางไรก็ดีในปจจุบันไมมีการปลูก<br />

เทายายมอมกันอยางจริงจัง อาศัยเก็บหัวจากในธรรมชาติมาทํ าแปง ทํ าใหผลผลิตนอยและแปงมี<br />

ราคาสูง จึงไดมีการนํ าแปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาวซึ่งผลิตมาจากแปงมันสํ<br />

าปะหลัง มาใช<br />

ประโยชนแทน ทํ าใหอาหารที่ไดอาจมีคุณลักษณะที่แตกตางออกไป<br />

การศึกษาคุณสมบัติของแปง<br />

เทายายมอมจะทํ าใหไดขอมูลพื้นฐานนํ<br />

ามาประกอบการเลือกใชแปงใหเหมาะสมกับผลิตภัณฑที่<br />

ตองการ และเมื่อพิจารณาถึงประโยชนหลายๆ<br />

ดาน ตนเทายายมอมจึงนาจะเปนพืชที่มีศักยภาพ<br />

ควรแกการสงเสริมใหเปนพืชเศรษฐกิจ ดังนั้นการศึกษาการใชประโยชนจากแปงเทายายมอมใน<br />

ขนมชั้นจะเปนอีกแนวทางหนึ่งในการรองรับปริมาณผลผลิตหัวเทายายมอมที่จะสงเสริมให<br />

เกษตรกรปลูกตนเทายายมอมเปนพืชเศรษฐกิจในอนาคต และเปนการคงเอกลักษณของขนมไทย<br />

ที่มีมาแตโบราณ<br />

1


วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแปงเทายายมอมที่<br />

ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ โดยเปรียบเทียบกับแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง<br />

และแปงขาวเจา ที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

2. เพื่อศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่เปนสวนประกอบของแปงผสม<br />

ไดแก แปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา และศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและ<br />

ระยะเวลาในการเก็บรักษาเจลแปงผสมที่มีตอคาคุณสมบัติทางกลในดานตางๆ<br />

3. เพื่อศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ<br />

ขนมชั้น<br />

โดยการวัดคาทางกลและการประเมินคาทางประสาทสัมผัส<br />

2


การตรวจเอกสาร<br />

ในปจจุบันไมมีการปลูกตนเทายายมอมกันอยางจริงจัง ทํ าใหขาดแคลนวัตถุดิบที่จะนํ<br />

ามา<br />

ใชผลิตแปงเทายายมอม จึงมีการนํ าแปงมันสํ าปะหลังและแปงทาว ซึ่งเปนแปงที่ผลิตมาจากแปง<br />

มันสํ าปะหลังเขามาใชทดแทนแปงเทายายมอม ซึ่งอาจทํ<br />

าใหคุณลักษณะของผลิตภัณฑที่ได<br />

เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม<br />

ดังนั้นการศึกษาถึงคุณสมบัติของแปงเทายายมอมจะทํ<br />

าใหทราบถึงคุณ<br />

ลักษณะเดนของแปงเทายายมอมและความแตกตางเมื่อเปรียบเทียบกับแปงชนิดอื่นที่นํ<br />

ามาใชทด<br />

แทน และเพื่อใหเขาใจในคุณสมบัติของแปงเทายายมอมไดดียิ่งขึ้น<br />

จึงขอกลาวถึงรายละเอียด<br />

เกี่ยวกับ<br />

ตนเทายายมอมและแปงเทายายมอม คุณสมบัติพื้นฐานของแปง<br />

วิธีการประเมินลักษณะ<br />

เนื้อสัมผัสของเจลแปงโดยวิธีการใชเครื่องมือและวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

ตลอดจนวิธีการศึกษาไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปง<br />

โดยแบงตามแตละหัวขอไดดังนี้<br />

1. เทายายมอม<br />

เทายายมอมเปนพืชในวงศ Taccaceae มีชื่อวิทยาศาสตรวา<br />

Tacca leontopetaloides<br />

Ktze, มีชื่ออื่นๆ<br />

เชน บุกรอ, ไมเทาฤาษี, สิงโตดํ า, East Indian Arrowroot, Thahiti Arrowroot<br />

เปนตน อาจมีถิ่นกํ<br />

าเนิดในแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต(สุภาภรณ, 2543) ในอดีตมีบทบาท<br />

สํ าคัญอยางมากในการเปนอาหารหลัก โดยเฉพาะในหมูเกาะแปซิฟก<br />

เชน ฮาวาย ตาฮิติ และฟจิ<br />

มีการสงออกของเทายายมอมประมาณ 5 ตันตอป และครั้งหนึ่งเคยมีความสํ<br />

าคัญอยางมากใน<br />

ประเทศไทย แตปจจุบันแปงมันสํ าปะหลังเขามาแทนที่<br />

และในหลายๆ พื้นที่<br />

ตนเทายายมอมกํ าลัง<br />

จะกลายเปนพืชที่สูญพันธุ(Flanch<br />

et al., 1996) ในประเทศไทยเคยมีการสํ ารวจพบวามีอยูคอน<br />

ขางหนาแนนในปาบริเวณชายฝงตะวันออกและภาคใตเปนชนิดกานใบสีเขียว<br />

ซึ่งแตกตางจากที่<br />

พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีกานใบสีมวงอมนํ้<br />

าตาล ลักษณะนิเวศวิทยาสํ าคัญของแหลงที่<br />

พบคือ ขึ้นใตรมเงาตนไม<br />

ในพื้นที่ที่เปนปาโปรง<br />

เปนดินทราย หรือดินรวนทราย (สุภาภรณ,<br />

2543)<br />

3


ภาพที่<br />

1 ตนเทายายมอมที่กํ<br />

าลังออกดอก<br />

ที่มา:<br />

กองพฤกษศาสตรและวัชพืช (2544)<br />

เทายายมอมเปนพืชลมลุก มีระบบรากแบบรากฝอย(fibrous root) มีลํ าตนอยูใตดิน<br />

ลักษณะขอสั้น<br />

มีหัวใตดิน รูปรางกลมแบน ซึ่งเกิดจากสวนของลํ<br />

าตนที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อสะสม<br />

อาหาร เปนหัวชนิด tuberous rhizome ตนเทายายมอมเจริญเติบโตไดดีใตรมเงาไมยืนตน เชน<br />

มะพราว มะมวงหิมพานต ขนุน ในพื้นที่ที่เปนดินทรายชายทะเล<br />

มีลักษณะการเจริญเติบโตของตน<br />

ในชวงฤดูฝน และเริ่มพักตัวในชวงตนฤดูแลง<br />

คือ ในระยะประมาณ 7-8 เดือนในรอบป การพักตัว<br />

สังเกตไดจากสวนของตนเหนือดินเหี่ยว<br />

และแหงตายไป เหลือแตหัวใตดิน เมื่อถึงตนฤดูฝนคือราว<br />

เดือนพฤษภาคมจะมีการแตกตนใหมจากหัวเกาหรือจากเมล็ดที่หลนอยูใตตนจากการทดลองปลูก<br />

ดวยเมล็ด (สุภาภรณ, 2543) การขยายพันธุ ทํ าได 2 วิธี คือ การเพาะดวยเมล็ด และการใชสวนหัว<br />

ภาพที่<br />

2 ลักษณะของหัวตนเทายายมอม<br />

ที่มา:<br />

กองพฤกษศาสตรและวัชพืช (2544)<br />

4


องคประกอบของหัวเทายายมอมสดใน 100 กรัม พบวา ประกอบดวยเปลือก 2-3 กรัม,<br />

เสนใยหยาบ 6-7 กรัม, แปง 20-30 กรัม และของเสีย 60-70 กรัม โดยแปงที่สกัดไดพบวามีความ<br />

ขาวมากและมีลักษณะคลายกับแปงมันสํ าปะหลังมากอีกดวย และเมื่อทํ<br />

าการวิเคราะหโดยนํ้<br />

า<br />

หนักแหงของหัวเทายายมอมจากชายฝงทะเลไอวอรี<br />

พบวามีปริมาณโปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต<br />

เซลลูโลส เถา แคลเซียม ฟอสฟอรัส รอยละ 5.1, 0.2, 89.4, 2.1, 3.2, 0.27 และ 0.2 ตามลํ าดับ<br />

นอกจากนี้ยังพบสารใหรสขม<br />

(β - sitosterol, cerylic alcohol, taccalin, alkaloids และ steroidal<br />

sapogenins) รอยละ 2.2 หัวเทายายมอมที่ยังออนจะมีรสขมมากกวาหัวเทายายมอมที่แก<br />

สาร<br />

sapogenins ที่อยู<br />

ในหัวมีฤทธิ์ที่รุนแรงในการกํ<br />

าจัดพวกทาก (Flanch et al.,1996 )<br />

ตนเทายายมอมนํ ามารับประทานไดเหมือนผักคลายกับ Irish potatoes แตคอนขางยอย<br />

ยาก ในแอฟริกาตะวันตกตนเทายายมอมชวยในการบรรเทาภาวะขาดแคลนอาหาร และใน<br />

ศตวรรษที่<br />

19 มีการแนะนํ าวาหัวเทายายมอมสามารถใชในการทํ าผลิตภัณฑแอลกอฮอลได (Kay<br />

,1973) หัวเทายายมอมสดไมสามารถรับประทานไดเพราะมีสารรสขมที่เปนพิษ<br />

จะสามารถรับ<br />

ประทานไดตอเมื่อมีการแปรรูปเปนแปงและนํ<br />

ามาประกอบเปนอาหาร อาหารที่ทํ<br />

าจากแปงสตารช<br />

นี้งายตอการยอยและเหมาะสํ<br />

าหรับผูปวยที่มีปญหาเรื่องระบบยอยอาหาร(Flanch<br />

et al.,1996)<br />

ในประเทศไทยสกัดแปงจากหัวเทายายมอมดวยนํ าหลายๆ ้ ครั้งเพื่อกํ<br />

าจัดสารรสขมตางๆ แลวตาก<br />

แหง เรียกวา แปงเทายายมอม นํ ามาใชประกอบอาหารคาวและหวานไดหลายชนิด เชน ขนมชั้น<br />

ขนมกะละแม ทํ าแปงหอยทอด ขนมหัวผักกาด(สุภาภรณ, 2543) ตามตํ ารับยาไทย รากมี<br />

สรรพคุณเปนยาแกไขทุกชนิด แกพิษผึ้ง<br />

แมลงตอย แกพิษงู หัวมีสรรพคุณแกออนเพลีย บํ ารุงหัว<br />

ใจ แกเบื่ออาหารจากการฟนไข<br />

ตามตํ ารับยาโบราณของชาวเกาะที่มีเทายายมอมขึ้นอยู<br />

ใชหัว<br />

และแปงทํ ายารักษาโรคบิด โรคทวงรวง กานใบและกานดอกใชทํ าหมวก อุปกรณตกปลา ภาชนะ<br />

จักสานตางๆ แปงใชทํ ากาวและใชในการทํ าผาพื้นเมืองจากเปลือกไม(สุภาภรณ,<br />

2543; Kay<br />

,1973; Flanch et al., 1996)<br />

2. แปงเทายายมอม<br />

แปงเทายายมอมเปนแปงที่ใสในขนมแลวจะทํ<br />

าใหใสคลายแปงถั่ว<br />

เปนแปงที่ทํ<br />

ามาจากหัว<br />

เทายายมอม จะเก็บหัวไดปละครั้ง(สํ<br />

านักพิมพแสงแดด, 2539) แปงเทายายมอมมีลักษณะเบา<br />

นุ ม ตัวแปงเปนละออง ทํ าใหขนมนุม<br />

ใส มันเปนเงา ชวยใหขนมมีลักษณะดี (จรูญศรี, 2543) นิยม<br />

5


ใชแปงเทายายมอมผสมรวมกับแปงชนิดอื่นเพื่อใหไดลักษณะขนมที่ตองการ<br />

เชน ในการทํ าขนม<br />

ชั้นจากแปงขาวเจาจะใชแปงเทายายมอมดวยเพื่อใหไดลักษณะใส<br />

เปนประกายเหนียวขึ้น<br />

(ศิริลักษณ, 2525; อบเชย และ ขนิษฐา, 2544)<br />

วิธีการทํ าแปงเทายายมอม เปนวิธีการพื้นบานที่ทํ<br />

าไดงายๆ โดยนํ าหัวตนเทายายมอมมา<br />

ลางใหสะอาด ปอกเปลือกทิ้งอยาใหมีเปลือกหลงเหลือเพราะเปลือกของหัวเทายายมอมเปนพิษ<br />

ตอรางกาย จากนั้นนํ<br />

ามาฝนบนแผนสังกะสีที่เจาะรูดวยตะปู<br />

ใชภาชนะใสนํ้<br />

ารอรับสวนที่ฝนได<br />

ก็<br />

จะไดนํ าแปง ้ หรือทุนแรงโดยใชเครื่องปนนํ้<br />

าผลไม โดยนํ าหัวเทายายมอมที่ปอกเปลือกหั่นเปนชิ้น<br />

เล็กๆ ใสเครื่องปนเติมนํ้<br />

าแลวปนใหละเอียด<br />

ก็จะไดนํ้<br />

าแปงเชนเดียวกัน นํ าเอานํ้<br />

าแปงที่ไดกรอง<br />

ดวยผาขาวบางเอากากทิ้ง<br />

แชนํ้<br />

าสวนที่กรองไดในภาชนะนาน<br />

3 ชั่วโมง<br />

แปงจะตกตะกอนอยูดาน<br />

ลางใหเทนํ าทิ ้ ้ง เทนํ้<br />

าใหมลงไปคนใหเขากันแลวกรองอีกครั้ง<br />

แชทิ้งไว<br />

3 ชั่วโมง<br />

ครบกํ าหนดเวลาให<br />

ทํ าซํ าตามวิธีเดิมอีกครั ้ ้งที่<br />

3 แลวจึงเทนํ้<br />

าทิ้ง<br />

นํ าแปงที่ตกตะกอนอยูดานลางออกมาตากแดดให<br />

แหงสนิท ก็จะไดแปงเทายายมอมขาวสะอาด กอนใชควรนํ าไปรอนดวยตะแกรงรอนอีกครั้ง<br />

ราคา<br />

ขายของแปงเทายายมอมในทองตลาดขายกันในราคาประมาณกิโลกรัมละ 80-130 บาท ในทอง<br />

ตลาดทั่วไปไมมีการซื้อขายหัวของตนเทายายมอม<br />

แตจะมีผูไปหาขุดมาจากปาและนํ ามาขายใน<br />

ราคากิโลกรัมละ 4-5 บาท โดยแหลงผลิตแปงเทายายมอมของภาคตะวันออกอยูที่<br />

จ. ชลบุรี เปน<br />

อุตสาหกรรมในครัวเรือน (พงษพันธุ,<br />

2543)<br />

จากการคนควาตํ ารับขนมไทยพบวา ขนมชั้นมีการใชแปงเทายายมอมเปนสวนผสมมากที่<br />

สุด (สํ านักพิมพแสงแดด, 2539; ทัศนีย, 2532) ดังนั้นจึงไดทํ<br />

าการคัดเลือกขนมชั้นมาใชในการ<br />

ศึกษาเรื่องการใชประโยชนแปงเทายายมอม<br />

ทัศนีย(2532) กลาววา ลักษณะที่ดีของขนมชั้นควรมี<br />

สีออน สวยงาม ผิวหนามันจากกะทิ เนื้อขนมชั้นจะเหนียวนุม<br />

แตละชั้นจะติดกันแตสามารถลอก<br />

เปนชั้นๆ<br />

ได รสหวานออนๆ มีกลิ่นหอมจากใบเตยหรือกลิ่นนํ้<br />

าดอกมะลิ ผสมกับกลิ่นหอมของกะทิ<br />

สด โดยปจจัยที่มีผลตอคุณภาพของขนมชั้น<br />

ไดแก แปง กะทิ นํ้<br />

าตาล การนวดแปง อุณหภูมิในการ<br />

นึ่ง<br />

สีและกลิ่น<br />

ศิริลักษณ(2525) กลาววาขนมชั้นตามตํ<br />

ารับโบราณจริงๆ ทํ าจากแปงขาวเจา<br />

นํ าตาลทรายกับกะทิ ้ ลักษณะขนมจึงหยาบแข็งกระดาง และขุน<br />

ลอกเปนชั้นได<br />

ในปจจุบันนิยม<br />

ขนมชั้นที่มีเนื้อเนียนละเอียด<br />

นุมเหนียว<br />

หยุนลอกเปนชั้นได<br />

สีออนใสเปนประกาย จึงตองมีการ<br />

เติมแปงอื่น<br />

เชน แปงมันสํ าปะหลังจะทํ าใหเนื้อขนมเนียนนุม<br />

เหนียวหนืด ดูใสเปนมัน แปงถั่วเขียว<br />

ชวยใหขนมอยูตัว แปงเทายายมอมชวยใหเนื้อขนมเนียนใสนอยกวาแปงมันสํ<br />

าปะหลังและแข็ง<br />

6


แปงมันสํ าปะหลังและแปงเทายายมอมจะทํ าใหขนมชั้นลอกไดยากขึ้น<br />

การจะใชแปงอยางใดบาง<br />

และมากนอยเทาใดยอมขึ้นกับลักษณะขนมที่ตองการตามความชอบของแตละคน<br />

ถาตองการ<br />

ขนมชั้นที่มีลักษณะเหนียว<br />

ใสมากและลอกไดงาย อาจใชแปงผสมจากแปงมันสํ าปะหลัง แปง<br />

เทายายมอม และแปงถั่วเขียว<br />

โดยแปงถั่วเขียวจะชวยใหขนมไมเหนียวมากเกินไป<br />

และทรงตัว แต<br />

ถาจะทํ าขนมคางคืน จํ าเปนตองใชแปงขาวเจาแทนแปงถั่วเขียว<br />

เนื่องจากแปงถั่วเขียวที่คางคืนนั้น<br />

จะทํ าใหขนมชั้นที่ไดแข็งกระดาง<br />

ไมนารับประทาน<br />

3. คุณสมบัติพื้นฐานของแปง<br />

3.1 องคประกอบภายในเม็ดแปง<br />

แปงเปนคารโบไฮเดรตที่ประกอบดวยคารบอน<br />

ไฮโดรเจน และออกซิเจน ในอัตราสวน 6 :<br />

10 : 5 มีสูตรเคมีโดยทั่วไป<br />

คือ (C6H10O5) n แปงเปนพอลิเมอรของกลูโคส ซึ่งประกอบดวย<br />

anhydroglucose unit เชื่อมตอกันดวยพันธะ<br />

glucosidic linkage ที่คารบอนตํ<br />

าแหนงที่<br />

1 ทาง<br />

ดานตอนปลายของสายพอลิเมอรมีหนวยกลูโคสที่มีหมูแอลดีไฮด<br />

เรียกวา reducing end group<br />

แปงประกอบดวยพอลิเมอรของกลูโคส 2 ชนิด คือ พอลิเมอรเชิงเสน(แอมิโลส) และพอลิเมอรเชิง<br />

กิ่ง<br />

(แอมิโลเพกทิน) แปงจากแหลงที่ตางกันจะมีอัตราสวนของแอมิโลสและแอมิโลเพกทินแตกตาง<br />

กัน ทํ าใหคุณสมบัติของแปงแตละชนิดแตกตางกัน(กลาณรงค, 2542)<br />

แอมิโลสเปนพอลิเมอรเชิงเสนของ glucopyranose unit เชื่อมตอกันดวยพันธะ<br />

α-1, 4-<br />

glucosidic linkage ดังภาพที่<br />

3 แอมิโลสในแปงแตละชนิดจะมีนํ้<br />

าหนักโมเลกุลที่แตกตางกันไป<br />

Young(1984) รายงานวา Degree of polymerization (DP) ของแอมิโลสอยูในชวง<br />

1,400 ถึง<br />

17,000 glucose units แอมิโลสเปนโมเลกุลที่มีความยืดหยุนและสามารถเคลื่อนที่ได<br />

(Freach,<br />

1979) เนื่องจากแอมิโลสประกอบไปดวยหมูไฮดรอกซิลจํ<br />

านวนมากจึงทํ าใหสามารถจับกับโมเลกุล<br />

แปงชนิดอื่นไดดวยพันธะไฮโดรเจน<br />

เชน ในเจลจะเกิดเปนโครงสรางตาขายสามมิติ ซึ่งเปนโครง<br />

สรางที่เกิดจากสายเกลียว<br />

โดยแอมิโลสจะจับกับโมเลกุลของแปงชนิดอื่นดวยพันธะเกลียวคู<br />

(double helices) และจะจับกับโมเลกุลชนิดอื่นดวยพันธะเกลียวเดี่ยว<br />

(single helices) (Bowers,<br />

1992) แอมิโลสจับกับไขมันเปนสารประกอบเชิงซอนที่มีความคงทน<br />

การจะทํ าลายพันธะนี้ตองใช<br />

อุณหภูมิประมาณ 100 องศาเซลเซียส (Kugimiya et al., 1980)<br />

7


แอมิโลเพกทินเปนพอลิเมอรเชิงกิ่งของกลูโคส<br />

สวนที่เปนเสนตรงของกลูโคสเชื่อมตอกัน<br />

ดวยพันธะ α-1, 4-glucosidic linkage และสวนที่เปนกิ่งกานสาขาที่เปนพอลิเมอรกลูโคสสายสั้น<br />

เชื่อมตอกันดวยพันธะ<br />

α-1, 6-glucosidic linkage (Bowers, 1992) ดังภาพที่<br />

3 แอมิโลเพกทินถือ<br />

วามีความสํ าคัญมากกวาแอมิโลส ทั้งดานโครงสราง<br />

หนาที่<br />

และการนํ าไปใชเพราะแอมิโลเพกทิน<br />

เพียงอยางเดียวสามารถรวมตัวเพื่อสรางเม็ดแปงได(กลาณรงค,<br />

2542) โมเลกุลแอมิโลเพกทิน<br />

ประกอบขึ้นจากสายโซหลักหนึ่งสายเรียกวา<br />

C chain ซึ่งจะมีหมู<br />

reducing end หนึ่งหมูและสาย<br />

กิ่งที่มาตอมากมาย<br />

เรียกสายกิ่งเหลานี้วา<br />

B chain และที่สายกิ่งนี้จะมีสาย<br />

A chain เขามาจับ<br />

โดยโครงสรางและนํ้<br />

าหนักโมเลกุลเฉลี่ยของแอมิโลเพกทินจะขึ้นอยูกับแหลงที่มาของแปง<br />

แปงบาง<br />

ชนิดประกอบดวยแอมิโลเพกทินทั้งหมดจะเรียกวา<br />

waxy starches (Whistle and BeMiller,<br />

1999)<br />

ก)<br />

ข)<br />

Symbolic representation of a<br />

branch point in amylopectin or glycogen<br />

ภาพที่<br />

3 โครงสรางของแอมิโลส (ก) และแอมิโลเพกทิน (ข)<br />

ที่มา:<br />

Freach (1979)<br />

8


3.2 โครงสรางผลึกและสวนอสัณฐานภายในเม็ดแปง<br />

เม็ดแปงมีโครงสรางเปน semi-crystalline มีสวนที่เปนผลึก<br />

(crystallite) และสวน<br />

อสัณฐาน (amorphous) สวนที่เปนชั้นผลึกนี้เกิดจากแอมิโลเพกทินแตละโมเลกุลในหลายๆ<br />

ไมเซลล(micelles) เชื่อมตอกันเปนรางแหสามมิติดวยพันธะไฮโดรเจน<br />

(กลาณรงค, 2542) และ<br />

สวนที่เปนชั้นผลึกนี้จะเปนสวนที่ทํ<br />

าใหเม็ดแปงมีความแข็งแรงคงรูปรางของเม็ดแปงไว สวน<br />

อสัณฐานจะเปนสวนที่ยึดเกาะชั้นผลึกไวดวยกัน<br />

และเปนสวนที่สรางความยืดหยุนใหกับเม็ดแปง<br />

(Morrison et al.,1994) ดังนั้นสวนโครงสรางผลึกของสายแอมิโลเพกทินจึงเปนสวนหลักในการ<br />

แสดงคาความเปนผลึกใหแกเม็ดแปง คาความแตกตางของเม็ดแปงจึงแตกตางกันไปตามชนิดของ<br />

แปง (วรางคณา, 2544)<br />

รูปแบบ X-ray diffraction pattern สามารถใชจํ าแนกแปงตามโครงสรางผลึก ซึ่งความ<br />

แตกตางของโครงสรางผลึกในเม็ดแปงจะเกี่ยวของกับความยาวของกิ่งแอมิโลเพกทิน<br />

โดยสามารถ<br />

จํ าแนกแปงได 3 รูปแบบ ไดแก 1) A-type X-ray pattern จะมีกิ่งของแอมิโลเพกทินสั้น(DP<br />

เทากับ<br />

19-28) เชน แปงขาว แปงเผือก แปงมันสํ าปะหลัง 2) B-type X-ray pattern จะมีกิ่งของ<br />

แอมิโลเพกทินยาว(DP เทากับ 29-31) เชน แปงมันฝรั่ง<br />

แปง canna แปงขาวโพดที่มีปริมาณ<br />

แอมิโลสสูง และ 3) C-type X-ray pattern มีลักษณะโครงสรางอยูระหวาง<br />

A-type และ B-type<br />

โดยมีกิ่งของแอมิโลเพกทินที่สั้นและยาวผสมกัน(DP<br />

เทากับ 25-27) เชน แปงกลวย บางครั้งแปง<br />

มันสํ าปะหลังจะแสดงลักษณะของ C-type X-ray pattern (Spence and Jane, 1999) นอกจาก<br />

A, B และ C type แลว บางครั้งยังปรากฏลักษณะ<br />

V-type ซึ่งแสดงถึงโครงสรางผลึกที่ซับซอนที่<br />

เกิดจากการจับกันของแอมิโลสและแอลกอฮอลที่เปนเสนตรง<br />

ไอโอดีน หรือกรดไขมัน (Bear,<br />

1942) ลักษณะ V-type นี้จะพบในแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากกวาหรือเทากับรอยละ<br />

40 เชน ใน<br />

แปงขาวโพดที่มีการดัดแปลงพันธุกรรม<br />

(Eliasson, 1996) ภาพที่<br />

4 แสดงรูปแบบ X-ray<br />

diffraction pattern ของแปง<br />

แปงที่มีรูปแบบของ<br />

X-ray diffraction pattern เปนชนิด A-type ไดแก แปงจากธัญพืช<br />

และราก สามารถสังเกตไดจากกราฟ คือ ไมมีพีคที่มุมหักเห<br />

(diffraction angle) ที่<br />

5.6° แตมีพีค<br />

เดี่ยวที่มุม<br />

17° และ17.9° และพีคเดี่ยวที่<br />

(singlet) 23° แปงชนิด B-type ไดแก แปงจากพืชหัว<br />

สามารถสังเกตไดจากกราฟ คือ จะมีพีคขนาดเล็กที่มุมหักเหที่<br />

5.6° มีพีคเดี่ยว<br />

(singlet) ที่มุม<br />

17°<br />

9


และมีพีคคู<br />

(doublet) ที่<br />

23° สวนแปงชนิด C-type จะมีลักษณะของกราฟอยูระหวาง<br />

A-type<br />

และ B-type คือ มีพีคขนาดเล็กที่มุมหักเหที่<br />

5.6° และมีพีคเดี่ยวที่มุม<br />

17° และ 17.9° (นิติ, 2543)<br />

Reflection Angle 2θ<br />

ภาพที่<br />

4 รูปแบบ X-ray diffraction pattern ของแปง<br />

ที่มา:<br />

Bowers(1992)<br />

การดัดแปรแปงดวยวิธี Heat moisture treatment จะไมทํ าใหรูปรางของเม็ดแปงเปลี่ยน<br />

แตจะทํ าใหโครงสรางผลึกของเม็ดแปงเปลี่ยนไป<br />

(Spence and Jane, 1999) ซึ่งจะสงผลทํ<br />

าให<br />

X-ray pattern เปลี่ยนดวย<br />

Sair and Feltzer (1994) พบวาเมื่อใชวิธีการ<br />

Heat moisture<br />

treatment ดัดแปรแปงมันฝรั่ง<br />

แปงดัดแปรที่ไดจะเปลี่ยนจาก<br />

B-type เปน A-type นอกจากนี้ยัง<br />

พบวาแปงธัญพืชที่มีกรดไขมันอยูแลวหรือมีการเติมเขาไป<br />

เมื่อนํ<br />

ามาดัดแปรดวยวิธี Heat<br />

moisture treatment จะทํ าใหแปงธัญพืชนี้เปลี่ยนจาก<br />

A-type เปน V-type นอกจากนี้<br />

Osman et<br />

al.,(1961) ไดกลาววาระหวางการเกิดเจลาติไนซของแปงจะเกิดการสูญเสียโครงสรางผลึก และจะ<br />

เกิดโครงสราง V-type ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของแอมิโลสกับไขมันในเม็ดแปง<br />

10


3.3 การพองตัวและการละลาย<br />

เมื่อเติมนํ้<br />

าลงในแปงและตั้งทิ้งไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เม็ดแปงจะดูดซึมนํ้<br />

าจากบรรยากาศจน<br />

เกิดสมดุลระหวางความชื้นภายในเม็ดแปงกับความชื้นในบรรยากาศ<br />

ปริมาณนํ้<br />

าที่ถูกดูดซึมจะขึ้น<br />

อยูกับอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ<br />

แปงดิบจะไมละลายในนํ้<br />

าที่มีอุณหภูมิตํ่<br />

ากวาอุณหภูมิ<br />

เจลาติไนซ เนื่องจากมีพันธะไฮโดรเจนซึ่งเกิดจากหมูไฮดรอกซิลของโมเลกุลแปงที่อยูใกลๆ<br />

กัน<br />

หรือ water bridges แตสามารถพองตัวในนํ้<br />

าเย็นไดเล็กนอย ซึ่งการพองตัวลักษณะนี้ผันกลับได<br />

คือ เมื่อทํ<br />

าใหแหงก็จะกลับเปนเม็ดแปงเหมือนเดิม(กลาณรงค, 2542; Whistle and BeMiller,<br />

1999) เม็ดแปงจะดูดนํ้<br />

าตลอดเวลาที่ใหความรอน<br />

และพองตัวเปนหลายเทาของขนาดเดิม<br />

โมเลกุลแอมิโลสจะละลายออกมาในนํ้<br />

าที่อยูบริเวณรอบๆ<br />

เม็ดแปง (Bowers, 1992)<br />

Leach et al.(1959) ไดพัฒนาวิธีการวัดคาการพองตัวและการละลายของแปงที่อุณหภูมิ<br />

ตางๆ โดยนํ้<br />

าแปงจะถูกใหความรอนภายใตสภาวะที่ถูกควบคุม<br />

ตอจากนั้นจะทํ<br />

าการเหวี่ยง<br />

คา<br />

กํ าลังการพองตัว (swelling power) คํ านวณจากปริมาตรและนํ้<br />

าหนักของตะกอนแปงที่เหวี่ยงได<br />

คาการละลาย(solubility) คํ านวณจากปริมาณของแข็งที่ละลายได<br />

การใชอุณหภูมิที่หลากหลาย<br />

จะแสดงอัตราการพองตัวและการละลายที่แตกตางกันของแปงแตละชนิด<br />

แปงแตละชนิดจะมีการพองตัวที่แตกตางกัน<br />

เนื่องมาจากโมเลกุลภายในโครงสรางที่แตก<br />

ตางกัน เชน ในแปงมันสํ าปะหลังแสดงถึงโครงสรางภายในที่ออนแอ<br />

จึงสามารถพองตัวไดอยาง<br />

อิสระและมาก ในทางตรงกันขามแปงขาวฟางแสดงถึงการพองตัวที่จํ<br />

ากัด 2 ขั้นตอน<br />

ซึ่งแสดงให<br />

เห็นถึงแรงที่เกิดขึ้นภายในพันธะ<br />

2 ชนิดที่อยูในเม็ดแปง(Pomeranz,<br />

1991) นอกจากชนิดของแปง<br />

ที่มีผลตอการพองตัวและการละลายแลว<br />

ปจจัยอื่นที่มีผลไดแก<br />

ความแข็งแรงและลักษณะรางแห<br />

ภายในเม็ดแปงหรือจํ านวนและชนิดพันธะภายในเม็ดแปง ในระดับโมเลกุลปจจัยที่มีผลกระทบตอ<br />

จํ านวนพันธะ คือ ขนาด รูปราง สวนประกอบ และการกระจายตัวของรางแหภายในเม็ดแปง อัตรา<br />

สวนของแอมิโลสและแอมิโลเพกทิน นํ้<br />

าหนักโมเลกุล การกระจายตัวของโมเลกุล จํ านวนกิ่งสาขา<br />

การจัดเรียงตัว และความยาวของสาขาในแอมิโลเพกทินก็มีผลตอจํ านวนของพันธะเชนเดียวกัน<br />

(Leach et al.,1959)<br />

11


3.4 การเกิดเจลาติไนซ<br />

โมเลกุลของแปงประกอบดวยหมูไฮดรอกซิลจํ<br />

านวนมาก ยึดเกาะกันดวยพันธะไฮโดรเจน<br />

มีคุณสมบัติชอบนํ้<br />

า แตเนื่องจากเม็ดแปงอยูในรูปของรางแห<br />

micelles การจัดเรียงตัวลักษณะนี้<br />

จะทํ าใหเม็ดแปงละลายในนํ้<br />

าเย็นไดยาก ดังนั้นในขณะที่แปงอยูในนํ้<br />

าเย็นเม็ดแปงจะดูดซึมนํ้<br />

า<br />

และพองตัวไดเล็กนอย แตเมื่อใหความรอนกับสารละลายนํ้<br />

าแปง พันธะไฮโดรเจนจะคลายตัวลง<br />

เม็ดแปงจะดูดนํ้<br />

าและพองตัว สวนผสมของนํ้<br />

าแปงจะมีความหนืดมากขึ้นและใสขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

โมเลกุลของนํ้<br />

าอิสระที่อยูรอบๆ<br />

เม็ดแปงเหลือนอยลง เม็ดแปงเคลื่อนไหวไดยากขึ้นทํ<br />

าใหเกิด<br />

ความหนืด ปรากฏการณนี้เรียกวา<br />

การเกิดเจลาติไนเซชัน (gelatinization) แปงจากสวนหัว(มัน<br />

ฝรั่ง)<br />

และแปงจากสวนราก (มันสํ าปะหลัง) มีพันธะภายในโมเลกุลที่ไมแข็งแรง<br />

การเกิดเจลาติไนซ<br />

เกิดขึ้นไดงายและจะทํ<br />

าใหเกิดความหนืดไดอยางรวดเร็วเมื่อทํ<br />

าการกวน เนื่องจากการกวนจะทํ<br />

าให<br />

เม็ดแปงที่พองตัวจนมีขนาดใหญแตกงาย<br />

(กลาณรงค,2542; Whistle and BeMiller, 1999)<br />

อุณหภูมิที่ทํ<br />

าใหนํ้<br />

าแปงเกิดเจลาติไนซ จะไมไดอยูที่อุณหภูมิเฉพาะ<br />

แตมักอยูเปนชวง<br />

(gelatinization temperature range) เนื่องจากเมื่อเม็ดแปงแขวนลอยถูกใหความรอน<br />

เม็ดแปง<br />

เม็ดแรกเริ่มเกิดเจลาติไนซที่อุณหภูมิหนึ่ง<br />

สวนเม็ดแปงอื่นๆ<br />

ที่แขวนลอยอยูในสารละลายเดียวกัน<br />

(โดยทั่วไปจะมีขนาดเล็กกวาเม็ดแรก)<br />

ก็จะเริ่มเปลี่ยนเปนขนใสที่อุณหภูมิสูงกวาครั้งแรก<br />

ดังนั้น<br />

คาที่จริงจึงควรจะนับอุณหภูมิแรกที่ทํ<br />

าใหเม็ดแปงเจลาติไนซ จนถึงอุณหภูมิสูงขึ้นที่มีผลตอเม็ด<br />

แปงตอๆ มา สํ าหรับวิธีการวัดอุณหภูมิที่ทํ<br />

าใหนํ้<br />

าแปงเกิดเจลาติไนซที่ดีที่สุดโดยใชวิธีการของ<br />

Kofler hot-stage microscope ดวยวิธีนี้พบวาอุณหภูมิที่ทํ<br />

าใหแปงเทายายมอมเกิดเจลาติไนซเทา<br />

กับ 62-66-70 องศาเซลเซียส และเมื่อทํ<br />

าการวัดดวยเครื่อง<br />

Brabender visco analyzer มีคาเทา<br />

กับ 90-95 องศาเซลเซียส นอกจากนี้การวัดอุณหภูมิที่ทํ<br />

าใหนํ้<br />

าแปงเกิดเจลาติไนซยังอาจใชวิธีที่<br />

เรียกวา Differential Scanning Calorimetry (DSC) และเรียกอุณหภูมิที่วัดดวยเครื่องนี้วา<br />

DSC<br />

gelatinization temperature range ซึ่งคาที่ไดจะแตกตางจากวิธี<br />

Kofler (Whistle and BeMiller,<br />

1999)<br />

12


3.5 การเกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

เมื่อแปงไดรับความรอนจนถึงอุณหภูมิที่เกิดเจลาติไนเซชันแลวใหความรอนตอไปจะทํ<br />

าให<br />

เม็ดแปงพองตัวมากขึ้นจนถึงจุดที่พองตัวเต็มที่และแตกออก<br />

โมเลกุลของแอมิโลสขนาดเล็กจะ<br />

กระจัดกระจายออกมาทํ าใหความหนืดลดลง เมื่อปลอยใหเย็นตัว<br />

โมเลกุลแอมิโลสที่อยูใกลกันจะ<br />

เกิดการจัดเรียงตัวกันใหมดวยพันธะไฮโดรเจนระหวางโมเลกุล เกิดเปนรางแหสามมิติโครงสราง<br />

ใหมที่สามารถอุมนํ้<br />

าและไมมีการดูดนํ้<br />

าเขามาอีก มีความหนืดคงตัวมากขึ้น<br />

เกิดลักษณะเจล<br />

เหนียว คลายฟลมหรือผลึก เรียกปรากฏการณนี้วา<br />

การเกิดรีโทรเกรเดชัน (retrogradation) หรือ<br />

การคืนตัว (กลาณรงค, 2542; Stephen, 1995) โมเลกุลแอมิโลเพกทินสามารถเกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

ไดโดยเกิดจากการรวมตัวกันของกิ่งที่สั้น<br />

และใชเวลาในการเกิดนานกวาแอมิโลส(Jane and<br />

Roybyt,1984)<br />

Bowers (1992) แสดงโครงสรางการเกิดรีโทรเกรเดชันของแปง โดยพิจารณาบริเวณโครง<br />

สรางของแอมิโลเพกทินที่แผขยาย<br />

สามารถแบงบริเวณนี้ออกได<br />

3 สวน ดังภาพที่<br />

5 ซึ่งจะแตกตาง<br />

กันตามโครงสรางการจัดเรียงตัวที่มีความเปนไปไดในการเกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

ไดแก 1) Domain A<br />

(เหนือเสนประ) เกิดจากกิ่งของแอมิโลเพกทินที่พันกันดวยพันธะเกลียวคู<br />

โดยมีแอมิโลสบางสาย<br />

รวมอยูในเกลียว<br />

2) Domain B เกิดจากกิ่งของแอมิโลเพกทินที่พันกันและยังคงกระจายไดในนํ้<br />

า<br />

บริเวณรอบๆ โดย Domain B นี้จะมีสถานะอยูระหวางการเกิดเจลกับการเกิดรีโทรเกรเดชันของ<br />

Domain A และ 3) Domain C เกิดจากการเกิดรีโทรเกรเดชันของแอมิโลสที่เกิดจากโมเลกุลที่พับ<br />

ไปมา ทั้งนี้เนื่องจากแอมิโลเพกทินเปนสวนประกอบหลักในแปง<br />

ดังนั้น<br />

Domain A และ Domain<br />

B จึงเปนพื้นที่สวนใหญที่เกิดการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของการเก็บเจล<br />

โดยในการเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันแอมิโลสจะเกิดกอนและเมื่อเวลาผานไปแอมิโลเพกทินจะเกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

13


water<br />

ภาพที่<br />

5 แบบแผนของโครงสรางที่มีความเปนไปไดของแปงที่เกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

ที่มา:<br />

Bowers (1992)<br />

การคืนตัวของแปงขึ้นอยูกับหลายปจจัย<br />

ไดแก ชนิดของแปง ความเขมขนของแปง<br />

กระบวนการใหความรอน กระบวนการใหความเย็น อุณหภูมิ ระยะเวลา ความเปนกรด-เบสของ<br />

สารละลาย ปริมาณและขนาดของแอมิโลส แอมิโลเพกทิน และองคประกอบทางเคมีอื่นๆ<br />

ของ<br />

เม็ดแปง (Whistle and BeMiller, 1999) Stephen(1995) กลาววาอัตราสวนของแอมิโลสและ<br />

แอมิโลเพกทินของแปงมีอิทธิพลตอการเกิดรีโทรเกรเดชัน นอกจากนี้ยังเกิดจากอิทธิพลของการ<br />

กระจายของขนาดโมเลกุลของแอมิโลสและแอมิโลเพกทิน โดยการเกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิดได<br />

อยางรวดเร็ว ถาความยาวของสายโซอยูในชวง<br />

75-100<br />

4. การประเมินลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปง<br />

ลักษณะทางดานเนื้อสัมผัสเปนผลของการประกอบกันของคุณสมบัติทางดานกายภาพ<br />

และดานเคมี ซึ่งรวมถึง<br />

ขนาด รูปราง จํ านวน ธรรมชาติ และการจัดเรียงตัวของโครงสรางของ<br />

สารนั้นๆ<br />

ทั้งหมดนั้นเปนผลของโครงสรางของวัสดุ<br />

และจากโครงสรางของวัสดุเราสามารถทํ า<br />

ความเขาใจคุณสมบัติทางกายภาพ และลักษณะทางเนื้อสัมผัสได<br />

จึงนํ าหลักการนี้มาใชกับการ<br />

ประเมินลักษณะทางเนื้อสัมผัสโดยใชเครื่องมือ<br />

เครื่องมืออาจจะใชวัดคุณสมบัติทางกายภาพเพียง<br />

14


หนึ่งลักษณะ<br />

แตบอยครั้งที่เราจะพิจารณาลักษณะทางกายภาพหลายอยางรวมกัน<br />

ดวยเหตุนี้จึงมี<br />

วิธีการวัดเนื้อสัมผัสแบบทางออม<br />

และผลของการวัดที่ไดก็มีความหมายมากถาเราสามารถนํ<br />

ามา<br />

เชื่อมโยงกับหลักการและคาที่ไดจากการวัดทางประสาทสัมผัส(Lewis,<br />

1990) วิธีการประเมิน<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปงสามารถวัดคาไดโดยการใชเครื่องมือและวิธีการประเมินคุณภาพ<br />

ทางประสาทสัมผัส ดังนี้<br />

4.1 การประเมินลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปงโดยการใชเครื่องมือ<br />

Bourne(1982) กลาววาวิธีการประเมินลักษณะเนื้อสัมผัสโดยการใชเครื่องมือ<br />

สามารถ<br />

แบงออกไดเปน 3 วิธีใหญ ดังนี้<br />

(1) วิธีการวัดคาพื้นฐานทางวัสดุศาสตร(Fundamental<br />

measurement) เปนวิธีการซึ่ง<br />

พัฒนามาจากนักวิทยาศาสตรและวิศวกร ซึ่งบอยครั้งพบวาขอมูลไมสามารถนํ<br />

ามาใชในการ<br />

ประเมินความรูสึกของมนุษยในดานเนื้อสัมผัสขณะเคี้ยวได<br />

ขอดีของวิธีการนี้คือสามารถอธิบาย<br />

คาที่วัดไดในเชิงวัสดุศาสตร<br />

และขอเสียคือคาที่ไดไมคอยมีความสัมพันธกับการวัดคาทางประสาท<br />

สัมผัส เครื่องมือมีราคาแพงและใชเวลาในการวัดคานาน<br />

วิธีการวัดคาพื้นฐานทางวัสดุศาสตรจะ<br />

เกี่ยวของกับคาแรงที่มากระทํ<br />

าตอตัวอยาง ทั้งนี้แรงที่มากระทํ<br />

าตอตัวอยางมีหลายรูปแบบ เชน แรง<br />

กดและแรงกดอัด(Compression-Extrusion) แรงดึง(Tensile) แรงตัดและแรงเฉือน(Cutting and<br />

Shearing) เปนตน<br />

(2) วิธีการวัดคาแบบประยุกต(Empirical measurement) เปนวิธีการวัดคาเนื้อสัมผัสที่<br />

ถูกออกแบบมาโดยนักประดิษฐ เพื่อใหมีความเหมาะสมกับงานที่นํ<br />

าไปใช โดยเฉพาะงานควบคุม<br />

คุณภาพและแบงระดับชั้นคุณภาพผลิตภัณฑในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

ขอดีของวิธีการนี้คือ<br />

เครื่อง<br />

มือใชงานงาย มีความรวดเร็วในการวัด และคาที่ไดมีความสัมพันธกับการวัดคาทางประสาทสัมผัส<br />

และขอเสียคือไมสามารถอธิบายหลักการวัดคาที่ไดบนพื้นฐานทางการวัดคาวัสดุศาสตร<br />

วัดคาได<br />

เพียงคุณลักษณะใดคุณลักษณะหนึ่ง<br />

วิธีการวัดคาขึ้นอยูกับผูวัดไมมีวิธีการวัดที่ไดมาตรฐานแน<br />

นอน และโดยทั่วไปจะวัดคาที่จุดใดจุดหนึ่งจึงไมสามารถใหขอมูลที่ตอเนื่องได<br />

ตัวอยางเครื่องมือ<br />

วัดคาแบบประยุกตไดแก Fruit pressure tester, Bloom gelometer, Penetrometer เปนตน<br />

15


(3) วิธีการเลียนแบบการเคี้ยวของมนุษย(Imitative<br />

measurement) วิธีการนี้จะออกแบบ<br />

เครื่องมือใหมีหลักการทํ<br />

างานคลายกับการเคี้ยวของมนุษย<br />

โดยเปนเครื่องมือแบบเดียวกันกับวิธี<br />

การวัดคาพื้นฐานทางวัสดุศาสตรที่สามารถหาคาแรงกับระยะทาง<br />

หรือความเคนกับความเครียด<br />

ได ตัวอยางเครื่องมือที่ใชวัดคาดวยวิธีการนี้ไดแก<br />

Texture Analysis, Instron, Lloyd เปนตน<br />

ในการศึกษาลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปงเทายายมอมโดยการใชเครื่องมือในครั้งนี้<br />

ได<br />

ทํ าการวัดคาลักษณะเนื้อสัมผัสโดยวิธีการ<br />

ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงกด(Uniaxial compression) 2)<br />

การวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวสูสภาพเดิม(Degree<br />

of elasticity) 3) การวัดคาเคา<br />

โครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส(Texture<br />

Profile Analysis) และ 4) การวัดคาแรงดึง(Tensile test) ดัง<br />

นั้นจึงขอกลาวถึงวิธีการวัดคาเหลานี้พอสังเขป<br />

ดังตอไปนี้<br />

4.1.1 การวัดคาแรงกด (Uniaxial compression)<br />

เจลแปงที่มีลักษณะแข็งขึ้นแสดงถึงการเกิดการคืนตัวของแปงหรือการเกิด<br />

รีโทรเกรเดชัน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถศึกษาไดโดยวิธีการวัดคาพื้นฐานทางวัสดุศาสตร<br />

เชน<br />

การวัดคาแรงกดตามแนวใดแนว (Uniaxial compression) (Jankowski and Rha, 1986) ทั้งนี้<br />

แรงกด ตามแนวใดแนวหนึ่งหมายถึง<br />

แรงภายนอกที่มากระทํ<br />

าในแนวตั้งฉากกับพื้นที่หนาตัดของ<br />

ตัวอยางที่ทํ<br />

าการทดสอบแลวพยายามใหตัวอยางอัดกันแนนขึ้น<br />

สวนตัวอยางจะเกิดแรงตานที่อยู<br />

ภายในขึ้นมา<br />

เพื่อพยายามรักษาสมดุลรูปรางของตัวอยางใหคงรูปเดิม<br />

(ธงชัย, 2544) วิธีการวัดคา<br />

แรงกดจะใหคาพารามิเตอรตางๆ ที่เกี่ยวกับดานทางกลซึ่งสามารถหาไดจาก<br />

Hencky’s strain (ε<br />

H) และคา Young’ s modulus (E) ซึ่งคา<br />

Young’ s modulus (E) นี้บงบอกถึงความยืดหยุนของ<br />

วัสดุ และสามารถหาไดจากความชันของเสนกราฟระหวางความเคนและความเครียดในชวงเริ่มตน<br />

ที่เปนเสนตรง<br />

ดังภาพที่<br />

6 ซึ่งแสดงลักษณะเสนกราฟอุดมคติของความเคนและความเครียดที่ได<br />

จากการวัดคาแรงกด และพารามิเตอรเหลานี้นิยมใชในการแสดงผลของการวัดคาแรงกดในเจล<br />

แปง (Jankowski and Rha, 1986)<br />

16


ภาพที่<br />

6 เสนกราฟอุดมคติของความเคนและความเครียดที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

(ความชันของเสนตรง OA คือคา Young’ s modulus (E))<br />

ที่มา:<br />

Karim et al. (2000)<br />

นฤวัจน และคณะ(2545) พบวาวิธีการวัดคาแรงกด โดยการหาคาความเคนแรง<br />

กดสูงสุดสามารถใชแยกแยะความแตกตางระหวางเจลแปงขาวเจาและเจลแปงมันสํ าปะหลังได<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(p


elasticity)<br />

4.1.2 การวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม<br />

(Degree of<br />

Bourne (1982) กลาววา Elasticity หมายถึง ความสามารถในการคืนตัวกลับสู<br />

สภาพเดิม หลังจากที่ตัวอยางถูกกดหรือทํ<br />

าใหผิดรูปราง (deformation) ระดับความสามารถใน<br />

การคืนตัวกลับสูสภาพเดิม<br />

(Degree of elasticity) ถูกอธิบายในรูปของอัตราสวนของการคืนตัว<br />

และปริมาณการเสียรูปทั้งหมดที่เกิดจากการกดหรืออยูในรูปของเปอรเซ็นตดังสมการที่<br />

1<br />

Degree of elasticity = Recoverable deformation x100 (1)<br />

Total deformation<br />

การประมาณคา Recoverable deformation เปนเรื่องที่ยุงยากเนื่องจากใน<br />

อาหารสวนใหญมีลักษณะเปน viscoelastic ซึ่งการคืนรูปจะมีเรื่องของเวลาเขามาเกี่ยวของ<br />

จึงมี<br />

การอธิบายคา Degree of elasticity ในรูปของอัตราสวนระหวาง Recoverable work และ Total<br />

work ดังสมการที่<br />

2<br />

Degree of elasticity = % Recoverable work<br />

= Recoverable work X 100 (2)<br />

Total work<br />

งานที่ไดจากพื้นที่ใตกราฟของคาแรงกับการเสียรูป(force-deformation)<br />

หรือ<br />

จากกราฟของความเคนและความเครียด(stress-strain) ดังภาพที่<br />

7 จะมีความผิดพลาดนอยมาก<br />

Total work และ Recoverable work จะคํ านวณจากพื้นที่ใตกราฟของความเคนและความเครียด<br />

โดยมีหนวยเปน งาน / ปริมาตรของตัวอยาง และเปนที่ทราบกันดีอยูแลววา<br />

อาหารสวนใหญไมใช<br />

True elasticity ดังนั้นในการพิจารณา<br />

Degree of elasticity โดยใชสมการที่<br />

1 และ สมการที่<br />

2<br />

อาจจะตองคํ านึงถึงคาความเครียดดวย<br />

18


ภาพที่<br />

7 คางานที่ไดจากความสัมพันธระหวางคาความเคนและความเครียด<br />

ที่มา:<br />

Kaletunc et al. (1991)<br />

ณัฐกานต และคณะ(2545) ศึกษาผลของการใชฟลาวมันสํ าปะหลังที่มีตอ<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมมันสํ<br />

าปะหลัง โดยเมื่อทํ<br />

าการวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัว<br />

กลับสูสภาพเดิม<br />

(Degree of elasticity) ดวยเครื่อง<br />

Lloyd TA500 พบวาการเพิ่มปริมาณฟลาว<br />

มันสํ าปะหลังในขนมมันสํ าปะหลังมีผลทํ าใหคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม<br />

ลดลงอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(p0.05) Kaletunc et al. (1991) ทํ าการศึกษาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับ<br />

สูสภาพเดิมของอาหารหลายชนิด<br />

ไดแก กลวย เนยแข็ง ไสกรอก เจลลี่<br />

แมสเมลโล และมันฝรั่ง<br />

โดย<br />

การวัดคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับ(%recoverable<br />

work) พบวาปริมาณงานที่เกิดจากการคืน<br />

ตัวกลับของผลิตภัณฑจะแตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับจํ<br />

านวนรอบในการกดและลักษณะเฉพาะ<br />

ของผลิตภัณฑ โดยทั่วไปวัสดุที่เรียกวา<br />

elastic จะมีคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับอยูในชวง<br />

รอยละ 60-80 และวัสดุที่เรียกวา<br />

plastic จะมีคางานที่เกิดจากการคืนตัวกลับอยูในชวงรอยละ<br />

20-50<br />

19


4.1.3 การวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis)<br />

เครื่องมือที่ใชในการวัดคาเนื้อสัมผัสดวยวิธี<br />

Texture Profile Analysis จะคลาย<br />

กับการทํ า Texture Profile ดวยวิธีการทดสอบทางประสาทสัมผัส คือ จะมีการอธิบายพรรณนา<br />

คํ าศัพทเกี่ยวกับเนื้อสัมผัสของอาหาร<br />

เครื่องมือในการวัด<br />

Texture Profile นั้นเปนการวัดคา<br />

พารามิเตอรของเนื้อสัมผัสของอาหารที่สามารถเปนไปได<br />

หลักการพื้นฐานคือ<br />

จะกลาวถึงคุณ<br />

ลักษณะของเนื้อสัมผัสที่สามารถทํ<br />

าการวัดคาไดโดยการใชเครื่องมือ<br />

ในผลิตภัณฑที่ใชสํ<br />

าหรับวัด<br />

คาเนื้อสัมผัสของอาหารทั่วๆ<br />

ไปนั้น<br />

จะมีการถูกออกแบบมาเพื่อใชในการวัดคาคุณลักษณะเนื้อ<br />

สัมผัสของอาหาร เครื่องมือที่ใชในการวัดคานั้นไดมีการอธิบายไวโดย<br />

Friedman et al. (1963)<br />

วามีการออกแบบเครื่องมือเลียนแบบการทํ<br />

างานของแรงที่ใชภายในปาก<br />

ลักษณะของกราฟที่ได<br />

จากการทํ า Texture Profile ที่ไดจากการใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

แสดงดังภาพที่<br />

8<br />

ภาพที่<br />

8 กราฟที่ไดจากการทํ<br />

า Texture Profile Analysis<br />

ที่มา:<br />

Bourne (1978)<br />

การเปรียบเทียบความหมายของคุณลักษณะเนื้อสัมผัสตางๆ<br />

ในเชิงคุณภาพทาง<br />

กายภาพจากการทํ า Texture Profile Analysis และในเชิงคุณภาพทางประสาทสัมผัส แสดงดัง<br />

ตารางที่<br />

1<br />

20


ตารางที่<br />

1 ความหมายของคุณลักษณะเนื้อสัมผัสตางๆ<br />

ในเชิงคุณภาพทางกายภาพ จากการทํ า<br />

Texture Profile Analysis และในเชิงคุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

่<br />

<br />

<br />

่<br />

่<br />

คุณลักษณะ คุณภาพทางกายภาพ คุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

Hardness แรงที่ใชในการทํ<br />

าใหตัวอยางเสียรูป แรงที่ใชในการกดตัวอยางระหวางฟน<br />

(ความแข็ง)<br />

กรามเพื่อเปลี่ยนรูปรางตัวอยาง<br />

Cohesiveness ขอบเขตของวัสดุที่สามารถเสียรูปกอนที<br />

ความแข็งแกรงของพันธะภายในที่เกิดขึ้น<br />

(ความสามารถเกาะ จะเกิดการแตกหัก<br />

ในชิ้นตัวอยางแลวทํ<br />

าใหตัวอยางทนตอแรง<br />

รวมตัวกัน)<br />

ที่มากระทํ<br />

ากอนที่ตัวอยางจะขาดหรือแยก<br />

ออกจากกัน<br />

Springiness อัตราของการคืนรูปของวัสดุหลังจากการ ระดับความสามารถในการคืนตัวกลับมา<br />

(ความยืดหยุน)<br />

ถูกกด<br />

เหมือนเดิมเมื่อมีการถอนแรงกดออกไป<br />

จากตัวอยาง<br />

Adhesiveness งานที่ใชในการเอาชนะแรงระหวางพื้นผิว<br />

แรงที่ใชในการเคลื่อนยายตัวอยางที่ติดอยู<br />

(ความสามารถในการ ของตัวอยางกับพื้นผิวของวัสดุอื่นที่ตัว<br />

ในปาก( โดยปกติคือเพดานปาก) ใน<br />

เกาะติดผิววัสดุ) อยางสัมผัสอยู<br />

ระหวางกระบวนการเคี้ยว<br />

Fracturability แรงที่ทํ<br />

าใหตัวอยางแตกหัก โดยเปนตัว แรงกดทันทีทันใดในแนวดิ่งที่ทํ<br />

าใหตัว<br />

(การแตกหัก) อยางที่มี<br />

Hardness สูงและมี อยางเกิดการแตกหักเปนชิ้นๆ<br />

และ<br />

Cohesiveness ตํา<br />

กระจายออกในแนวราบ<br />

Chewiness แรงที่ใชในการเคี้ยว<br />

บดตัวอยางจน ระยะเวลานานที่ใชในการเคี้ยวบดตัวอยาง<br />

(การทนตอการเคี้ยว)<br />

กระทั่งสามารถกลืนได<br />

โดยเปนตัวอยาง ที่เปนของแข็งในอัตราการเคี้ยวที่คงที่จน<br />

ที่มีลักษณะผสมของ<br />

Hardness<br />

Cohesiveness และ Springiness<br />

กระทั่งสามารถที่จะกลืนได<br />

Gumminess แรงที่ตองใชในการแยกตัวอยางที่เปนกึ่ง<br />

พลังงานที่ใชในการเคี้ยวตัวอยางที่เปนกึ่ง<br />

(ความเหนียวเปนยาง ของแข็งจนกระทั่งสามารถที่จะกลืนได<br />

ของแข็งในอัตราการเคี้ยวที่คงที่จนกระทั่ง<br />

หรือกาว) โดยเปนตัวอยางที่มี<br />

Hardness ตําและมี<br />

Cohesiveness สูง<br />

สามารถที่จะกลืนได<br />

ที่มา:<br />

Civile and Szczesiak(1973)<br />

21


Jankowski(1992) ใชเครื่อง<br />

Instron TPA ศึกษาผลของการเกิดรีโทรเกรเดชันของ<br />

แปงที่มีตอลักษณะเนื้อสัมผัสของอาหารที่ใชแปงมันฝรั่งในระหวางการเก็บ<br />

พบวาการลดลงของคา<br />

adhesiveness เปนผลมาจากแอมิโลสอิสระที่หลุดออกมาจากเม็ดแปงในระหวางการหุงตม<br />

และ<br />

การเพิ่มขึ้นของคา<br />

cohesiveness และคา hardness ของอาหารที่ทํ<br />

าจากพืชหัวจะมีการเปลี่ยน<br />

แปลงชากวาคา adhesiveness ทั้งนี้เปนผลมาจากการเกิดโครงสรางตาขายภายในเจลแปง<br />

4.1.4 การวัดคาโดยใชแรงดึง (Tensile test)<br />

Bourne (1982) กลาววาการวัดคาโดยใชแรงดึงนั้นไมคอยนิยมที่จะนํ<br />

ามาใชกับ<br />

อาหาร เนื่องมาจากในกระบวนการเคี้ยวนั้นจะประกอบดวยแรงกดระหวางฟนไมใชแรงดึงในการ<br />

ทดสอบ โดยการใชแรงดึงนั้นจะสมมุติวาตัวอยางจะเกิดรอยแยกทันที<br />

โดยตัวอยางจะถูกดึงในแนว<br />

ตั้ง<br />

อาหารบางประเภทจะไมขาด(แตกหัก)ทันทีที่ถูกดึง<br />

โดยการขาดหรือการแตกหักที่เกิดขึ้นนั้นจะ<br />

เริ่มจากรอยแตกเล็กๆ<br />

หลังจากนั้นรอยแตกจะขยายขึ้นอยางชาๆ<br />

โดยรอยแตกที่เกิดขึ้นนั้นอาจจะ<br />

ตั้งฉากหรือไมตั้งฉากกับแรงดึงก็ได<br />

ปญหาหนึ่งที่พบในการวัดคาแรงดึงคือการยึดตัวอยาง<br />

อาหาร<br />

หลายชนิดมักจะไมอยูติดกับตัวหนีบหรือที่ยึดตัวอยาง(jaw)<br />

ปญหานี้จึงถูกแกไขโดยการตัดตัว<br />

อยางใหเปนรูปดัมเบล และยึดสวนที่กวางเอาไว<br />

ตัวอยางจึงมีแนวโนมที่จะแตกหักหรือขาดตรง<br />

สวนที่แคบตรงกลางตัวอยาง<br />

นงนุช และคณะ (2545) ศึกษาหาลักษณะที่เหมาะสมในการวัดคา<br />

แรงดึงและการแตกหักของเสนกวยเตี๋ยวไทย<br />

พบวารูปรางที่เหมาะสมในการวัดคาแรงดึงควรมีรูป<br />

รางดัมเบล ในขณะที่การวัดคาการแตกหักควรมีรูปรางสี่เหลี่ยมผืนผา<br />

และมีรอยบากลึก 2<br />

มิลลิเมตร ณ จุดที่มีความยาวเปนครึ่งหนึ่งของเสนกวยเตี๋ยว<br />

สัมผัส<br />

4.2 การประเมินลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปงโดยวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาท<br />

วิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสเปนวิธีการที่ใชในการควบคุมคุณภาพ<br />

ผลิตภัณฑ ซึ่งขอมูลที่ไดรับนั้นมาจากประสาทสัมผัสทั้งหา<br />

ไดแก การมองเห็น การดม การชิม การ<br />

สัมผัส และการไดยิน วิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสในดานลักษณะเนื้อสัมผัสนั้นเริ่ม<br />

แรกจะรู สึกไดจากการสัมผัส อยางไรก็ตามสวนของตาและหูสามารถใหขอมูลที่สํ<br />

าคัญในบางสวน<br />

ของลักษณะเนื้อสัมผัสโดยรวมของผลิตภัณฑ<br />

ความรูสึกตางๆ<br />

นั้นเกิดโดยการสงสัญญาณที่เสน<br />

22


ประสาทโดยผานทางระบบประสาทสวนกลางไปยังสมอง และจะแสดงความรูสึกตางๆ<br />

ออกมาซึ่ง<br />

มีความเกี่ยวเนื่องกับประสบการณการรับรูในอดีต<br />

ความคาดหวัง และปจจัยในการรับรูอื่นๆ<br />

(Bourne, 1982)<br />

Rosenthal(1999) กลาววาวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสสามารถแบงออกได<br />

เปน 3 ประเภทใหญๆ คือ<br />

(1) วิธีการทดสอบความแตกตาง (Discrimination/ Difference test) เปนวิธีการทดสอบ<br />

เพื่อหาวาตัวอยางมีความแตกตางกันหรือไม<br />

นิยมใชในอุตสาหกรรม ซึ่งวิธีการทดสอบสามารถ<br />

กระทํ าได 2 วิธี คือ ทดสอบความแตกตางโดยรวมทั้งหมด<br />

และ ทดสอบวาตัวอยางใดที่มีคุณ<br />

ลักษณะเฉพาะที่มากกวาหรือนอยกวาตัวอยางอื่นๆ<br />

ตัวอยางวิธีการทดสอบความแตกตาง ไดแก<br />

Paired comparison, Duo-trio และ R-index เปนตน<br />

(2) วิธีการทดสอบเชิงพรรณนา (Descriptive test) เปนวิธีการทดสอบเพื่อบอกวาอะไร<br />

คือ สิ่งที่แตกตาง<br />

และปริมาณความแตกตางนั้นมีมากเทาใด<br />

ตัวอยางวิธีการทดสอบเชิงพรรณนา<br />

ไดแก Quantitative descriptive analysis(QDA), The spectrum method, The texture profile<br />

method เปนตน<br />

(3) วิธีการทดสอบความชอบหรือการยอมรับ (Hedonic/ Affective test) เปนวิธีการ<br />

ทดสอบเพื่อบอกวาอะไรคือสิ่งที่ผูทดสอบชอบ<br />

และทํ าไมถึงชอบ<br />

วิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสสองวิธีแรกจะแตกตางกับวิธีการที่สาม<br />

ดัง<br />

แสดงในภาพที่<br />

9 วิธีการทดสอบความแตกตางและวิธีการทดสอบเชิงพรรณนานั้นจะใชวิธีการ<br />

Analytical test โดยในการประเมินคุณลักษณะของอาหารจะใชผูทดสอบจํ<br />

านวนนอยที่ไดรับการ<br />

คัดเลือกวามีความสามารถในทดสอบตัวอยางเปนเครื่องมือในการวัดคา<br />

ในขณะที่วิธีการทดสอบ<br />

ความชอบนั้นจะใชวิธีการ<br />

Hedonic test ทํ าการวัดคาการตอบสนองของประชากรผูบริโภคที่มีตอ<br />

อาหารในเทอมของความชอบหรือไมชอบ โดยทั่วไปขอมูลที่ไดจากวิธีการ<br />

Analytical test และ<br />

Hedonic test จะไมมีความสัมพันธเปนเสนตรง เนื่องจากทั้งประเภทและจํ<br />

านวนคนที่ใชในการ<br />

ทดสอบมีความแตกตางกัน<br />

23


ภาพที่<br />

9 การแบงประเภทวิธีการทดสอบของการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

ที่มา:<br />

Rosenthal(1999)<br />

ในการศึกษาเรื่องการนํ<br />

าแปงเทายายมอมไปใชประโยชนในผลิตภัณฑขนมชั้น<br />

จะทํ าการ<br />

ทดสอบความแตกตางคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอม<br />

กับ<br />

ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงทาวและขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงมันสํ<br />

าปะหลัง โดยใชวิธีการ Rindex<br />

ดังนั้นเพื่อใหเขาใจเกี่ยวกับวิธีการทดสอบความแตกตางของขนมชั้นมากขึ้น<br />

จึงขอกลาวถึง<br />

หลักการและวิธีการประเมินของวิธี R-index ดังนี้<br />

วิธี R-index<br />

Sensory testing procedure<br />

Analytical tests Hedonic tests<br />

Difference tests Quantitative tests<br />

Paired comparison<br />

Duo-trio<br />

Triangle<br />

R-index<br />

Simple descriptive<br />

Profiling<br />

Time-intensity<br />

Preference<br />

Acceptability<br />

Relative-to-ideal<br />

Lawless and Heymann (1998) กลาววาวิธี R-index ถูกพัฒนามาจาก John<br />

Brown เพื่อเปนดัชนีในการวัดความสามารถในการแยกความแตกตางของผลิตภัณฑ<br />

คา R-index<br />

เปนคาความนาจะเปนที่ผูชิมสามารถแยกแยะความแตกตางไดถูกตองระหวาง<br />

2 ตัวอยาง ทั้งนี้<br />

ขอมูลที่ไดจากวิธีการ<br />

R-index นี้ไมจํ<br />

าเปนตองมีการแจกแจงแบบปกติ(Normal distribution)<br />

24


ในการทดสอบดวยวิธี R-index จะแบงตัวอยางที่นํ<br />

ามาทํ าการทดสอบออกเปน 2<br />

กลุ ม คือ ตัวอยางที่เปน<br />

signal(s) และตัวอยางที่เปน<br />

noise(n) เชน ผลิตภัณฑที่มีการปรับปรุงสูตร<br />

(s) กับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิมของบริษัท(n)<br />

ผลิตภัณฑที่มีการศึกษาอายุการเก็บรักษา(s)กับผลิต<br />

ภัณฑที่ผลิตใหม(n)<br />

ผลิตภัณฑที่เปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ(s)กับผลิตภัณฑที่เปนมาตรฐาน(n)<br />

เปนตน สํ าหรับวิธีการทดสอบเริ่มจากการใหผูทดสอบทํ<br />

าความคุนเคยกับตัวอยางที่เปน<br />

signal(s)<br />

และ noise(n) เมื่อผูทดสอบสามารถจดจํ<br />

าลักษณะของ signal และ noise ได จะทํ าการเสนอตัว<br />

อยางใหกับผูทดสอบทํ าการประเมินรวมทั้งบันทึกผลที่ไดในแบบทดสอบ<br />

สํ าหรับแตละตัวอยาง<br />

สามารถตอบได 4 คํ าตอบ คือ s (มั่นใจวาเปนตัวอยาง<br />

signal), s? (ไมมั่นใจวาเปนตัวอยาง<br />

signal), n? (ไมมั่นใจวาเปนตัวอยาง<br />

noise) และ n (มั่นใจวาเปนตัวอยาง<br />

noise) ในแตละครั้งที่<br />

ทํ าการทดสอบจะทํ าการทดสอบหลายตัวอยางเพื่อใหขอมูลที่ไดมีความแมนยํ<br />

ามากขึ้น<br />

ตัวอยาง<br />

เชน ในการทดสอบใหผูทดสอบ<br />

1 คน ทํ าการประเมินตัวอยางที่เปนตัวอยาง<br />

signal 10 ตัวอยาง<br />

และตัวอยางที่เปน<br />

noise 10 ตัวอยาง โดยการเสนอตัวอยางแบบสุม<br />

ขอมูลที่ไดแสดงในตารางที่<br />

2<br />

ตารางที่<br />

2 ตัวอยางขอมูลที่ไดจากการทดสอบดวยวิธี<br />

R-index จํ านวน 20 ตัวอยาง<br />

ตัวอยาง ขอมูลจากการทดสอบ จํ านวนตัวอยาง<br />

s s ? n ? n<br />

signal 5 2 2 1 10<br />

noise 1 2 3 4 10<br />

ที่มา:<br />

Lawless and Heymann (1998)<br />

สํ าหรับการวิเคราะหผลจะทํ าการแปลงขอมูลที่ไดจากการทํ<br />

า rating scale มาหาพื้นที่ใต<br />

กราฟคลายกับกราฟ Receiver Operating Characteristic (ROC) ดังแสดงในภาพที่<br />

10 โดยให<br />

แกน x เปนคาสัดสวนของ false alarm และแกน y เปนคาสัดสวนของ hit โดยคา hit คือ จํ านวน<br />

คํ าตอบที่ผูทดสอบสามารถตอบไดถูกวาเปนตัวอยาง<br />

signal เมื่อไดรับตัวอยาง<br />

signal สวนคา<br />

false alarm คือ จํ านวนคํ าตอบที่ผูทดสอบสามารถตอบวาเปนตัวอยาง<br />

noise เมื่อไดรับตัวอยาง<br />

signal ทั้งนี้คา<br />

hit และ false alarm สามารถแสดงในตาราง signal detection matrix ดังแสดงใน<br />

ภาพที่<br />

11 และเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

10 พบวาสํ าหรับคา false alarm (แกน x) ที่เทากัน<br />

ผูทดสอบ<br />

25


คนที่<br />

1 มีคา hit สูงกวาหรือตอบถูกมากกวาผูทดสอบคนที่<br />

2 และเมื่อพิจารณาคา<br />

hit (แกน y) ที่<br />

เทากัน ผูทดสอบคนที่<br />

1 มีคา false alarm ตํ ากวาหรือตอบผิดนอยกวาผู<br />

่ ทดสอบคนที่<br />

2<br />

ภาพที่<br />

10 กราฟ Receiver Operating Characteristic (ROC)<br />

ที่มา:<br />

Lawless and Heymann (1998)<br />

ภาพที่<br />

11 Signal Detection Matrix<br />

ที่มา:<br />

Lawless and Heymann (1998)<br />

26


จากขอมูลในตารางที่<br />

2 สามารถคํ านวณคา R-index โดยทํ าการคํ านวณความนาจะเปน<br />

ในการเปรียบเทียบแบบจับคู<br />

(paired comparison) ระหวางตัวอยาง signal 10 ตัวอยาง และ<br />

ตัวอยาง noise 10 ตัวอยาง (Ntotal = 10 x 10 = 100) สํ าหรับการคํ านวณจํ านวนตัวอยางที่ตอบถูก<br />

หรือตัวอยางที่ผูทดสอบสามารถแยกความแตกตางได<br />

แบงเปน<br />

- การเปรียบเทียบระหวางตัวอยาง signal ที่เปน<br />

s กับตัวอยาง noise ที่เปน<br />

s?, n และ n<br />

จะมีตัวอยางที่ผูทดสอบสามารถตอบถูก<br />

เทากับ 5 x (2 + 3 + 4) = 45<br />

- การเปรียบเทียบระหวางตัวอยาง signal ที่เปน<br />

s? กับตัวอยาง noise ที่เปน<br />

n? และ n<br />

จะมีตัวอยางที่ผูทดสอบสามารถตอบถูก<br />

เทากับ 2 x ( 3 + 4) = 14<br />

- การเปรียบเทียบระหวางตัวอยาง signal ที่เปน<br />

n? กับตัวอยาง noise ที่เปน<br />

n<br />

จะมีตัวอยางที่ผูทดสอบสามารถตอบถูก<br />

เทากับ 2 x 4 = 8<br />

จากการคํ านวณโดยการเปรียบเทียบแบบจับคูจะมีตัวอยางที่ผูทดสอบสามารถตอบถูก<br />

เทากับ 45 + 14 + 8 = 67<br />

ทั้งนี้เมื่อพิจารณาการตอบคํ<br />

าถามจะพบวาในการตอบคํ าถามวาเปนตัวอยาง s? สามารถ<br />

เปนไดทั้งตัวอยาง<br />

signal และตัวอยาง noise ในทํ านองเดียวกันกับการตอบคํ าถามวาเปน<br />

ตัวอยาง s สามารถเปนไดทั้งตัวอยาง<br />

signal และตัวอยาง noise จึงสามารถคํ านวณตัวอยางที่<br />

ผู ทดสอบสามารถตอบถูก ไดเทากับ 1/2 [(5 x 1) + (2 x 2) + (2 x 3) + (1 x 4)] = 9.5<br />

ดังนั้นในการทดสอบครั้งนี้ผูทดสอบสามารถตอบคํ<br />

าถามถูก (คา R-index) เทากับ 67 +<br />

9.5 = 76.5 จาก 100 หรือเทากับ 76.5%<br />

27


จากการคํ านวณขางตนสามารถสรุปสูตรที่ใชในการคํ<br />

านวณคา R-index ไดดังนี้<br />

ตัวอยาง ขอมูลจากการทดสอบ จํ านวนตัวอยาง<br />

s s ? n ? n<br />

signal a b c d N 1<br />

noise e f g h N 2<br />

R-index = a( f + g + h ) + b( g + h ) + ch + 1/2( ae + bf + cg + dh )<br />

N1N2 เมื่อ<br />

N1 = a + b + c + d<br />

N2 = e + f + g + h<br />

ขอดีของวิธี R-index คือ สามารถแยกแยะความแตกตางของคาอคติ(bias) ที่เกิดขึ้นของผู<br />

ทดสอบอันเนื่องมาจากผูทดสอบสามารถตอบไดวาเหมือนตัวอยาง<br />

s? หรือ เหมือนตัวอยาง n?<br />

อยางไรก็ตามวิธีนี้ผูทดสอบตองทํ<br />

าการทดสอบหลายตัวอยาง อาจทํ าใหผูทดสอบเกิดความลาได<br />

รวมถึงความตอเนื่องในการเสนอตัวอยาง<br />

ถาเสนอตัวอยางที่มีความเขมของคุณลักษณะมากตาม<br />

ดวยตัวอยางที่มีความเขมของคุณลักษณะนอย<br />

(ตัวอยาง n กอนตัวอยาง s) อาจทํ าใหการรับรูที่ได<br />

ตางจากการเสนอตัวอยางที่มีความเขมของคุณลักษณะนอยตามดวยตัวอยางที่มีความเขมของ<br />

คุณลักษณะมาก (ตัวอยาง s กอนตัวอยาง n) ดังนั้นผู<br />

ทดสอบควรผานการฝกฝน<br />

5. วิธีการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

Bianco et al.(1997) กลาววาการเสื่อมเสียหรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของแปงอาจเกิด<br />

ขึ้นไดในระหวางการเก็บรักษาและการขนสง<br />

ซึ่งคุณภาพที่ลดลงอันเนื่องมาจากการเสื่อมเสียหรือ<br />

เปลี่ยนแปลงนี้ขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นและอุณหภูมิ<br />

วิธีการที่เปนที่นิยมในการลดความเสี่ยงของ<br />

การเกิดการเสื่อมเสียคือการลดปริมาณวอเตอรแอคทิวิตี้(aw)<br />

และเทคนิคที่เปนที่รูจักและนิยมใช<br />

คือ การศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น(moisture<br />

sorption isotherm) ซึ่งสามารถ<br />

นํ าไปใชในการทํ านายคุณภาพ ความเสถียร และอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑได ทั้งนี้ระดับ<br />

28


ความชื้นของแปงแตละชนิดขึ้นอยูกับ<br />

แหลงที่มา<br />

องคประกอบ และคุณสมบัติในการดูดซับ<br />

ความชื้นของแปง<br />

(Singh and Singh, 1996)<br />

ไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นที่อุณหภูมิคงที่หนึ่งๆ<br />

จะแสดงในรูปแบบของไดอะแกรม ซึ่ง<br />

เปนความสัมพันธระหวางนํ้<br />

าหนักของนํ้<br />

า(กิโลกรัม) ตอ 100 กิโลกรัมของนํ้<br />

าหนักตัวอยางแหง(dry<br />

solid) กับคาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

ซึ่งจะทํ<br />

าการวัดคาที่ความชื้นสัมพัทธสมดุล<br />

โดยไอโซเทอรมการดูด<br />

ซับความชื้นจะมีความเกี่ยวของกับทฤษฎีการถายเทมวลและความรอนในกระบวนการผลิต<br />

ทั้งนี้<br />

อาหารสวนใหญจะแสดงลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นแบบ<br />

Type II คือมีลักษณะของ<br />

กราฟเปนรูป sigmoid หรือ s-shaped (Singh and Singh, 1996)<br />

นิธิยา(2545) กลาววา กราฟไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นจะมีทั้งกระบวนการลด<br />

ความชื้น(desorption)<br />

และการเพิ่มความชื้น(adsorption)<br />

เกิดขึ้นไดเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง<br />

ความชื้นสัมพัทธของอากาศและจะมีผลตอคาวอเตอรแอคทิวิตี้ดวย<br />

ดังภาพที่<br />

12 กระบวนการ<br />

adsorption และ desorption ไมไดเกิดขึ้นพรอมกัน<br />

หรือเปนการเปลี่ยนกลับไปมา<br />

แตมีความแตก<br />

ตางกันระหวาง adsorption และ desorption isotherm โดยกราฟ desorption isotherm เปนการ<br />

วิเคราะหระดับความแหงของอาหารที่คอยๆ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

หรือความชื้นของอาหารที่คอยๆ<br />

ลดตํ่<br />

าลงจน<br />

ถึงจุดสมดุลกับสภาวะแวดลอม ในขณะที่<br />

adsorption isotherm เปนการวิเคราะหความชื้นของ<br />

อาหารที่คอยๆ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากอาหารนั้นมีความสามารถในการดูดความชื้นจากอากาศได<br />

ภาพที่<br />

12 กราฟ sorption isotherm ที่แสดงความสัมพันธระหวางความชื้นในอาหารกับความชื้น<br />

สัมพัทธของอากาศ หรือกับคาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

ที่มา:<br />

นิธิยา(2545)<br />

29


นิธิยา(2545) กลาววา รูปกราฟของ sorption isotherm โดยทั่วไปจะเปนรูป<br />

sigmoid<br />

และแบงออกไดเปน 3 สวน ซึ่งจะแตกตางกันตามปริมาณความชื้นที่มีอยูในอาหาร<br />

หรือคา<br />

วอเตอรแอคทิวิตี้<br />

จากภาพที่<br />

12 แสดงการแบงสวนกราฟ sorption isotherm ไดดังนี้<br />

สวนที่<br />

1 (A) เสนกราฟคอนขางชัน จะสอดคลองกับ monolayer molecular ของนํ้<br />

า ซึ่ง<br />

เปนนํ าที ้ ่เกาะอยู กับสารประกอบในอาหารอยางเหนียวแนน และที่สวนนี้มีคา<br />

aw อยู ในชวง 0 –<br />

0.25 หรือ 0.3<br />

สวนที่<br />

2 (B) เสนกราฟคอนขางราบ สอดคลองกับ capillary water ที่มีอยู<br />

ในอาหาร ซึ่ง<br />

เปนนํ าที ้ ่กํ าจัดออกไดแตคอนขางยาก ถาปริมาณนํ้<br />

าสวนนี้ลดลงจะทํ<br />

าใหคา aw ลดลง และยับยั้ง<br />

การเจริญของจุลินทรียและปฏิกิริยาทางเคมีสวนใหญที่เกิดขึ้นในอาหารไดดวย<br />

สวนที่<br />

2 นี้มีคา<br />

aw อยู ในชวง 0.3 – 0.8<br />

สวนที่<br />

3 (C) เปนนํ าอิสระที ้ ่มีอยูในเนื้อเยื่ออาหารทั้งจากพืชและสัตว<br />

สามารถกํ าจัดออก<br />

ไดงาย นํ้<br />

าเหลานี้จะเปนตัวทํ<br />

าละลาย และถูกใชสํ าหรับการเจริญของจุลินทรียและการเกิด<br />

ปฏิกิริยาเคมี สวนที่<br />

3 นี้มีคา<br />

aw อยู ในชวง 0.8 – 1.0 ดังภาพที่<br />

13 แสดงอัตราเร็วของปฏิกิริยาที่<br />

เกิดขึ้นในอาหารและการเจริญของจุลินทรียที่ผันแปรตามคา<br />

aw ที่อุณหภูมิ<br />

20 องศาเซลเซียส<br />

ภาพที่<br />

13 อัตราเร็วของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในอาหารและการเจริญของจุลินทรียที่ผันแปรตามคา<br />

aw ที่อุณหภูมิ<br />

20 องศาเซลเซียส<br />

ที่มา:<br />

Fennema(1975)<br />

30


Fennema(1975) กลาววาโดยทั่วไปในการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ของอาหารนั้นจะทํ<br />

าที่อุณหภูมิคงที่หนึ่งๆ<br />

โดยการเลือกใชหลักการหรือวิธีการอยางใดอยางหนึ่งดัง<br />

ภาพที่<br />

14<br />

(ก) (ข)<br />

ภาพที่<br />

14 แบบแผนของวิธีการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ที่มา:<br />

Fennema(1975)<br />

วิธีการที่<br />

1 (ภาพที่<br />

14ก) ตัวอยางที่รูปริมาณความชื้นจะถูกทํ<br />

าใหอยูในสภาวะสมดุลดวย<br />

small headspace ในภาชนะที่ปดสนิท<br />

และทํ าการวัดความดันบางสวนของวอเตอรแอคทิวิตี้หรือ<br />

คาความชื้นสัมพัทธ<br />

โดยคาวอเตอรแอคทิวิตี้เทากับความชื้นสัมพัทธที่สมดุลหารดวยหนึ่งรอย<br />

(aw = ERH/100) เครื่องมือที่ใชวัดปริมาณความชื้นสัมพัทธมีหลายชนิด<br />

เชน electric<br />

hygrometers, dewpoint cells, hair psychrometers เปนตน<br />

วิธีการที่<br />

2 (ภาพที่<br />

14ข) นํ าตัวอยางอาหารปริมาณเล็กนอยมาสัมผัสกับความชื้นสัมพัทธ<br />

ของบรรยากาศที่คงที่จํ<br />

านวนหลายคา เมื่อถึงสภาวะสมดุลจะทํ<br />

าการวัดปริมาณความชื้นโดยการ<br />

หาปริมาณนํ าหนัก ้ ทั้งนี้สารละลายเกลือที่อิ่มตัวจะถูกนํ<br />

ามาใชในการควบคุมความชื้นสัมพัทธของ<br />

บรรยากาศ เนื่องจากมีขอดีคือสามารถที่จะรักษาความชื้นสัมพัทธใหคงที่ไดตราบใดที่เกลือนั้นยัง<br />

คงระดับความอิ่มตัวไดอยู<br />

31


อัตราการเกิดสมดุลในภาชนะบรรจุขึ้นกับปจจัยตางๆ<br />

เชน แรงขับเคลื่อนหรือความแตก<br />

ตางของ chemical potential ของนํ าในตัวอยางกับสิ ้ ่งแวดลอม ปริมาณ ขนาด รูปรางและชนิด<br />

ของตัวอยางอาหาร อัตราสวนของพื้นที่ตอปริมาตรของตัวอยางและพื้นที่ของตัวอยางตอปริมาตร<br />

ของภาชนะบรรจุ การมีแกสอื่นๆ<br />

เชน อากาศ เปนตน (รุงนภา,<br />

2540)<br />

โมเดลทางคณิตศาสตรหลายโมเดลสามารถใชในการอธิบายรูปรางของลักษณะ<br />

ไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

วัตถุประสงคของการนํ าโมเดลมาใชในการอธิบายเพื่อใชในการหา<br />

คาขอมูลบางตัวจากวิธี interpolation กับขอมูลที่ทราบแลว<br />

และสามารถคํ านวณหาคา<br />

วอเตอรแอคทิวิตี้หรือความชื้นสัมพัทธที่สมดุลของของผสมได(รุงนภา,<br />

2540) ตัวอยางโมเดลทาง<br />

คณิตศาสตรที่เปนที่นิยมใชในการอธิบายพฤติกรรมการดูดซับความชื้นของอาหาร<br />

คือ GAB<br />

model เนื่องจากมีจํ<br />

านวนพารามิเตอรเพียง 3 ตัว และสามารถใหขอมูลในชวงคาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

ตั้งแต<br />

0.10-0.90 ไดอยางครอบคลุม ทั้งนี้<br />

The European Project Group COST 90 ไดทํ าการรับ<br />

รองโมเดลนี้ในเรื่องของคุณสมบัติทางกายภาพของอาหารอีกดวย(Timmermann<br />

et al., 2001)<br />

ธงชัย และคณะ(2544) ทํ าการศึกษาหาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของฟลาว<br />

ขาวหกชนิดที่ไดจากการนํ<br />

าขาวเหนียว ปลายขาวหอมมะลิ และขาวเสาไหมาทํ าการโมเปยกและโม<br />

แหง จากการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส พบวาฟลาวทั้งหกชนิดมีลักษณะไอโซเทอรมแบบ<br />

BET Type II ทั้งนี้ไดนํ<br />

าสมการ GAB และ Peleg มาใชในการทํ านายลักษณะไอโซเทอรมและพบ<br />

วาสามารถอธิบายไดดี โดยมีคาความเคลื่อนมาตรฐานนอยกวา<br />

1<br />

Hossain et al.(2001) ไดทํ าการศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นและผลของ<br />

อุณหภูมิที่มีตอสับปะรด<br />

โดยทํ าการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

20, 30, 40 และ 50 องศาเซลเซียส และใช<br />

โมเดลทางคณิตศาสตรที่มีจํ<br />

านวนพารามิเตอร 2 และ 3 ตัวมาใชทํ านายลักษณะไอโซเทอรม พบวา<br />

โมเดลที่ไดจากการดัดแปลงสมการ<br />

BET สามารถทํ านายไดดีที่สุด<br />

และเมื่ออุณหภูมิไอโซเทอรม<br />

ลดลงมีผลทํ าใหปริมาณความชื้นเพิ่มขึ้น<br />

32


1. วัตถุดิบและสารเคมี<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1.1 หัวเทายายมอม ณ อํ าเภอแกลง จังหวัดระยอง<br />

1.2 แปงเทายายมอม รานชูถิ่น<br />

1.3 แปงทาว ตราปลามังกร<br />

1.4 แปงมันสํ าปะหลัง ตราปลามังกร<br />

1.5 แปงขาวเจา ตรานิวเกรด<br />

1.6 กะทิสํ าเร็จรูป ตราชาวเกาะ<br />

1.7 นํ าตาลทราย ้ ตรามิตรผล<br />

1.8 ถุงพลาสติกชนิดโพลีโพรพิลีน<br />

2. อุปกรณที่ใชผลิตแปงเทายายมอมและผลิตภัณฑขนมชั้น<br />

ญี่ปุน<br />

2.1 อุปกรณเครื่องครัว<br />

2.2 เครื่องปดผนึกภาชนะบรรจุ<br />

2.3 เครื่องบดแปง<br />

Hammer mill รุ น AP-S บริษัท Hosokawa Micron Corp. ประเทศ<br />

2.4 ตะแกรงรอน ขนาด 60 เมช<br />

2.5 เครื่องบด<br />

(Blender)<br />

2.6 ตู อบลมรอนแบบถาดที่สามารถควบคุมอุณหภูมิได<br />

(Tray dryer)<br />

2.7 ถาดสี่เหลี่ยมขนาด<br />

10 นิ้ว<br />

×10 นิ้ว<br />

2.8 เครื่องผสม<br />

Kitchen Aid รุ น K 5SS<br />

33


3. อุปกรณวิเคราะหคุณภาพ<br />

3.1 อุปกรณวิเคราะหคุณภาพทางดานกายภาพ<br />

3.1.1 เครื่องวัดความหนืด<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA 4D, Newport<br />

Scientific, Australia)<br />

3.1.2 เครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimeter (DSC7 PERKIN ELMER,<br />

USA)<br />

3.1.3 เครื่อง<br />

X-ray diffractometer (Joel, JDX-3530, Japan)<br />

3.1.4 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบกราดลํ าแสง (Scanning Electron<br />

Microscope, Joel JSM 5310, England)<br />

3.1.5 กลองจุลทรรศน (Meiji Techno, Japan) ที่ตอโปรแกรมวิเคราะหขนาด<br />

อนุภาค Image analysis (Image Pro Plus 3.0, Media Cybemetic,LP, USA)<br />

3.1.6 เครื่องวัดความขาว<br />

KETT Digital Whiteness Meter Model C-100<br />

3.1.7 ตู อบไฟฟาแบบควบคุมอุณหภูมิได<br />

3.1.8 อางนํ้<br />

าไฟฟาแบบควบคุมอุณหภูมิได<br />

3.1.9 เครื่อง<br />

High Performance Size Exclusion Chromatography<br />

(Shimadzu, Japan)<br />

3.1.10 เครื่อง<br />

Sonicator (Vibra cell TM , Sonics&Materials Inc., USA)<br />

3.1.11 เครื่องชั่งวิเคราะหอยางละเอียด<br />

3.1.12 เครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร<br />

(Genesys 5, USA)<br />

3.1.13 เครื่องวัดเนื้อสัมผัสโดยเครื่อง<br />

Texture analyzer (รุน<br />

TA500, Lloyd<br />

Instrument, USA)<br />

3.1.14 เครื่องแกวชนิดตางๆ<br />

ที่จํ<br />

าเปนในการวิเคราะห<br />

3.1.15 ชุดวิเคราะหกํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปง<br />

34


3.2 อุปกรณวิเคราะหคุณภาพทางดานเคมี<br />

3.2.1 ชุดวิเคราะหองคประกอบทางเคมีโดยประมาณ (Proximate analysis) ได<br />

แก ปริมาณความชื้น<br />

โปรตีน ไขมัน เถา และเสนใยหยาบ<br />

3.2.2 ชุดวิเคราะหปริมาณและขนาดแอมิโลส<br />

3.3 อุปกรณวิเคราะหคุณภาพทางดานประสาทสัมผัส<br />

3.3.1 อุปกรณทดสอบ ไดแก ภาชนะใสตัวอยางขนมชั้นพรอมฟอยลปดปาก<br />

ภาชนะ, แกวนํ้<br />

า, ถาด และอุปกรณเครื่องเขียน<br />

3.3.2 แบบทดสอบการประเมินคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น(ภาคผนวก<br />

ฉ)<br />

35


วิธีการ<br />

1. การศึกษาองคประกอบทางดานเคมีของหัวเทายายมอมสดและการเตรียมแปง<br />

เทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ<br />

1.1 องคประกอบทางดานเคมีของหัวเทายายมอมสด<br />

วิเคราะหองคประกอบทางเคมีโดยประมาณของหัวเทายายมอมสด ไดแก ความชื้น<br />

ไขมัน โปรตีน เถา และเสนใยหยาบ ตามวิธีการของ AOAC(2000)<br />

1.2 การเตรียมแปงเทายายมอม<br />

ทํ าการผลิตแปงเทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ โดยวิธีการของพงษพันธุ<br />

(2543) โดย<br />

นํ าหัวเทายายมอม ที่เก็บตัวอยางมาจากอํ<br />

าเภอแกลง จังหวัดระยอง ลางทํ าความสะอาดเพื่อ<br />

กํ าจัดเศษหิน ดิน และวัสดุแปลกปลอมที่ไมตองการ<br />

สะเด็ดนํ้<br />

า ชั่งนํ้<br />

าหนัก ปอกเปลือกออก และแช<br />

ในนํ้<br />

าสะอาดเพื่อปองกันการสัมผัสอากาศ<br />

และลดการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน จากนั้นหั่นหัว<br />

เทายายมอมใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

ปนดวยเครื่องบด(Blender)<br />

ใชอัตราสวนของหัวเทายายมอมตอนํ้<br />

า<br />

เทากับ 1 ตอ 1 คนใหเขากัน กรองดวยผาขาวบาง และผานตะแกรงรอนขนาด 60 เมช เอาสวนที่<br />

เปนกากทิ้งไป<br />

แชสวนที่กรองไดในภาชนะนาน<br />

3 ชั่วโมง<br />

แปงจะตกตะกอนอยูกนภาชนะ<br />

เมื่อครบ<br />

3 ชั่วโมงเทนํ<br />

าสวนบนทิ ้ ้ง เติมนํ้<br />

าในแปงที่ตกตะกอน<br />

คนใหเขากัน รอใหตกตะกอนแลวเทนํ้<br />

าสวน<br />

บนทิ้ง<br />

ทํ าเชนนี้อีกครั้งหรือจนกระทั่งไดนํ้<br />

าสวนบนใส ไมมีสี นํ าตะกอนแปงที่ไดไปอบแหงที่<br />

อุณหภูมิ 50 ± 5 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

หลังจากนั้นนํ<br />

าไปบดดวยเครื่อง<br />

Hammer<br />

mill โดยใชตะแกรงขนาด 0.5 ไมครอน บรรจุในถุงพลาสติกโพลีโพรพิลีนถุงละ 500 กรัม ปดผนึก<br />

เก็บรักษาที่อุณหภูมิ<br />

5 –10 องศาเซลเซียส กรรมวิธีการผลิตแสดงดังภาพที่<br />

15<br />

36


ภาพที่<br />

15 กรรมวิธีผลิตแปงเทายายมอม<br />

ที่มา:<br />

พงษพันธุ<br />

(2543)<br />

หัวเทายายมอม<br />

ปอกเปลือกและสับใหเปนชิ้นเล็ก<br />

นํ้<br />

า<br />

ปนดวยเครื่องปน<br />

กรองดวยผาขาวบาง<br />

นํ าแปงสีขาว ้<br />

กาก<br />

แชนํ้<br />

าสวนที่กรองได<br />

3 ชั่วโมง<br />

(ครั้งที่<br />

1)<br />

เทนํ้<br />

าสวนบนทิ้ง<br />

นํ้<br />

า<br />

ตะกอนแปง<br />

นํ้<br />

า คนใหเขากัน<br />

แชนํ้<br />

าสวนที่กรองได<br />

3 ชั่วโมง<br />

(ครั้งที่<br />

2)<br />

เทนํ้<br />

าสวนบนทิ้ง<br />

นํ้<br />

า<br />

ตะกอนแปง<br />

นํ้<br />

า คนใหเขากัน<br />

แชนํ้<br />

าสวนที่กรองได<br />

3 ชั่วโมง<br />

(ครั้งที่<br />

3)<br />

เทนํ้<br />

าสวนบนทิ้ง<br />

ตะกอนแปง<br />

นํ้<br />

า<br />

อบแหงที่อุณหภูมิ<br />

50 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง<br />

บดดวย Hammer mill<br />

แปงเทายายมอม<br />

37


2. การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของแปงเทายายมอม<br />

ศึกษาคุณสมบัติของแปงเทายายมอม โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัติของแปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

กับ แปงที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด ไดแก แปง<br />

เทายายมอม(รานชูถิ่น),<br />

แปงมันสํ าปะหลัง(ตราปลามังกร), แปงทาว(ตราปลามังกร) และ แปงขาว<br />

เจา(ตรานิวเกรด) โดยศึกษาคุณสมบัติทางดานเคมีและทางดานกายภาพของแปง ดังนี้<br />

2.1 คุณสมบัติทางเคมี ไดแก<br />

2.1.1 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณของแปง ไดแก ความชื้น<br />

ไขมัน โปรตีน<br />

เถา และเสนใยหยาบ ตามวิธีการของ AOAC(2000)<br />

2.1.2 ปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปง<br />

โดยวิธีการ High Performance<br />

Size Exclusion Chromatography (HPSEC) ตามวิธีการของ Govindasamy et al. (1992)<br />

2.1.3 ปริมาณแอมิโลสที่มีอยูในแปง<br />

โดยวิธีการทํ าปฏิกิริยากับไอโอดีน ตามวิธี<br />

การของ Juliano(1971)<br />

Model C-100<br />

2.2 คุณสมบัติทางกายภาพ ไดแก<br />

2.2.1 คาความขาวของแปง โดยใชเครื่อง<br />

KETT Digital Whiteness Meter<br />

2.2.2 ลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดยใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบกราดลํ า<br />

แสง (Scanning Electron Microscope, Joel JSM 5310, England) ตามวิธีการของ Sahai and<br />

Jackson(1996)<br />

2.2.3 คาเปอรเซ็นตการกระจายตัวของเม็ดแปง (Size distribution) วัดดวย<br />

กลองจุลทรรศน (Meiji Techno, Japan) ที่ตอโปรแกรมวิเคราะหขนาดอนุภาค<br />

Image analysis<br />

38


(Image Pro Plus 3.0, Media Cybemetic, LP, USA) ตามวิธีการของ Sahai and Jackson<br />

(1996)<br />

2.2.4 ลักษณะโครงสรางผลึกของแปง ดวยเครื่อง<br />

X-ray diffractometer โดย<br />

วิธีการของ Shi and Seib (1992) สภาวะในการทดสอบ คือ ใช Target เปนทองแดง (Cu) ที่ความ<br />

ตางศักยไฟฟาเทากับ 30.0 kV ใชกระแสไฟฟา 40.0 mA เริ่ม<br />

scan ที่มุมหักเห<br />

5.00 และหยุดที่มุม<br />

30.00 โดยมีคา Step angle เทากับ 0.020<br />

2.2.5 กํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปง ดัดแปลงจากวิธีการของ<br />

Schoch (1964)<br />

2.2.6 สมบัติทางดานความรอนของแปง ดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning<br />

Calorimeter(DSC) ตามวิธีการของ Kim et al.(1995)<br />

2.2.7 พฤติกรรมทางดานทางดานความหนืด โดยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer<br />

(RVA) ตามวิธีการของ Newport Scientific (1995)<br />

2.2.8 คาความโปรงแสงของเจลแปง(Cold paste clarity) ดัดแปลงจากวิธีการ<br />

ของ Stuart et al.(1989)<br />

2.2.9 ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น(Moisture<br />

sorption isotherm) ดัด<br />

แปลงจากวิธีการของ Lang et al.(1981) โดยในการศึกษาใชเดซิเคเตอรแทน Proximity<br />

Equilibration cell (PEC) และทํ าการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 45 องศาเซลเซียส ตามวิธีการดังนี้<br />

(1) เตรียมสารละลายเกลือมาตรฐานที่อิ่มตัวในเดซิเคเตอร<br />

จากเกลือมาตรฐานที่<br />

มีคาวอเตอรแอคทิวิตี้(aw)<br />

ตางกัน 8 ชนิด ไดแก โพแทสเซียมไอโอไดด(KI), แมกนีเซียมคลอไรด<br />

(MgCl2), โพแทสเซียมคารบอเนต(K2CO3), โซเดียมโบรไมด(NaBr), โซเดียมคลอไรด(NaCl),<br />

โพแทสเซียมคลอไรด(KCl), แบเรียมคลอไรด(BaCl2) และ โพแทสเซียมอะซิเตด(CH3COOK) ปด<br />

ฝาเดซิเคเตอรใหสนิทโดยใชปมสุญญากาศ และทิ้งใหสารละลายอยูในสภาวะสมดุลในตูควบคุม<br />

อุณหภูมิ เปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

39


(2) ชั่งนํ<br />

าหนักตัวอยางแปงที<br />

้ ่ทราบความชื้นเริ่มตนลงบนถวยอะลูมิเนียมประมาณ<br />

0.5 - 2 กรัม แลวเกลี่ยใหทั่ว<br />

นํ าถวยอะลูมิเนียมพรอมตัวอยางใสในเดซิเคเตอร และปดฝา<br />

เดซิเคเตอรใหสนิทโดยใชปมสุญญากาศ<br />

เก็บไวในตูควบคุมอุณหภูมิ<br />

(3) ชั่งนํ<br />

าหนักถวยอะลูมิเนียมพรอมตัวอยางทุกวัน ้ จนกระทั่งนํ้<br />

าหนักไมเปลี่ยน<br />

แปลงติดตอกัน 3 วัน จะไดตัวอยางที่อยูในสภาวะสมดุล<br />

กอนเก็บตัวอยางที่ชั่งแลวในตูควบคุม<br />

อุณหภูมิจะตองทํ าการปดฝาเดซิเคเตอรใหสนิทโดยใชปมสุญญากาศทุกครั้ง<br />

(4) วิเคราะหปริมาณความชื้นของตัวอยางที่อยูในสภาวะสมดุล<br />

ตามวิธีการของ<br />

AOAC(2000) และคํ านวณคาความชื้นสมดุลของตัวอยางจากสูตร<br />

% ความชื้น(รอยละนํ้<br />

าหนักแหง) = (นํ าหนักตัวอยางกอนอบ ้ - นํ้<br />

าหนักตัวอยางหลังอบ) × 100<br />

40<br />

นํ าหนักตัวอยางกอนอบ ้ × (100 - ความชื้นเริ่มตนของตัวอยาง)<br />

(5) ใชแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของสมการ GAB (the Guggenheim,<br />

Anderson and de Boer isotherm equation) มาทํ านายความสัมพันธระหวางคาความชื้นของตัว<br />

อยางที่คาวอเตอรแอคทิวิตี้ตางๆ<br />

กัน เพื่อหาคาพารามิเตอรตางๆ<br />

ของสมการ GAB วิเคราะหผล<br />

การทดลองโดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูปทางสถิติ โดยแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรและความหมาย<br />

ของคาพารามิเตอรของสมการ GAB (van den Berg and Bruin, 1981) คือ<br />

GAB model : M = (M 0*C*K*a w)/((1-K*a w)*(1+(C-1)*K*a w))<br />

เมื่อ<br />

aw คือ คาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

M คือ ปริมาณความชื้น<br />

(รอยละของนํ้<br />

าหนักแหง)<br />

M0 คือ ปริมาณความชื้นในระดับชั้นโมโนเลเยอร<br />

K คือ คาแฟคเตอรของโมเลกุลของนํ้<br />

าที่ชั้นตางๆ<br />

ซึ่งเกี่ยวของกับนํ้<br />

าในสวนนํ้<br />

าอิสระ<br />

C คือ คาคงที่ของ<br />

Guggenheim


3. การศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงแตละชนิดและแปงผสม<br />

ในการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงแตละชนิดและแปงผสม จะทํ าการศึกษาถึง<br />

คุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด ไดแก 1) แปงเทายายมอม 2) แปงทาว 3) แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และ 4) แปงขาวเจา แลวจึงทํ าการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมที่เกิดจากการ<br />

ผสมของแปงทั้ง<br />

4 ชนิดที่ไดกลาวมา<br />

โดยแบงหัวขอการศึกษาได ดังนี้<br />

3.1 การศึกษาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด<br />

ทํ าการศึกษาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอมที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา วัดคาคุณสมบัติทางกลของเจล<br />

แปงแตละชนิดที่ไดกลาวมาดวยวิธีการวัดคาแรงกดและวิธีการวัดคาแรงดึง<br />

โดยแบงตามหัวขอวิธี<br />

การวัดคาได ดังนี้<br />

3.1.1 วิธีการวัดคาแรงกด (Compressive test)<br />

ในการวัดคาแรงกดของเจลแปงแตละชนิดจะทํ าการวัดคา ดังนี้<br />

1) คา Young’s<br />

modulus 2) คาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of elasticity) และ 3)<br />

คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส(Texture<br />

Profile Analysis) โดยมีวิธีการเตรียมตัวอยางและวิธี<br />

การวัดคา ดังนี้<br />

ก. การเตรียมตัวอยาง เตรียมเจลแปงสุกรูปรางทรงกระบอกที่มีความ<br />

เขมขน 35%(w/w) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร จากแมพิมพที่ทํ<br />

าจากถุงพลาสติก<br />

พอลิโพรพิลีน โดยตมแมพิมพที่บรรจุนํ้<br />

าแปงในอางควบคุมอุณหภูมิที่อุณหภูมิ<br />

95 องศาเซลเซียส<br />

จนเจลแปงสุกแลวทํ าใหเย็น ลอกถุงพลาสติกออก และตัดเจลแปงที่ไดใหมีความสูง<br />

15 มิลลิเมตร<br />

ข. การวัดคา Young’s modulus ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ Single<br />

hardness โดยใชหัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของความสูง<br />

ของเจลดวยอัตราเร็ว 50 มิลลิเมตรตอนาที บันทึกผลการทดลองที่ไดเปนคาความเคน(stress,<br />

σ)<br />

41


และความเครียด (Hencky’s strain, εH) โดย εH = ln ( H0 / (H0 - ∆H)) คํ านวณหาคา Young’ s<br />

modulus ที่ชวงกราฟเริ่มตนที่เปนเสนตรง(ความเครียด<br />

< 0.2)<br />

ค. การวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของผลิต<br />

ภัณฑ (Degree of elasticity) ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ Cycle test โดยใชหัวกดสเตนเลส<br />

ขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของความสูงของเจลดวยอัตราเร็ว 50<br />

มิลลิเมตรตอนาที บันทึกผลการทดลองที่ไดเปนคาความเคน(stress,<br />

σ) และระยะทาง<br />

(%deformation) นํ าขอมูลที่ไดมาคํ<br />

านวณคา Degree of elasticity โดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป<br />

Sigma Plot version 4.0 และสูตรในการคํ านวณของ Kaletunc et al. (1991)<br />

ง. การวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis)<br />

ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ Texture Profile Analysis(TPA) โดยดัดแปลงวิธีการวัดคาของ<br />

Pons and Fiszman (1996) ใชหัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป<br />

60% ของความสูงของเจล ใชอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ขึ้นและลงของหัวกดเทากับ<br />

50 มิลลิเมตรตอ<br />

นาที และทํ าการวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปง<br />

ดังนี้<br />

ความแข็ง (Hardness),<br />

ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness), ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได<br />

(Cohesiveness) และความยากงายในการเคี้ยว<br />

(Gumminess)<br />

3.1.2 วิธีการวัดคาแรงดึง (Tensile test)<br />

ในการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละชนิดจะทํ าการวัดคา ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรง<br />

ดึง และ 2) การวัดคาการแตกหัก โดยมีวิธีการเตรียมตัวอยางและวิธีการวัดคา ดังนี้<br />

. การเตรียมตัวอยาง เตรียมนํ้<br />

าแปงที่มีความเขมขน<br />

35%(w/w) ใสถุง<br />

พลาสติกพอลิโพรพิลีน วางถุงที่บรรจุนํ้<br />

าแปงใหมีลักษณะเปนแผนบนถาดสแตนเลส และทํ าการนึ่ง<br />

ในอางควบคุมอุณหภูมิที่อุณหภูมิ<br />

100 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 นาที จนแผนเจลแปงสุก ใชแผน<br />

กระจกกดทับแผนเจลแปงสุกที่ไดทั้งดานบนและดานลางของถุง<br />

โดยใหแผนเจลแปงสุกมีความ<br />

หนาประมาณ 1 + 0.50 มิลลิเมตร ทิ้งไวใหเย็น<br />

42


ข. การวัดคาแรงดึง(Tensile test) นํ าแผนเจลแปงสุกที่เตรียมไดมาตัด<br />

เปนรูปดัมเบลใหมีความกวาง 25 มิลลิเมตร ยาว 120 มิลลิเมตร และสวนคอดกวาง 10 มิลลิเมตร<br />

และใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd TA500 โดยใชตัวหนีบชนิด TG33 ขนาด 5 N (1.1 lbf)<br />

Lightweight Tension Grip ของบริษัท Lloyd จับยึดตัวอยางในแนวดิ่งทั้งสองดาน<br />

ยึดใหปลาย<br />

ดานลางอยูกับที่<br />

โดยจะเคลื่อนที่เฉพาะตัวหนีบดานบนที่ยึดตัวอยางที่ปลายดานบน<br />

อัตราการ<br />

เคลื่อนที่เทากับ<br />

3 มิลลิเมตร/นาที ทํ าการดึงเปนระยะทาง 80% ของความยาวตัวอยาง บันทึกคา<br />

ความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load), คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

(Percentage extension at maximum load) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) ทํ าการประมวลผล<br />

โดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป Nexygen version 4.0<br />

ค. การวัดคาการแตกหัก(Fracture test) นํ าแผนเจลแปงสุกที่เตรียมได<br />

มาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาใหมีความกวาง<br />

25 มิลลิเมตร ยาว 120 มิลลิเมตร และบากมุมลึก 2<br />

มิลลิเมตร ณ จุดที่มีความยาวเปนครึ่งหนึ่งของความยาวตัวอยาง<br />

และใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd TA500 โดยใชตัวหนีบชนิด TG33 ขนาด 5 N (1.1 lbf) Lightweight Tension Grip ของ<br />

บริษัท Lloyd จับยึดตัวอยางในแนวดิ่งทั้งสองดาน<br />

ยึดใหปลายดานลางอยูกับที่<br />

โดยจะเคลื่อนที่<br />

เฉพาะตัวหนีบดานบนที่ยึดตัวอยางที่ปลายดานบน<br />

อัตราการเคลื่อนที่เทากับ<br />

3 มิลลิเมตร/นาที ทํ า<br />

การดึงเปนระยะทาง 80% ของความยาวตัวอยาง บันทึกคาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at<br />

maximum load), คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at maximum load)<br />

และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) ทํ าการประมวลผลโดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป Nexygen version<br />

4.0<br />

3.1.3 วิธีการวิเคราะหขอมูล<br />

เปรียบเทียบความแตกตางของคาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิดที่วัด<br />

ดวยวิธีการวัดคาแรงกดและแรงดึง โดยนํ าขอมูลที่ไดมาวิเคราะหความแปรปรวน<br />

(Analysis of<br />

variance: ANOVA) ถาพบนัยสํ าคัญทางสถิติจะคํ านวณคา Duncan’s new multiple range test<br />

(DMRT) เพื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย<br />

43


3.2 การศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสม<br />

ทํ าการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมที่ไดจากการผสมกันของแปง<br />

4 ชนิดไดแก 1)<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2) แปงทาว 3) แปงมันสํ าปะหลัง และ 4) แปง<br />

ขาวเจา โดยใชแผนการทดลองแบบผสม (Mixture Design) ออกแบบสิ่งทดลองแบบ<br />

Simplex<br />

Centroid with Four Components (อิศรพงษ, 2544; Hu, 1999) เมื่อจัดสิ่งทดลองแตละกลุมจะ<br />

ไดแปงผสมที่มีปริมาณแปงแตละชนิดที่แตกตางกัน<br />

ดังตารางที่<br />

3<br />

ตารางที่<br />

3 อัตราสวนของแปงแตละชนิดในแปงผสมแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่งทดลอง<br />

แปงเทายายมอม<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง แปงขาวเจา<br />

1 1 0 0 0<br />

2 0 1 0 0<br />

3 0 0 1 0<br />

4 0 0 0 1<br />

5 1/2 1/2 0 0<br />

6 1/2 0 1/2 0<br />

7 1/2 0 0 1/2<br />

8 0 1/2 1/2 0<br />

9 0 1/2 0 1/2<br />

10 0 0 1/2 1/2<br />

11 1/3 1/3 1/3 0<br />

12 1/3 1/3 0 1/3<br />

13 1/3 0 1/3 1/3<br />

14 0 1/3 1/3 1/3<br />

15 1/4 1/4 1/4 1/4<br />

44


แปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองที่ไดจากตารางที่<br />

3 นี้จะนํ<br />

ามาใชในการศึกษาคุณสมบัติทางกล<br />

โดยจะทํ าการศึกษาถึงอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

และทํ าการศึกษาถึง<br />

อิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

รายละเอียดของวิธี<br />

การศึกษามีดังตอไปนี้<br />

3.2.1 การศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

การศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกลจะทํ<br />

าการวัดคาดวยวิธี<br />

การดังนี้<br />

1) วัดคาการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

2) วัดคาแรงกด และ 3) วัดคาแรงดึง โดย<br />

จะนํ าขอมูลที่ไดจากการวัดคาในแตละวิธีมาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบ<br />

ผสม(Mixture design) โดยใชแบบหุนเชิงเสนตรง(linear)<br />

คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 + β4X4 ทั้งนี้กํ<br />

าหนดให Yi คือ คาคุณสมบัติทางกล, βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการ<br />

รีเกรสชัน และ Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอม(X1), แปงทาว(X2), แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปงขาวเจา(X4) โดย X1+ X2+ X3+ X4 = 1 ตอจากนั้นจะนํ<br />

าขอมูลพรอม<br />

ทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดมาสรางกราฟ<br />

contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจามีคาคงที่<br />

3<br />

ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 ทั้งนี้ในการศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

จะทํ าการพิจารณาคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวของสมการรีเกรสชันและกราฟที่ได<br />

จากการสราง contour plot วิธีการวัดคาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมมีรายละเอียดดังนี้<br />

ก. การวัดคาการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

วัดการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืดของแปง<br />

โดยเครื่อง<br />

RVA ตามวิธี<br />

การของ Newport Scientific(1995) ใชตัวอยางที่มีความเขมขนของแปง<br />

11% โดยนํ าแปง 3 กรัม<br />

(ความชื้น<br />

14%) ใสใน can ใชโปรแกรมมาตรฐานเบอร 1 นํ้<br />

าแปงจะถูกใหความรอนที่<br />

50<br />

องศาเซลเซียส เปนเวลา 1 นาที และเพิ่มความรอนเปน<br />

95 องศาเซลเซียส โดยใชอัตราเร็ว 12.2<br />

องศาเซลเซียส /นาที คงอุณหภูมิที่<br />

95 องศาเซลเซียส เปนเวลา 2.5 นาที ตอจากนั้นทํ<br />

าใหเย็นลงที่<br />

อุณหภูมิ 50องศาเซลเซียส ใชอัตราเร็ว 12.2 องศาเซลเซียส /นาที และทิ้งไว<br />

2.1 นาที ความเร็ว<br />

รอบของการหมุน paddle เทากับ 160 รอบตอนาที ทํ าการบันทึกคาตางๆ ดังนี้<br />

45


(1) อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

(Pasting temperature, องศาเซลเซียส)<br />

(2) ความหนืดสูงสุด (Peak viscosity, RVU)<br />

(3) ความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity, RVU)<br />

(4) ความหนืดสุดทาย (Final viscosity, RVU)<br />

(5) ผลตางระหวางคาความหนืดสูงสุดและความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

(Breakdown = Peak viscosity – Trough viscosity, RVU)<br />

(6) ผลตางของความหนืดสุดทายกับความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

(Setback from trough = Final viscosity – Trough viscosity, RVU)<br />

ข. การวัดคาแรงกด<br />

ในการวัดคาแรงกดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองจะทํ<br />

าการวัดคา ดังนี้<br />

1) คา Young’s modulus 2) คาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of<br />

elasticity) และ 3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส(Texture<br />

Profile Analysis) โดยมีวิธีการ<br />

เตรียมตัวอยางและวิธีการวัดคาเชนเดียวกับขอ 3.1.1<br />

ค. การวัดคาแรงดึง<br />

ในการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลองจะทํ<br />

าการวัดคา ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงดึง และ 2) การวัดคาการแตกหัก โดยมีวิธีการเตรียมตัวอยางและวิธีการวัดคาเชน<br />

เดียวกับขอ 3.1.2<br />

3.2.2 การศึกษาถึงอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางที่มีตอคา<br />

คุณสมบัติทางกล<br />

การศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในการเก็บ<br />

ตัวอยางเจลแปงผสม ไดทํ าการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 4 องศาเซลเซียส เพื่อเปรียบเทียบแนว<br />

โนมการเปลี่ยนแปลงคาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

เมื่อมีการเรงใหเกิด<br />

46


รีโทรเกรเดชันที่อุณหภูมิตํ่<br />

า โดยทํ าการวัดคาคุณสมบัติทางกลดวยวิธีการดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงกด<br />

จะทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บตัวอยางที่เวลา<br />

0, 6, 12, 18 และ 24 ชั่วโมง<br />

และ 2)<br />

การวัดคาแรงดึง จะทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บตัวอยางที่เวลา<br />

0, 4, 8, 12, 16 และ<br />

20 ชั่วโมง<br />

รายละเอียดการศึกษาแบงไดตามวิธีการวัดคา ดังนี้<br />

ก. การวัดคาแรงกด<br />

ในการวัดคาแรงกดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองจะทํ<br />

าการวัดคา ดังนี้<br />

1) คา Young’s modulus 2) คาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of<br />

elasticity) และ 3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส(Texture<br />

Profile Analysis) โดยมีวิธีการ<br />

เตรียมตัวอยางและวิธีการวัดคา ดังนี้<br />

1) การเตรียมตัวอยาง เตรียมเจลแปงสุกรูปรางทรงกระบอกที่มีความ<br />

เขมขน 35%(w/w) ขนาดเสนผาศูนยกลาง 15 มิลลิเมตร จากแมพิมพที่ทํ<br />

าจากถุงพลาสติก<br />

พอลิโพรพิลีน โดยตมแมพิมพที่บรรจุนํ้<br />

าแปงในอางควบคุมอุณหภูมิที่อุณหภูมิ<br />

95 องศาเซลเซียส<br />

จนเจลแปงสุกแลวทํ าใหเย็น ลอกถุงพลาสติกออก และตัดเจลแปงที่ไดใหมีความสูง<br />

15 มิลลิเมตร<br />

เก็บตัวอยางที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 4 องศาเซลเซียส และทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บ<br />

ตัวอยางที่เวลา<br />

0, 6, 12, 18 และ 24 ชั่วโมง<br />

2) การวัดคา Young’s modulus ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ<br />

Single hardness โดยใชหัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของ<br />

ความสูงของเจลดวยอัตราเร็ว 50 มิลลิเมตรตอนาที บันทึกผลการทดลองที่ไดเปนคาความเคน<br />

(stress, σ) และความเครียด (Hencky’s strain, εH) โดย εH = ln ( H0 / (H0 - ∆H)) ใชโปรแกรม<br />

สํ าเร็จรูป Nexygen version 4.0 และแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของ Swyngedau et al.<br />

(1991) : σ = C1ε C2 + C3ε C4 อธิบายความสัมพันธของคาความเครียด และความเคนโดยการ<br />

สรางเสนกราฟจากแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรเปรียบเทียบกับขอมูลที่ไดจากการทดลอง<br />

หลัง<br />

จากนั้นคํ<br />

านวณหาคา Young’ s modulus ที่ชวงกราฟเริ่มตนที่เปนเสนตรง(ความเครียด<br />

< 0.2)<br />

และ คํ านวณหาคาความเคนจากแบบจํ าลองทางคณิตศาสตร ณ ตํ าแหนงความเครียดที่<br />

0.2, 0.4,<br />

0.6 และ 0.8<br />

47


3) การวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของ<br />

ผลิตภัณฑ (Degree of elasticity) ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ Cycle test โดยใชหัวกด<br />

สเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของความสูงของเจลดวยอัตราเร็ว<br />

50 มิลลิเมตรตอนาที บันทึกผลการทดลองที่ไดเปนคาความเคน(stress,<br />

σ) และระยะทาง<br />

(%deformation) นํ าขอมูลที่ไดมาคํ<br />

านวณคา Degree of elasticity โดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป<br />

Sigma Plot version 4.0 และสูตรในการคํ านวณของ Kaletunc et al. (1991)<br />

4) การวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis)<br />

ทํ าการวัดคาแรงกดดวยวิธีการ Texture Profile Analysis(TPA) โดยดัดแปลงวิธีการวัดคาของ<br />

Pons and Fiszman (1996) ใชหัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป<br />

60% ของความสูงของเจล ใชอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ขึ้นและลงของหัวกดเทากับ<br />

50 มิลลิเมตรตอ<br />

นาที และทํ าการวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของเจลแปง<br />

ดังนี้<br />

ความแข็ง (Hardness) ,<br />

ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness) , ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได<br />

(Cohesiveness) และความยากงายในการเคี้ยว<br />

(Gumminess)<br />

ข. การวัดคาแรงดึง (Tensile test)<br />

ในการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลองจะทํ<br />

าการวัดคา ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงดึง และ2) การวัดคาการแตกหัก โดยมีวิธีการเตรียมตัวอยางและวิธีการวัดคาดังนี้<br />

1) การเตรียมตัวอยาง เตรียมนํ้<br />

าแปงที่มีความเขมขน<br />

35%(w/w) ใสถุง<br />

พลาสติกพอลิโพรพิลีน วางถุงที่บรรจุนํ้<br />

าแปงใหมีลักษณะเปนแผนบนถาดสแตนเลส และทํ าการนึ่ง<br />

ในอางควบคุมอุณหภูมิที่อุณหภูมิ<br />

100 องศาเซลเซียส เปนเวลา 5 นาที จนแผนเจลแปงสุก ใชแผน<br />

กระจกกดทับแผนเจลแปงสุกที่ไดทั้งดานบนและดานลางของถุง<br />

โดยใหแผนเจลแปงสุกมีความ<br />

หนาประมาณ 1 + 0.50 มิลลิเมตร ทิ้งไวใหเย็น<br />

2) การวัดคาแรงดึง(Tensile test) นํ าแผนเจลแปงสุกที่เตรียมไดมาตัด<br />

เปนรูปดัมเบลใหมีความกวาง 25 มิลลิเมตร ยาว 120 มิลลิเมตร และสวนคอดกวาง 10 มิลลิเมตร<br />

เก็บตัวอยางที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 4 องศาเซลเซียส และทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บ<br />

48


ตัวอยางที่เวลา<br />

0, 4, 8, 12, 16 และ 20 ชั่วโมง<br />

โดยใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd TA500 และ<br />

ใชตัวหนีบชนิด TG33 ขนาด 5 N (1.1 lbf) Lightweight Tension Grip ของบริษัท Lloyd จับยึดตัว<br />

อยางในแนวดิ่งทั้งสองดาน<br />

ยึดใหปลายดานลางอยูกับที่<br />

โดยจะเคลื่อนที่เฉพาะตัวหนีบดานบนที่<br />

ยึดตัวอยางที่ปลายดานบน<br />

อัตราการเคลื่อนที่เทากับ<br />

3 มิลลิเมตร/นาที ทํ าการดึงเปนระยะทาง<br />

80% ของความยาวตัวอยาง บันทึกคาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load) , คา<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at maximum load) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) ทํ าการประมวลผลโดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป Nexygen version 4.0<br />

3) การวัดคาการแตกหัก(Fracture test) นํ าแผนเจลแปงสุกที่เตรียมได<br />

มาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาใหมีความกวาง<br />

25 มิลลิเมตร ยาว 120 มิลลิเมตร และบากมุมลึก 2<br />

มิลลิเมตร ณ จุดที่มีความยาวเปนครึ่งหนึ่งของความยาวตัวอยาง<br />

เก็บตัวอยางที่อุณหภูมิ<br />

35 และ<br />

4 องศาเซลเซียส และทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บตัวอยางที่เวลา<br />

0, 4, 8, 12, 16<br />

และ 20 ชั่วโมง<br />

โดยใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd TA500 และใชตัวหนีบชนิด TG33 ขนาด5 N<br />

(1.1 lbf) Lightweight Tension Grip ของบริษัท Lloyd จับยึดตัวอยางในแนวดิ่งทั้งสองดาน<br />

ยึดให<br />

ปลายดานลางอยู กับที่<br />

โดยจะเคลื่อนที่เฉพาะตัวหนีบดานบนที่ยึดตัวอยางที่ปลายดานบน<br />

อัตรา<br />

การเคลื่อนที่เทากับ<br />

3 มิลลิเมตร/นาที ทํ าการดึงเปนระยะทาง 80% ของความยาวตัวอยาง บันทึก<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load) , คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

(Percentage extension at maximum load) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) ทํ าการประมวลผล<br />

โดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูป Nexygen version 4.0<br />

ค. วิธีการวิเคราะหขอมูล<br />

ทํ าการศึกษาอิทธิพลของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัว<br />

อยางของเจลแปงในแตละสิ่งทดลอง<br />

และปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

โดยนํ าขอมูลที่ได<br />

มาหาความแตกตางทางสถิติ และสรางกราฟความสัมพันธระหวางเวลาและอุณหภูมิที่ใชในการ<br />

เก็บตัวอยางในแตละคุณสมบัติที่ทํ<br />

าการศึกษา เพื่อดูแนวโนมของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บ<br />

ตัวอยางที่มีตอคุณสมบัติของเจลแปงในดานตางๆ<br />

49


4. การศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

ศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

โดยเปรียบ<br />

เทียบลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงตางชนิดกัน<br />

ไดแก แปงเทายายมอมที่<br />

ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง โดยใหสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของ<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการเปนสิ่งทดลองควบคุม<br />

เตรียมขนมชั้นตามตํ<br />

ารับ<br />

ของสํ านักพิมพแสงแดด(2539) โดยควบคุมปริมาณแปงขาวเจา นํ้<br />

าตาลทราย กะทิ นํ้<br />

าใบเตยคั้น<br />

ขนๆ นํ าลอยดอกมะลิ ้ อุณหภูมิ สี กลิ่น<br />

วิธีการผสมและความหนาของชั้นใหเหมือนกันทุกอยาง<br />

ใช<br />

แผนการทดลองแบบสุมในบล็อคสมบูรณ<br />

(Randomized complete block design, RCBD) ชนิด<br />

และปริมาณแปงที่ใชในแตละสิ่งทดลองแสดงดังตารางที่<br />

4<br />

ตารางที่<br />

4 ชนิดและปริมาณแปงที่ใชในแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่งทดลอง<br />

ปริมาณที่ใช<br />

(รอยละ)<br />

แปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง<br />

หมายเหตุ<br />

1 15.79 5.26 ใชแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 15.79 5.26 ใชแปงทาวแทนแปงเทายายมอม<br />

3 0 21.05 ใชแปงมันสํ าปะหลังแทนแปงเทายายมอม<br />

หมายเหตุ ชนิดและปริมาณแปงที่ใชในแตละสิ่งทดลองนี้จะนํ<br />

าไปใชเปนสวนผสมของ<br />

ขนมชั้นในตารางที่<br />

5<br />

4.1 การเตรียมผลิตภัณฑขนมชั้น<br />

เตรียมขนมชั้นตามตํ<br />

ารับและวิธีการของสํ านักพิมพแสงแดด(2539) สวนผสมของแตละสิ่ง<br />

ทดลองแสดงดังตารางที่<br />

5 เตรียมขนมชั้นโดยผสมนํ้<br />

าตาลกับกะทิเขาดวยกัน ตั้งไฟกลาง<br />

เมื่อ<br />

เดือดยกลง ทิ้งใหเย็น<br />

และนํ าไปนวดกับ แปงขาวเจา และแปงผสมในแตละสิ่งทดลอง<br />

(ตารางที่<br />

4)<br />

โดยใชเครื่องผสม<br />

Kitchen Aid รุ น K 5SS จนแปงรวมตัวเปนกอน จึงหยุดใสกะทิ แลวนวดนาน 15<br />

นาที คอยๆ ใสกะทิจนหมด กรองดวยผาขาวบาง แบงแปงออกเปน 2 สวนเทาๆ กัน แปงสวนที่<br />

1<br />

ใสนํ าลอยดอกมะลิ ้ คนใหเขากัน แปงสวนที่<br />

2 ใสใบเตยที่คั้นขน<br />

คนใหเขากัน นึ่งถาดสี่เหลี่ยม<br />

50


ขนาด 10 นิ้ว<br />

×10 นิ้วขนาดใหรอน<br />

ใสแปงลงในถาด โดยใสสีขาวกอน สลับกับแปงสีเขียวใบเตย<br />

จนหมด นึ่งแตละชั้นเปนเวลา<br />

3-5 นาที ใหแปงสุกใสกอนจึงใสแปงชั้นตอไปจบดวยแปงสีเขียว<br />

และชั้นสุดทายใหใสสีเขียวเพิ่มเล็กนอย<br />

(ภาพที่<br />

16)<br />

ตารางที่<br />

5 สวนผสมของตํ ารับขนมชั้นที่ใชในการทดลอง<br />

่<br />

้<br />

้<br />

้<br />

สวนผสม ปริมาณที่ใช<br />

(รอยละ)<br />

แปงแตละสิ่งทดลอง<br />

(ตารางที 4) 21.05<br />

แปงขาวเจา 5.26<br />

กะทิ 42.10<br />

นํ าตาลทราย 21.05<br />

นํ าใบเตยคั้นขนๆ<br />

5.26<br />

นํ าลอยดอกมะลิ 5.26<br />

ที่มา:<br />

สํ านักพิมพแสงแดด (2539)<br />

4.2 การวัดลักษณะเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑขนมชั้นโดยวิธีการทางกล<br />

เปรียบเทียบลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงตางชนิดกัน<br />

ตัดตัวอยาง<br />

ขนมชั้นใหมีขนาดความกวาง<br />

20 มิลลิเมตร ยาว 20 มิลลิเมตร และหนา 20 มิลลิเมตร นํ าไปวัดคา<br />

เนื้อสัมผัสโดยใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd Instrument TA500 โดยทํ าการวัดคาดวยวิธี ดังนี้<br />

4.2.1 คาแรงตัดสูงสุด (Maximum cutting force) ใชใบมีดสเตนเลสเคลื่อนที่ลง<br />

มาตัดตัวอยางดวยอัตราเร็ว 50 มิลลิเมตร/นาที จนขาด บันทึกคาแรงตัดสูงสุด (N)<br />

51


ผสมนํ าตาลกับกะทิ ้ ตั้งไฟกลาง<br />

เดือดยกลง<br />

นํ านํ าตาลกับกะทิที ้ ่ไดนวดกับแปงผสม<br />

(แปงเทายายมอม แปงขาวเจา แปงมันสํ าปะหลัง)<br />

จนเปนกอนนาน 15 นาที คอยๆ ใสกะทิจนหมด<br />

แบงแปงเปน 2 สวนเทาๆ กัน<br />

่ ่<br />

้ ้<br />

สวนที 1 สวนที 2<br />

ใสนําลอยดอกมะลิ<br />

คนใหเขากัน ใสนํ าใบเตยคั้นขน<br />

คนใหเขากัน<br />

ภาพที่<br />

16 กรรมวิธีการผลิตขนมชั้น<br />

ที่มา:<br />

สํ านักพิมพแสงแดด (2539)<br />

นึ่งถาดใหรอน<br />

ใสแปงสีขาวในถาด สลับสีเขียว<br />

นึ่งแตละชั้นนาน<br />

3-5 นาที<br />

จบดวยแปงสีเขียว<br />

ขนมชั้น<br />

52


4.2.2 ระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของผลิตภัณฑ<br />

(Degree<br />

of elasticity) ใชหัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของความสูง<br />

ของตัวอยางดวยอัตราเร็ว 50 มิลลิเมตร/นาที บันทึกผลการทดลองที่ไดเปนคาความเคน<br />

(stress,<br />

σ) และระยะทาง (%deformation) นํ าขอมูลที่ไดมาคํ<br />

านวณคา Degree of elasticity โดยใช<br />

โปรแกรมสํ าเร็จรูป Sigma Plot version 4.0 และสูตรในการคํ านวณของ Kaletunc et al.<br />

(1991)<br />

4.2.3 เคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis) ไดแก ความ<br />

แข็ง (Hardness) , ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness) , ความสามารถในการเกาะรวม<br />

ตัวกันได (Cohesiveness) , ความสามารถในการเกาะติดผิววัสดุ (Adhesiveness) และ ความ<br />

ยากงายในการเคี้ยว<br />

(Gumminess) โดยดัดแปลงวิธีการวัดคาของ Pons and Fiszman (1996) ใช<br />

หัวกดสเตนเลสขนาดเสนผาศูนยกลาง 50 มิลลิเมตร กดลงไป 60% ของความสูงของตัวอยาง ใช<br />

อัตราเร็วในการเคลื่อนที่ขึ้นและลงของหัวกดเทากับ<br />

50 มิลลิเมตร/นาที<br />

สัมผัส<br />

4.3 การวัดลักษณะเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑขนมชั้นโดยวิธีการประเมินคาทางประสาท<br />

ใชวิธีการ R-index เปรียบเทียบความแตกตางของลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

เพื่อหา<br />

คาความนาจะเปนหรือความสามารถของผูชิมในการแยกแยะความแตกตาง โดยเปรียบเทียบ<br />

สิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

ซึ่งใหเปนสิ่งทดลอง<br />

ควบคุม (Noise) กับสิ่งทดลองที่ใชแปงชนิดอื่น<br />

(Signal) ใชผู ชิมที่ไมไดรับการฝกฝน<br />

จํ านวน 60<br />

คน ขั้นตอนการดํ<br />

าเนินการ ดังนี้<br />

4.3.1 ตัดตัวอยางขนมชั้นใหมีขนาดความกวาง<br />

20 มิลลิเมตร ยาว 20 มิลลิเมตร<br />

และหนา 20 มิลลิเมตร ใสในถวยชิมแลวปดดวยกระดาษฟอยลเพื่อปองกันการสัมผัสกับอากาศ<br />

4.3.2 อธิบายใหผู ชิมเขาใจความหมายและวิธีการประเมินในแตละคุณลักษณะ<br />

ไดแก ความงายในการลอกชั้น<br />

ความเหนียว แรงกัดขาด และ ความยากงายในการเคี้ยว<br />

ดังตาราง<br />

ที่<br />

6 (แบบทดสอบการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสแสดงในภาคผนวก ฉ)<br />

53


ตารางที่<br />

6 วิธีการประเมินคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

คุณลักษณะ วิธีการประเมิน<br />

ความงายในการลอกชั้น1<br />

ทํ าการลอกชั้นของขนมชั้น<br />

โดยลอกชั้นที่<br />

1 ทิ้ง<br />

และประเมินความงายใน<br />

การลอกชั้นที่<br />

2 ใหหลุด โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม (Control)<br />

ความเหนียว1 นํ าขนมชั้นที่ลอกมาดึงใหขาดออกจากกัน<br />

และประเมินแรงที่ใชในการดึง<br />

ใหขาดออกจากกัน โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม (Control)<br />

แรงกัดขาด 2 ทํ าการกัดตัวอยางขนมชั้นใหขาดโดยใชฟนหนา<br />

ประเมินแรงที่ใชในการ<br />

กัดตัวอยางใหขาดออกจากกัน โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม<br />

(Control)<br />

ความยากงายในการเคี้ยว2<br />

นับจํ านวนครั้งที่ใชในการเคี้ยวตัวอยางจนสามารถกลืนได<br />

โดยเปรียบ<br />

เทียบกับตัวอยางควบคุม (Control)<br />

อัตราเร็วในการเคี้ยวแตละตัวอยางควรเทากัน<br />

(จํ านวนครั้งมาก<br />

แสดงวา<br />

ตัวอยางเคี้ยวยาก)<br />

หมายเหตุ แตละสิ่งทดลองจะเสิรฟตัวอยางจํ<br />

านวน 2 ชิ้น<br />

1 2<br />

ประเมินโดยใชตัวอยางชิ้นที่<br />

1 รวมกัน และ ประเมินโดยใชตัวอยางชิ้นที่<br />

2 รวมกัน<br />

4.3.3 เสิรฟตัวอยางที่เปนตัวอยางควบคุมใหผูชิมลองทํ<br />

าการประเมิน จนสามารถ<br />

จดจํ าคุณลักษณะตางๆ ได<br />

4.3.4 ทํ าการทดสอบผูชิม<br />

โดยเสิรฟตัวอยางอื่นๆ<br />

คูกับตัวอยางควบคุม<br />

และใหผู<br />

ชิมทํ าการเปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวอยางอื่นๆ<br />

กับตัวอยางควบคุม แตละสิ่งทดลองจะ<br />

เสิรฟตัวอยางจํ านวน 2 ชิ้น<br />

4.3.5 นํ าขอมูลที่ไดมาหาความถี่และนํ<br />

าไปคํ านวณคา R-index โดยหาเปอรเซ็นต<br />

พื้นที่ใตกราฟ<br />

ROC (Receiver Operating Curve) ในการคํ านวณจะทํ าการถวงนํ้<br />

าหนักความถี่<br />

(weight) เพื่อทํ<br />

าการวิเคราะหแบบ bipolar R-index (ที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ<br />

95)<br />

54


5. การวิเคราะหผล<br />

ขอมูลที่ไดนํ<br />

ามาวิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of variance : ANOVA) ถาพบ<br />

นัยสํ าคัญทางสถิติจะคํ านวณคา Duncan’s new multiple range test (DMRT) เพื่อทดสอบความ<br />

แตกตางของคาเฉลี่ย<br />

6. สถานที่ทํ<br />

าการวิจัย<br />

6.1 ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

6.2 หนวยปฏิบัติการเทคโนโลยีแปรรูปมันสํ าปะหลังและแปง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

6.3 สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

7. ระยะเวลาที่ทํ<br />

าการวิจัย<br />

ตั้งแตเดือน<br />

พฤษภาคม 2545 สิ้นสุดเดือน<br />

พฤษภาคม 2546<br />

55


ผลและวิจารณ<br />

1. การศึกษาองคประกอบทางเคมีของหัวเทายายมอมสดและการเตรียมแปง<br />

เทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ<br />

เมื่อนํ<br />

าหัวเทายายมอมที่เก็บตัวอยางมาจาก<br />

อํ าเภอแกลง จังหวัดระยอง มาวิเคราะห<br />

องคประกอบทางเคมีโดยประมาณ(รอยละนํ้<br />

าหนักแหง) ไดผลดังตารางที่<br />

7 และเมื่อทํ<br />

าการผลิต<br />

แปงเทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ โดยวิธีการของพงษพันธุ<br />

(2543) พบวาหัวเทายายมอม<br />

สดใน 100 กรัม สามารถนํ ามาสกัดแปงได 21 กรัม โดยมีสวนที่เปนของเหลือ<br />

ไดแกเปลือกและ<br />

กาก จํ านวน 79 กรัม (ภาพขั้นตอนตางๆ<br />

ของการทํ าแปงเทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แสดงในภาคผนวก ก)<br />

ตารางที่<br />

7 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณของหัวเทายายมอมสด 100 กรัม<br />

้ องคประกอบทางเคมี ปริมาณ (รอยละนําหนักแหง)<br />

ไขมัน 0.39 + 0.04<br />

เสนใยหยาบ 2.97+ 0.18<br />

โปรตีน 6.76 + 0.17<br />

เถา 2.22 + 0.37<br />

คารโบไฮเดรต* 87.66 + 0.13<br />

หมายเหตุ *คํ านวณปริมาณคารโบไฮเดรต โดยใชความแตกตางของนํ้<br />

าหนักตัวอยางแหง กับ<br />

ปริมาณองคประกอบสวนที่เปน<br />

โปรตีน ไขมัน เสนใยหยาบ และเถา<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการนี้จะนํ<br />

ามาศึกษาคุณสมบัติทางดานเคมี<br />

และดานกายภาพในขอตอไป โดยเปรียบเทียบกับแปงที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดอีก 4 ชนิด ไดแก<br />

แปงเทายายมอม(รานชูถิ่น)<br />

แปงทาว(ตราปลามังกร) แปงมันสํ าปะหลัง(ตราปลามังกร) และแปง<br />

ขาวเจา(ตรานิวเกรด)<br />

56


2. การศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของแปงเทายายมอม<br />

จากการศึกษาเปรียบเทียบคุณสมบัติทางเคมีและทางกายภาพของแปง 5 ชนิด ไดแก<br />

1) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

3) แปงทาว 4) แปงมันสํ าปะหลัง และ 5) แปงขาวเจา ไดผลดังตอไปนี้<br />

2.1 คุณสมบัติทางเคมี<br />

2.1.1 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณและปริมาณคารโบไฮเดรตของแปง<br />

จากการศึกษาองคประกอบทางเคมีโดยประมาณของแปงทั้ง<br />

5 ชนิด ตามวิธีการ<br />

ของ AOAC (2000) ไดผลดังตารางที่<br />

8<br />

ตารางที่<br />

8 องคประกอบทางเคมีโดยประมาณและปริมาณคารโบไฮเดรตของแปงแตละชนิด<br />

องคประกอบ<br />

(% นํ าหนักแหง) ้ เทายายมอม 1<br />

ไขมัน 0.03+0.00 b<br />

เสนใยหยาบ 0.41+ 0.04 b<br />

โปรตีน 0.05+0.00 b<br />

เถา 0.15+0.01 bc<br />

คารโบไฮเดรต 3<br />

99.36+0.01 a<br />

เทายายมอม 2<br />

0.02+0.00 c<br />

0.52+0.53 b<br />

0.05+0.00 b<br />

0.09+0.03 c<br />

99.32+0.03 a<br />

57<br />

ชนิดของแปง<br />

ทาว มันสํ าปะหลัง ขาวเจา<br />

0.03+0.00 b<br />

0.45+0.59 b<br />

0.10+0.00 b<br />

0.24+0.08 b<br />

99.18+0.08 a<br />

0.04+0.01 b<br />

0.68+0.97 a<br />

0.05+0.00 b<br />

0.12+0.01 c<br />

99.11+0.01 a<br />

0.08+0.00 a<br />

0.79+0.55 a<br />

7.52+0.37 a<br />

0.35+0.03 a<br />

91.26+0.40 b<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

3 คํ านวณปริมาณคารโบไฮเดรต โดยใชความแตกตางของนํ้<br />

าหนักตัวอยางแหง กับ<br />

ปริมาณองคประกอบสวนที่เปน<br />

โปรตีน ไขมัน เสนใยหยาบ และเถา<br />

a-c หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวนอนเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


จากตารางที่<br />

8 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบปริมาณองคประกอบทางเคมี<br />

(รอยละ<br />

นํ้<br />

าหนักแหง) พบวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการมีปริมาณเสนใยหยาบ<br />

โปรตีน และเถา ไมแตกตางกับแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด(p>0.05) เมื่อเปรียบ<br />

เทียบแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดกับแปง<br />

ชนิดอื่นๆ<br />

พบวามีองคประกอบทางเคมีใกลเคียงกับแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ในขณะที่แปง<br />

ขาวเจามีปริมาณไขมัน เสนใยหยาบ โปรตีน และเถา มากกวาแปงชนิดอื่นๆ<br />

และจากผลการ<br />

ทดลองนี้ชี้ใหเห็นวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง มีความบริสุทธิ์ของแปงมาก<br />

จึงจัดวาอยูในระดับ<br />

แปงสตารช(starch) ในขณะที่แปงขาวเจามีสิ่งเจือปนอื่นอยูมากเชน<br />

โปรตีน จึงจัดวาอยูในระดับ<br />

แปงฟลาว(flour)(กลาณรงค, 2542) ทั้งนี้ความบริสุทธิ์ของแปงและสิ่งเจือปนที่มีอยูในแปงอาจสง<br />

ผลตอคุณสมบัติในดานตางๆ ของแปงได เชน คุณสมบัติในดานการพองตัว การเกิดเจลาติไนซ<br />

และอาจจะทํ าใหแปงแตละชนิดมีคุณสมบัติที่เหมือนหรือแตกตางกันได<br />

ซึ่งจะไดทํ<br />

าการศึกษาใน<br />

ขอตอไป<br />

2.1.2 ปริมาณและขนาดแอมิโลส<br />

จากการวิเคราะหหาปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปงทั้ง<br />

5 ชนิดที่ไดกลาว<br />

มาแลว โดยใชวิธีการ High Performance Size Exclusion Chromatography (HPSEC) ตามวิธี<br />

การของ Govindasamy et al.(1993) รวมกับการหาปริมาณแอมิโลสโดยการทํ าปฏิกิริยากับ<br />

ไอโอดีนตามวิธีการของ Juliano(1971) ผลแสดงดังตารางที่<br />

9<br />

58


ตารางที่<br />

9 ปริมาณและขนาดแอมิโลสที่มีอยูในแปงแตละชนิด<br />

ชนิดของแปง ตามวิธีการของ<br />

Juliano(1971)<br />

ปริมาณแอมิโลส 3 (รอยละ) ขนาดแอมิโลส (DPn)<br />

ตามวิธีการของ<br />

Govindasamy(1993)<br />

ตามวิธีการของ<br />

Govindasamy(1993)<br />

เทายายมอม 1 23.33+0.17 a 28.90+0.30 a 2418.30+136.54 a<br />

เทายายมอม 2 23.02+0.19 ab 28.73+0.04 a 1830.17+88.57 b<br />

ทาว 22.73+0.04 b 21.77+0.54 c 1273.31+27.73 c<br />

มันสํ าปะหลัง 23.07+0.07 ab 24.61+0.89 b 1640.86+202.06 bc<br />

ขาวเจา 19.15+0.07 c ND ND<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

3 คํ านวณปริมาณแอมิโลสโดยเทียบกับปริมาณคารโบไฮเดรต 100 กรัม<br />

a-c หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

ND หมายถึง ไมไดทํ าการวิเคราะห<br />

(1) ปริมาณแอมิโลส<br />

จากตารางที่<br />

9 ดวยวิธีการ HPSEC ไมสามารถวิเคราะหปริมาณและขนาด<br />

แอมิโลสที่มีอยู<br />

ในแปงขาวเจาได เนื่องจากในแปงขาวเจามีปริมาณโปรตีนสูง<br />

(ตารางที่<br />

8) จึงไม<br />

สามารถฉีดตัวอยางผานกระดาษกรองเพื่อเขาเครื่อง<br />

HPLC ได แตจากการคนควาเพิ่มเติมในงาน<br />

วิจัยของ Galliard(1987) พบวาแปงขาวเจามีขนาดเสนผาศูนยกลาง 3-8 ไมครอน จะมีปริมาณ<br />

แอมิโลสรอยละ 14 - 32 และงานวิจัยของ Hizukuri (1988) พบวาแปงขาวเจามีขนาดแอมิโลสอยู<br />

ในชวง 1,000-1,100 ปริมาณแอมิโลสในแปงขาวเจาจะลดลงตามขนาดของเม็ดแปง และจะลดลง<br />

มากในแปงขาวเจาที่มีปริมาณแอมิโลเพกทินสูง<br />

(waxy rice) (Stephen, 1995)<br />

เมื่อพิจารณาขอมูลจากตารางที่<br />

9 ซึ่งวิเคราะหปริมาณแอมิโลสดวยวิธีการ<br />

HPSEC และวิธีการทํ าปฏิกิริยากับไอโอดีน รวมกับการคนควาเพิ่มเติมพบวาใหผลไปในทางเดียว<br />

59


กัน โดยแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการมีปริมาณแอมิโลสไมแตกตางกับแปง<br />

เทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด (p>0.05) และมีปริมาณแอมิโลสสูงกวาแปงมันสํ าปะหลัง<br />

แปงทาว และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ ทั้งนี้การวิเคราะหปริมาณแอมิโลสดวยวิธีการ<br />

HPSEC ให<br />

คามากกวาวิธีการทํ าปฏิกิริยากับไอโอดีน<br />

(2) ขนาดแอมิโลส<br />

จากตารางที่<br />

9 แปงที่มีขนาดแอมิโลสโมเลกุลใหญที่สุด<br />

คือ แปงเทายายมอมที่<br />

ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ รองลงมาไดแก แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงทาว ตามลํ าดับ ซึ่งขนาดของแอมิโลสเปนสิ่งสํ<br />

าคัญในการบงชี้วาแอมิโลสอยู<br />

ตํ าแหนงใดภายในเม็ดแปง โดยแอมิโลสที่มีขนาดโมเลกุลใหญจะอยูสวนใจกลางของเม็ดแปง<br />

(granule core) และสามารถจับกับแอมิโลเพกทินดวยพันธะเกลียวคู<br />

(double helices) ในขณะที่<br />

โมเลกุลแอมิโลสที่มีขนาดเล็กกวาจะอยูบริเวณรอบนอกของเม็ดแปง<br />

(granule periphery) และ<br />

สามารถหลุดออกจากเม็ดแปงได (Oates, 1997) และเมื่อพิจารณาขนาดของแอมิโลสจาก<br />

ตาราง<br />

ที่<br />

9 และจากการคนควาขอมูลเพิ่มเติม<br />

พบวาในแปงจากสวนหัวและราก แนวโนมของ แอมิโลส<br />

ที่มีโอกาสหลุดออกจากเม็ดแปงไดงายเรียงจากมากไปนอย<br />

ไดแก แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง แปง<br />

เทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

ตาม<br />

ลํ าดับ เมื่อพิจารณาถึงขนาดโมเลกุลแอมิโลสของแปงขาวเจาซึ่งเปนแปงจาก<br />

ธัญพืชแมจะมี<br />

ขนาดเล็ก (Hizukuri ,1988) แตโอกาสที่แอมิโลสจะหลุดออกจากเม็ดแปงจะเกิดขึ้นไดนอยที่สุด<br />

เนื่องจากไขมันในเม็ดแปงสามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนกับแอมิโลส<br />

เปน amylose-lipid<br />

complex เกิดเปนโครงสรางอยางออนที่ไปเสริมความแข็งแรงใหแกเม็ดแปง<br />

แอมิโลสจึงหลุด<br />

ออกจากเม็ดแปงไดยาก (Kim and Seib, 1993)<br />

ทั้งนี้ปริมาณแอมิโลสที่หลุดออกจากโครงสรางของเม็ดแปงจะมีผลตอคาการพอง<br />

ตัว การละลาย และการเกิดเจลาติไนซของเม็ดแปง ซึ่งจะไดศึกษาในขอตอไป<br />

60


2.2 คุณสมบัติทางกายภาพ<br />

จากการศึกษาคุณสมบัติทางดานกายภาพของแปงไดแก 1) คาความขาว 2) ลักษณะทาง<br />

สัณฐานวิทยาและคารอยละการกระจายตัวของขนาดเม็ดแปง 3) X-ray diffraction pattern<br />

4) กํ าลังการพองตัวและการละลาย 5)การเกิดเจลาติไนซ 6)การเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

7) คาความโปรงแสงของเจลแปง และ 8) ไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

โดยการเปรียบเทียบแปง<br />

ทั้ง<br />

5 ชนิดดังที่ไดกลาวมาแลว<br />

ผลแสดงดังตอไปนี้<br />

2.2.1 คาความขาวของแปง<br />

วิเคราะหคาความขาวของแปงโดยใชเครื่อง<br />

KETT Digital Whiteness Meter<br />

Model C-100 ซึ่งอาศัยหลักการการสะทอนแสงกลับของแสง<br />

(reflective index) ของพื้นผิวตัว<br />

อยางที่มีลักษณะเปนผง<br />

ผลการทดลองดังตารางที่<br />

10<br />

ตารางที่<br />

10 คาความขาว (whiteness) ของแปงแตละชนิด<br />

เทายายมอม 1<br />

เทายายมอม 2<br />

ชนิดแปง คาความขาว<br />

94.35+0.07 b<br />

94.20+0.00 c<br />

ทาว 91.95+0.07 d<br />

มันสํ าปะหลัง 96.95+0.07 a<br />

ขาวเจา 91.20+0.00 e<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

a-e หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมี<br />

ความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

61


คาความขาวของแปงแตละชนิดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(p<br />


กํ าลังขยาย 1,000 เทา กํ าลังขยาย 5,000 เทา<br />

ก) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

ข) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

ค) แปงทาว<br />

ง) แปงมันสํ าปะหลัง<br />

จ) แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

17 ลักษณะทางสันฐานวิทยาของเม็ดแปงแตละชนิด เมื่อศึกษาดวยกลอง<br />

Scanning<br />

Electron Microscope (SEM) ที่กํ<br />

าลังขยาย 1,000 เทา (ภาพซาย) และ<br />

5,000 เทา (ภาพขวา)<br />

63


และจากการศึกษาคารอยละการกระจายตัวของขนาดเม็ดแปง ดวยกลอง<br />

จุลทรรศนที่ตอเขากับโปรแกรม<br />

Image analysis ® และวัดคาเสนผาศูนยกลางโดยเฉลี่ย<br />

แสดงผล<br />

ดังตารางที่<br />

11<br />

ตารางที่<br />

11 ขนาดเม็ดแปงแตละชนิด<br />

เทายายมอม 1<br />

เทายายมอม 2<br />

ชนิดของแปง ขนาดเม็ดแปงโดยเฉลี่ย<br />

(µm)<br />

21.20+1.10 a<br />

16.37+ 0.23 b<br />

ทาว 10.25+0.69 c<br />

มันสํ าปะหลัง 10.35+0.02 c<br />

ขาวเจา 5.61+0.47 d<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

a-d หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

จากตารางที่<br />

11 พบวา แปงเทายายมอมมีขนาดเสนผาศูนยกลางโดยเฉลี่ยใหญ<br />

กวา แปงมันสํ าปะหลัง แปงทาว และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ ทั้งนี้แปงเทายายมอมมีขนาดของ<br />

เม็ดแปงโดยเฉลี่ยอยูในชวง<br />

16 ถึง 26 ไมครอน โดยแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติ<br />

การมีขนาดเม็ดแปงโดยเฉลี่ยใหญกวาเม็ดแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงมัน<br />

สํ าปะหลังมีขนาดเม็ดแปงโดยเฉลี่ยไมแตกตางกับแปงทาว<br />

(p>0.05) ในขณะที่แปงขาวเจามี<br />

ขนาดเม็ดแปงเล็กที่สุด<br />

ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

Maningat and Seib(1992) ที่กลาวถึง<br />

ขนาดของเม็ดแปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา วามีขนาดเสนผาศูนยกลางเทา<br />

กับ 13-70, 5-35 และ 3-5 ไมครอน ตามลํ าดับ ภาพที่<br />

18 แสดงคารอยละการกระจายตัวของ<br />

ขนาดเม็ดแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทอง<br />

ตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ขนาดของเม็ดแปงมีผลตอการพองตัว โดย<br />

เม็ดแปงที่มีขนาดใหญยอมมีกํ<br />

าลังการพองตัวสูงและจะใหคาความหนืดสูงสุดสูงดวย(กลา<br />

ณรงค,2542) ซึ่งจะไดทํ<br />

าการศึกษาการพองตัวและการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืดของแปงทั้ง<br />

5 ชนิดในขอตอไป<br />

64


% Size distribution<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Size range (micron)<br />

% Size distribution<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

65<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Size range (micron)<br />

ก) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดระดับหองปฏิบัติการ<br />

ข) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

% Size distribution<br />

% Size distribution<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Size range (micron)<br />

% Size distribution<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Size range (micron)<br />

ค) แปงทาว ง) แปงมันสํ าปะหลัง<br />

0 10 20 30 40 50 60<br />

Size range (micron)<br />

จ) แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

18 คารอยละการกระจายตัวของขนาดเม็ดแปงแตละชนิด


2.2.3 การวิเคราะห X-ray diffraction pattern<br />

จากการวิเคราะห X-ray diffraction pattern ของแปงทั้ง<br />

5 ชนิดไดแก แปง<br />

เทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงขาวเจา แสดงรูปแบบ X-ray diffraction pattern ดังภาพที่<br />

19<br />

Counts<br />

5.00 10.00 15.00 20.00 25.00 30.00<br />

Reflection Angle (2θ)<br />

ภาพที่<br />

19 ลักษณะของ X-ray diffraction pattern ของแปงแตละชนิด<br />

จากภาพที่<br />

19 แสดงใหเห็นวา ลักษณะโครงสรางผลึกของแปงทั้ง<br />

5 ชนิด มี<br />

ลักษณะเปนแบบ A- type คือ ไมมีพีคที่มุมหักเห<br />

(diffraction angle) ที่<br />

5.6° แตมีพีคเดี่ยวที่มุม<br />

17° และ17.9° และพีคเดี่ยวที่<br />

(singlet) 23° ซึ่งสอดคลองกับคํ<br />

ากลาวของ Spence and Jane<br />

(1999) ที่วาแปงขาวเจาและแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีรูปแบบ X-ray diffraction pattern แบบ A- type<br />

66<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตได<br />

ในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด<br />

แปงทาว<br />

แปงมันสํ าปะหลัง<br />

แปงขาวเจา


โดยแปงที่อยูใน<br />

A- type นี้จะมีกิ่งของแอมิโลเพกทินสั้น(DP<br />

เทากับ 19-28) และในบางครั้งพบ<br />

แปงมันสํ าปะหลังที่แสดงลักษณะของ<br />

C-type X-ray pattern ดวย<br />

เมื่อนํ<br />

าพื้นที่ใตกราฟของสเปกตรัมของแปงแตละชนิดที่วัดไดมาคํ<br />

านวณหา<br />

ปริมาณความเปนผลึก แสดงผลดังตารางที่<br />

12<br />

ตารางที่<br />

12 ปริมาณความเปนผลึกสัมพัทธของแปงแตละชนิด<br />

ชนิดของแปง ปริมาณความเปนผลึกสัมพัทธ (%)<br />

เทายายมอม 1<br />

27-28<br />

เทายายมอม 2<br />

30-31<br />

ทาว 24-25<br />

มันสํ าปะหลัง 28-29<br />

ขาวเจา 29-30<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

จากตารางที่<br />

12 เมื่อพิจารณาปริมาณความเปนผลึกสัมพัทธของแปงแตละชนิด<br />

พบวา ปริมาณความเปนผลึกของแปงมีความสอดคลองกับปริมาณแอมิโลส โดยแปงที่มีปริมาณ<br />

แอมิโลสสูง เชน แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

จะมีปริมาณความเปนผลึกนอย<br />

กวาแปงที่มีปริมาณแอมิโลสตํ่<br />

ากวา เชน แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด เนื่องจากโครง<br />

สรางผลึกภายในเม็ดแปงเกิดจากสวนของแอมิโลเพกทิน ในงานวิจัยของ Oates(1996) กลาววา<br />

แปงขาวเจาและแปงมันสํ าปะหลังมีปริมาณความเปนผลึกเทากันคือ รอยละ 38 โดยแปงขาวเจามี<br />

ลักษณะ A-type ในขณะที่แปงมันสํ<br />

าปะหลังมีลักษณะ C-type ซึ่งความแตกตางของ<br />

type นี้ขึ้น<br />

อยูกับความแข็งแรงของผลึกซึ่งเปนผลมาจากจํ<br />

านวนโมเลกุลที่มาเชื่อมตอกันเปนรางแหสามมิติ<br />

และการจัดเรียงโมเลกุลของเม็ดแปง ลักษณะการจัดเรียงตัวของโครงสรางผลึกและปริมาณความ<br />

เปนผลึกมีผลตอการพองตัวของเม็ดแปง เชน แปงจากธัญพืช สวนแอมิโลเพกทินจะรวมตัวกันเปน<br />

ผลึก สวนแอมิโลสจะรวมตัวกับไขมันเปนสารประกอบเชิงซอน เกิดเปนโครงสรางผลึกอยางออนไป<br />

เสริมความแข็งแรงใหแกเม็ดแปง ทํ าใหเม็ดแปงจากธัญพืชพองตัวชา (กลาณรงค, 2542)<br />

67


2.2.4 กํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปง<br />

ผลการวิเคราะหคากํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปงเทายายมอม<br />

ที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงขาวเจาที่อุณหภูมิตางๆ<br />

กัน คือ 55, 65, 75, 85 และ 95 องศาเซลเซียส โดย<br />

การดัดแปลงจากวิธีการของ Schoch(1964) แสดงผลดังภาพที่<br />

20 และภาพที่<br />

21<br />

กําลังการพองตัว (swelling power)<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

55 65 75 85 95<br />

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)<br />

แปงเทายายมอม1<br />

แปงเทายายมอม2<br />

แปงทาว<br />

แปงมันสําปะหลัง<br />

แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

20 กํ าลังการพองตัวของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

หมายเหตุ แปงเทายายมอม 1 คือ แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอม 2 คือ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

จากภาพที่<br />

20 เมื่อพิจารณาคากํ<br />

าลังการพองตัวของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

ตางๆ พบวาเมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้นแปงทุกชนิดมีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงขึ้น<br />

เนื่องมาจากความรอน<br />

ไปทํ าลายพันธะไฮโดรเจนซึ่งเกิดจากหมูไฮดรอกซิลของโมเลกุลแปงที่อยูใกลๆ<br />

กัน โมเลกุลของนํ้<br />

า<br />

จึงสามารถเขามาจับกับหมูไฮดรอกซิลอิสระ<br />

เม็ดแปงจึงเกิดการพองตัวเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูง<br />

ขึ้น<br />

(กลาณรงค, 2542) เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบคากํ<br />

าลังการพองตัวของแปงแตละชนิด พบวา<br />

แปงทาวมีคากํ าลังการพองตัวสูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมันสํ าปะหลัง แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และแปงขาวเจา ตาม<br />

68


ลํ าดับ ทั้งนี้การที่เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นแปงเทายายมอมซึ่งเปนแปงจากสวนหัว<br />

และ แปงทาวกับแปง<br />

มันสํ าปะหลังซึ่งเปนแปงจากสวนราก<br />

มีคากํ าลังการพองตัวสูงกวาแปงขาวเจาซึ่งเปนแปงจาก<br />

ธัญพืช เนื่องมาจากแปงขาวเจามีปริมาณไขมันมากกวา<br />

(ตารางที่<br />

8 )และมีโมเลกุลแอมิโลสขนาด<br />

เล็ก จึงสามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนกับแอมิโลส เปน amylose-lipid complex เกิดเปนโครง<br />

สรางผลึกอยางออนที่ไปเสริมความแข็งแรงใหแกเม็ดแปง<br />

ซึ่งจะยับยั้งและชะลอการพองตัวของ<br />

เม็ดแปง (กลาณรงค, 2542; Kim and Seib, 1993) แตเมื่อพิจารณาในชวงอุณหภูมิ<br />

55-65<br />

องศาเซลเซียส จะพบวาแปงขาวเจามีคากํ าลังการพองตัวสูงกวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และแปงทาว ทั้งนี้อาจเนื่องมา<br />

จากโปรตีนที่เปนองคประกอบของแปงขาวเจาซึ่งมีปริมาณมาก(ตารางที่<br />

8) และเปนหมูโพลาร<br />

สามารถรวมตัวไดดีกับนํ้<br />

าที่อยูบริเวณรอบๆ<br />

เม็ดแปงจึงทํ าใหมีกํ าลังการพองตัวสูง แตหลังจากเพิ่ม<br />

อุณหภูมิใหสูงขึ้นจะสงผลทํ<br />

าใหโปรตีนที่มีหมูโพลารนี้เสียสภาพ(รุงทิวา,<br />

2543) จึงเห็นไดวาเมื่อ<br />

เพิ่มอุณหภูมิมากกวา<br />

65 องศาเซลเซียส คากํ าลังการพองตัวของแปงขาวเจาจึงมีคาตํ่<br />

าที่สุดเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับแปงอีก 4 ชนิดที่ไดกลาวมาแลว<br />

รอยละความสามารถในการละลาย<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

55 65 75 85 95<br />

อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)<br />

แปงเทายายมอม1<br />

แปงเทายายมอม2<br />

แปงทาว<br />

แปงมันสําปะหลัง<br />

แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

21 ความสามารถในการละลายของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

หมายเหตุ แปงเทายายมอม 1 คือ แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอม 2 คือ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

เมื่อพิจารณาความสามารถในการละลายของแปงแตละชนิดเมื่อเพิ่มอุณหภูมิขึ้น<br />

จากภาพที่<br />

21 พบวาการเปลี่ยนแปลงคารอยละการละลายของแปงจะมีแนวโนมคลายคลึงกับคา<br />

69


กํ าลังการพองตัวของแปง นั่นคือ<br />

เมื่ออุณหภูมิของนํ้<br />

าแปงเพิ่มขึ้น<br />

คากํ าลังการพองตัวและรอยละ<br />

การละลายมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น<br />

ทั้งนี้เมื่อพิจารณาความสามารถในการละลายของแปงกับขนาด<br />

ของแอมิโลสจากผลการทดลองขอ 2.1.2 (ตารางที่<br />

9 ) พบวา โอกาสที่แอมิโลสจะหลุดออกจาก<br />

เม็ดแปงไดงายเรียงจากมากไปนอย คือ แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาด แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และแปงขาวเจามีความสอด<br />

คลองกับความสามารถในการละลายของแปง เนื่องจากความสามารถในการละลายของแปงวัด<br />

จากปริมาณของแข็งทั้งหมดในสารละลายที่สามารถละลายได<br />

(กลาณรงค, 2542) โดยสวนที่<br />

ละลายออกมาไดแก สวนของปริมาณของแข็งที่ละลายได<br />

และปริมาณแอมิโลส (Unnikrishman<br />

and Bhattacharya, 1981) ดังนั้นแปงที่แอมิโลสมีโอกาสหลุดออกจากเม็ดแปงไดงายจะมีคา<br />

ความสามารถในการละลายสูง ทั้งนี้คาการพองตัวและการละลายมีผลตอการเกิดเจลาติไนซของ<br />

เม็ดแปง ซึ่งจะไดศึกษาเกิดเจลาติไนซของแปงทั้ง<br />

5 ชนิดในขอตอไป<br />

70


2.2.5 วิเคราะหการเกิดเจลาติไนเซชัน<br />

การศึกษาลักษณะการเกิดเจลาติไนเซชันของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับ<br />

หองปฏิบัติการ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปง<br />

ขาวเจา ดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimetry (DSC) ที่อัตราการเพิ่มอุณหภูมิ<br />

10<br />

องศาเซลเซียสตอนาที คาเทอรโมไดนามิกสและลักษณะเทอรโมแกรมที่เกี่ยวของกับการเกิด<br />

เจลาติไนซของแปง แสดงดังตารางที่<br />

13 และ ภาพที่<br />

22<br />

ตารางที่<br />

13 คาเทอรโมไดนามิกสที่เกี่ยวของกับการเกิดเจลาติไนซของแปงแตละชนิดเมื่อวิเคราะห<br />

ดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimetry (DSC)<br />

ชนิดของแปง<br />

เทายายมอม 1<br />

เทายายมอม 2<br />

คาเทอรโมไดนามิกส<br />

To (°C) Tp (°C) Tc (°C) Delta H (J/g)<br />

68.68+0.09 b<br />

70.30+0.11 a<br />

ทาว 65.80+0.17 c<br />

มันสํ าปะหลัง 59.45+0.15 e<br />

ขาวเจา 61.47+0.09 d<br />

72.01+0.18 b<br />

73.18+0.29 a<br />

71.11+0.37 c<br />

68.43+0.33 e<br />

67.24+0.06 d<br />

83.40+0.66 ab<br />

85.57+1.27 a<br />

82.90+0.71 b<br />

83.57+0.33 ab<br />

78.03+1.46 c<br />

15.56+0.60 a<br />

16.29+0.32 a<br />

15.56+0.21 a<br />

15.80+0.91 a<br />

11.27+0.28 b<br />

หมายเหตุ To คือ อุณหภูมิเริ่มตนในการเกิดเจลาติไนซ<br />

(Onset temperature)<br />

Tp คือ อุณหภูมิสูงสุดในการเกิดเจลาติไนซ (Peak temperature)<br />

Tc คือ อุณหภูมิสุดทายในการเกิดเจลาติไนซ (Conclusion temperature)<br />

Delta H คือ พลังงานที่เปลี่ยนแปลงระหวางการเกิดเจลาติไนซ<br />

(Enthalpy)<br />

1<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

a-e หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมี<br />

ความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

71


ผลจากตารางที่<br />

13 เมื่อพิจารณาชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซที่อยูระหวาง<br />

อุณหภูมิเริ่มตน(To)<br />

และอุณหภูมิสุดทาย (Tc) ในการเกิดเจลาติไนซ พบวาชวงอุณหภูมิในการเกิด<br />

เจลาติไนซของแปงมันสํ าปะหลังกวางที่สุดคืออยูในชวง<br />

59.45-83.57 องศาเซลเซียส รองลงมาได<br />

แก แปงทาว แปงขาวเจา แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และแปงเทายายมอมที่ผลิต<br />

ไดในระดับหองปฏิบัติการ โดยมีชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซเทากับ 65.80 – 82.90, 61.47-<br />

78.03, 70.30-85.57 และ 68.68 – 83.40 องศาเซลเซียส ตามลํ าดับ ในงานวิจัยของ Chen et al.<br />

(1998) พบวาชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซของแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา เทากับ<br />

62.4-86.2 และ 71.1-87.6 ตามลํ าดับ ความกวางของชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลติไนซจะแปรผก<br />

ผันกับความยาวของสายเกลี่ยวคูในโครงสรางผลึก<br />

(Waigh et al., 2000) นอกจากนี้ยังเกี่ยวของ<br />

กับความยาวของกิ่งกานของแอมิโลเพกทินและการกระจายตัวของแอมิโลเพกทิน<br />

เนื่องจากการ<br />

วิเคราะหการเกิดเจลาติไนซดวยเครื่อง<br />

DSC นี้เปนการศึกษาโครงสรางผลึกของแอมิโลเพกทินเทา<br />

นั้น<br />

(Chen et al. ,1998; Lii and Lee, 1993; Hoover and Senanayake, 1996)<br />

นอกจากนี้เมื่อพิจารณาพลังงานที่ใชในการเกิดเจลาติไนซ<br />

(∆H) จากตารางที่<br />

13<br />

ซึ่งบงบอกถึงปริมาณพลังงานที่ใชในการทํ<br />

าใหโครงสรางของเม็ดแปงเกิดการแตกแยก(Zobel,<br />

1988) หรือปริมาณความรอนที่ใชในการหลอมละลายโครงสรางผลึกในสภาวะการเกิดเจลาติไนซ<br />

(Jane, 1992) พบวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง มีปริมาณพลังงานที่ใชในการเกิด<br />

เจลาติไนซ ไมแตกตางกันทางสถิติ(p>0.05) คือ อยูในชวง<br />

15 –16 จูลตอกรัม ในขณะที่แปงขาว<br />

เจาใชพลังงานในการเกิดเจลาติไนซตํ่<br />

าที่สุด<br />

เทากับ 11.27 จูลตอกรัม การที่แปงขาวเจาใชพลังงาน<br />

ในการเกิดเจลาติไนซตํ่<br />

าที่สุด<br />

เนื่องจากในแปงขาวเจามีโปรตีนอยูในปริมาณที่มากกวาแปงชนิดอื่น<br />

เมื่อทํ<br />

าการใหพลังงานแกเม็ดแปง โปรตีนที่อยูในเม็ดแปงขาวเจานี้สามารถรับพลังงานเขามา<br />

หลอมละลายโครงสรางได จึงทํ าใหพลังงานที่ใชในการเกิดเจลาติไนซหรือพลังงานที่ใชในการ<br />

ทํ าลายโครงสรางเม็ดแปงขาวเจาตํ่<br />

ากวาแปงชนิดอื่น<br />

72


Heat flow (mWatt)<br />

58<br />

56<br />

54<br />

52<br />

50<br />

48<br />

40 50 60 70 80 90 100 110<br />

Temperature ( o C)<br />

Heat flow (mWatt)<br />

58<br />

56<br />

54<br />

52<br />

50<br />

48<br />

73<br />

40 50 60 70 80 90 100 110<br />

Temperature ( o C)<br />

ก) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

ข) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

Heat flow (mWatt)<br />

Heat flow (mWatt)<br />

56<br />

54<br />

52<br />

50<br />

48<br />

56<br />

54<br />

52<br />

50<br />

48<br />

40 50 60 70 80 90 100 110<br />

Temperature ( o C)<br />

Heat flow (mWatt)<br />

56<br />

54<br />

52<br />

50<br />

48<br />

40 50 60 70 80 90 100 110<br />

Temperature ( o C)<br />

ค) แปงทาว ง) แปงมันสํ าปะหลัง<br />

40 50 60 70 80 90 100 110<br />

Temperature ( o C)<br />

จ) แปงขาวเจา


ภาพที่<br />

22 ลักษณะกราฟ Heat flow ที่อุณหภูมิตางๆ<br />

ของแปงแตละชนิด เมื่อวิเคราะหดวย<br />

เครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimetry (DSC)<br />

2.2.6 การเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

เมื่อนํ<br />

าแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา มาวิเคราะหพฤติกรรมทาง<br />

ดานความขนหนืดโดยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) ผลการทดลองดังแสดงในภาพที่<br />

23<br />

และตารางที่<br />

14<br />

Viscosity (RVU)<br />

Time (mins)<br />

Temp ( o C)<br />

ภาพที่<br />

23 พฤติกรรมดานความขนหนืดของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิตางๆ<br />

ที่ไดจากการวิเคราะห<br />

ดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

74


ตารางที่<br />

14 คุณสมบัติดานความหนืดของแปงแตละชนิดเมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

RVA<br />

คุณสมบัติ<br />

Pasting<br />

temperature (°C)<br />

Peak viscosity<br />

(RVU)<br />

Trough viscosity<br />

(RVU)<br />

Final Viscosity<br />

(RVU)<br />

Breakdown<br />

(RVU)<br />

Setback from<br />

trough (RVU)<br />

เทายายมอม<br />

ชนิดของแปง<br />

1 เทายายมอม2 ทาว มันสํ าปะหลัง ขาวเจา<br />

73.42+0.10a 74.22+0.11a 72.67+0.03b 69.40+0.07c 74.55+0.49a 317.96+0.50 a 302.29+0.65 c 181.25+1.06 e 310.67+0.00 b 231.25+1.30 d<br />

120.79+0.65 c 130.20+7.60 b 43.58+0.58 d 115.42+1.77 c 154.83+0.71 a<br />

242.70+0.83 b 202.46+0.18 c 70.87+0.53 e 172.70+3.36 d 332.79+3.48 a<br />

197.16+1.36 a 172.08+8.25 c 137.66+0.47 d 195.25+1.77 b 76.42+0.59 e<br />

121.91+0.18. b 72.25+7.42 c 27.29+0.05 e 57.29+1.59 d 177.96+2.77 a<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

a-e หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวนอนเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมี<br />

ความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

จากภาพที่<br />

23 และตารางที่<br />

14 สามารถอธิบายคุณสมบัติทางดานความขนหนืดไดดังนี้<br />

(1) อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

(Pasting temperature)<br />

อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

หรืออุณหภูมิตํ่<br />

าสุดที่ตองใชในการ<br />

ทํ าใหแปงสุก(Newport Scientific,1995) ของแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดมีคาไมแตกตางกับแปงขาวเจา(p>0.05) คือมีอุณหภูมิอยูในชวง<br />

73-<br />

75


74 องศาเซลเซียส ซึ่งในการทํ<br />

าใหแปงสุกตองใชอุณหภูมิที่สูงกวาแปงมันสํ<br />

าปะหลังและแปงทาว<br />

ที่มีอุณหภูมิตํ<br />

าสุดที ่ ่ตองใชในการทํ าใหแปงสุกอยูในชวง<br />

69-72 องศาเซลเซียส และเมื่อพิจารณา<br />

เปรียบเทียบอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดที่ไดจากการวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

RVA<br />

พบวามีแนวโนมเชนเดียวกับชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซเมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

DSC (จาก<br />

ผลการทดลองในขอ 2.2.5 ตารางที่<br />

13 )<br />

Svensson and Eliasson (1995) กลาววากระบวนการเกิดเจลาติไนซเปน<br />

กระบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอน<br />

โดยเริ่มจากสวนอสัณฐานจะเริ่มดูดนํ้<br />

าและพองตัว<br />

ขึ้นเมื่อไดรับความรอน<br />

การพองตัวหรือขยายตัวที่เพิ่มขึ้นจะทํ<br />

าใหโครงสรางผลึกที่เปนระเบียบภาย<br />

ในเม็ดแปงถูกทํ าลาย นั่นแสดงวาเม็ดแปงที่มีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงและพองตัวไดเร็วจะสงผลทํ า<br />

โครงสรางผลึกที่เปนระเบียบภายในเม็ดแปงถูกทํ<br />

าลาย และนํ้<br />

าแปงจะเริ่มมีความขนหนืดที่<br />

อุณหภูมิตํ ากวาแปงที ่ ่มีคากํ าลังการพองตัวตํ่<br />

ากวา (Pomeranz, 1991) ซึ่งเมื่อพิจารณาคาการ<br />

พองตัว (จากผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพที่<br />

20) กับอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

พบวา แปงที่มาจากแหลงเดียวกัน<br />

แปงที่มีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงกวา จะมีอุณหภูมิที่เกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงคาความหนืดตํ่<br />

ากวา เชน ในกรณีของแปงที่ไดจากสวนราก<br />

แปงทาวมีคากํ าลังการ<br />

พองตัวสูงกวาจึงมีอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดตํ่<br />

ากวาแปงมันสํ าปะหลัง<br />

(2) คาความหนืดสูงสุด (Peak viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาคาความหนืดสูงสุด<br />

ซึ่งเปนคาที่มีความสัมพันธกับคุณภาพของ<br />

ผลิตภัณฑสุดทาย และเปนคาที่บอกถึงความสามารถของแปงในการจับตัวกับนํ้<br />

าและแรงที่ตองใช<br />

ในการกวนหรือผสมในอาหาร (Newport Scientific,1995) โดยเกิดขึ้นที่จุดสมดุลระหวางการพอง<br />

ตัวและการไหลออกของแอมิโลส (Beta and Corke, 2001) พบวาแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ และที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดมีคาความหนืดสูงสุดสูงที่สุด<br />

และใกลเคียงกับ<br />

แปงมันสํ าปะหลัง คืออยูในชวง<br />

302-317 RVU ในขณะที่แปงขาวเจามีคาความหนืดสูงสุดระดับ<br />

ปานกลาง(231 RVU) และแปงทาวมีคานอยที่สุด(181<br />

RVU) เมื่อพิจารณาคาความหนืดสูงสุดกับ<br />

การไหลของแอมิโลสพบวามีความสัมพันธกัน โดยแปงที่มีขนาดแอมิโลสเล็กการไหลของแอมิโลส<br />

เกิดขึ้นไดงาย<br />

จึงมีผลทํ าใหคาความหนืดสูงสุดตํ่<br />

า(Whistler and BeMiller, 1999; Oates, 1997)<br />

เชน แปงทาว ในขณะที่แปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และที่จํ<br />

าหนายตาม<br />

ทองตลาด และแปงมันสํ าปะหลัง มีขนาดแอมิโลสใหญกวาแปงทาวจึงมีคาความหนืดสูงสุดสูงกวา<br />

76


แปงทาวเนื่องจากการไหลของแอมิโลสออกมาไดยากกวา<br />

ในกรณีของแปงขาวเจาถึงแมมีขนาด<br />

แอมิโลสเล็กกวาแปงทาวแตกลับมีคาความหนืดสูงสุดสูงกวาแปงทาว เนื่องจากไขมันในเม็ดแปง<br />

ขาวเจาสามารถเกิดสารประกอบเชิงซอนกับแอมิโลส เปน amylose-lipid complex เกิดเปนโครง<br />

สรางอยางออนที่ไปเสริมความแข็งแรงใหแกเม็ดแปง<br />

แอมิโลสจึงหลุดออกจากเม็ดแปงไดยากกวา<br />

แปงทาวจึงมีผลทํ าใหแปงขาวเจามีคาความหนืดสูงสุดสูงกวาแปงทาว (Kim and Seib, 1993)<br />

(ผลการทดลองขอ 2.1.2 แสดงปริมาณและขนาดแอมิโลสของแปงแตละชนิด)<br />

(3) คาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity)<br />

คาความหนืดตํ่<br />

าสุดซึ่งจะบอกถึงคาความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงที่เกิดจากการให<br />

ความรอน และแรงกวนที่ใชในการผสม<br />

(Newport Scientific,1995) กลาณรงค(2542) กลาววา<br />

การใชความรอนสูงหรือมีการใชแรงกลมากจะทํ าใหเม็ดแปงแตกและความหนืดลดลง เมื่อ<br />

พิจารณาพบวาที่อุณหภูมิและแรงกวนที่เทากันแปงขาวเจาจะใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดสูงที่สุดเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับแปงอื่นๆ<br />

คือมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเทากับ 154 RVU ทั้งนี้เนื่องจากแปงขาวเจามี<br />

กํ าลังการพองตัวตํ่<br />

า(ผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพที่<br />

20) ทํ าใหโครงสรางผลึกภายในเม็ดแปงถูก<br />

ทํ าลายนอย (Svensson and Eliasson ,1995) จึงมีความคงทนตอแรงกวนมากกวาแปงชนิดอื่น<br />

ในขณะที่แปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และ<br />

แปงมันสํ าปะหลังมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดปานกลาง คืออยูในชวง<br />

115-130 RVU และแปงทาว ใหคา<br />

ความหนืดตํ่<br />

าสุดตํ่<br />

าที่สุด<br />

คือมีคาเทากับ 43 RVU ซึ่งคาความหนืดตํ่<br />

าสุดนี้มีความสอดคลองกับ<br />

การไหลของแอมิโลสเชนเดียวกับคาความหนืดสูงสุด เพราะเมื่อเกิดการไหลของแอมิโลสออกมา<br />

คาความหนืดจะลดลง(Whistler and BeMiller, 1999) นั่นคือ<br />

แปงที่มีการไหลของแอมิโลสออก<br />

มาไดงายจะมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดตํ่<br />

ากวาแปงที่มีการไหลของแอมิโลสออกมาไดยาก<br />

(breakdown)<br />

(4) คาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

า<br />

สุด ซึ่งจะบอกถึงความสามารถในการคงทนตออุณหภูมิ<br />

และการกวนที่เปนปจจัยที่สํ<br />

าคัญในหลาย<br />

กระบวนการผลิต(Newport Scientific,1995) พบวาแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหอง<br />

77


ปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และแปงมันสํ าปะหลัง มีคาผลตางระหวางคาความหนืด<br />

สูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุดสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับแปงอื่นๆ<br />

คืออยูในชวง<br />

172-197 RVU นั่น<br />

แสดงวา แปงเทายายมอม และแปงมันสํ าปะหลังมีความสามารถในการคงทนตออุณหภูมิ และ<br />

การกวนตํ าที ่ ่สุด แปงที่มีความคงทนตออุณหภูมิและการกวนดีปานกลาง<br />

และดีมากคือ แปงทาว<br />

และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ คือ มีคาผลตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุดเทา<br />

กับ 137 RVU และ 76 RVU ตามลํ าดับ การที่แปงขาวเจามีความคงทนสูงกวาแปงอีก<br />

4 ชนิดเนื่อง<br />

จากเม็ดแปงขาวเจาจะพองตัวไดไมเต็มที่และแอมิโลสไหลออกจากเม็ดแปงไดยากเนื่องจากเกิด<br />

สารประกอบเชิงซอนของไขมันกับแอมิโลส ทํ าใหสามารถทนตอแรงกวนไดและเม็ดแปงยังคงอุม<br />

นํ าไดอยู ้ บาง (Chen et al., 1998) นอกจากนี้การที่แปงขาวเจามีปริมาณโปรตีนสูง(ตารางที่<br />

8) จึง<br />

ชวยทํ าใหเกิดการอุมนํ้<br />

าไดดีเพราะโปรตีนมีหมูโพลารซึ่งสามารถจับตัวกับนํ้<br />

าได(รุงทิวา,<br />

2543) คา<br />

ความหนืดของแปงขาวเจาจึงลดลงไมมากเทากับแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ดังนั้นคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงขาว<br />

เจาจึงมีคาสูงกวาแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

(5) คาความหนืดสุดทาย(Final viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความหนืดสุดทายซึ่งเปนพารามิเตอรในการบอกถึงคุณภาพ<br />

ของแปง และเปนตัวบงชี้ถึงลักษณะของแปงหรือผลิตภัณฑวามีลักษณะเปนแปงเปยกหรือเจลเมื่อ<br />

ผานการใหความรอน และทํ าใหเย็น (Newport Scientific,1995) พบวาแปงทั้ง<br />

5 ชนิดมีคาความ<br />

หนืดสุดทายมากกวาคาความหนืดตํ่<br />

าสุด นั่นแสดงวาแปงทั้ง<br />

5 ชนิดเมื่อผานการใหความรอน<br />

และ<br />

ทํ าใหเย็นจะมีลักษณะเปนเจล (Beta and Corke, 2001) ซึ่งเหมาะสํ<br />

าหรับการนํ าไปใชกับขนม<br />

ไทยที่ตองการลักษณะของเจล<br />

เชน ขนมชั้น<br />

ขนมเปยกปูน เปนตน โดยแปงที่ใหลักษณะเจลที่แข็ง<br />

ที่สุดคือ<br />

แปงขาวเจา (332 RVU) เจลที่มีลักษณะแข็งปานกลางคือ<br />

แปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ และที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และแปงมันสํ าปะหลัง(172-242 RVU) และ<br />

เจลที่มีลักษณะแข็งนอยที่สุด<br />

คือ แปงทาว (70 RVU) ปริมาณแอมิโลสที่มากเปนปจจัยหนึ่งที่ทํ<br />

า<br />

ใหคาความหนืดสุดทายสูง (กลาณรงค, 2542) เนื่องจากเจลแปงเมื่อผานการใหความรอน<br />

และทํ า<br />

ใหเย็นจะเกิดการจัดเรียงตัวกันใหมของแอมิโลสที่อยูใกลกันดวยพันธะไฮโดรเจน<br />

มีผลทํ าใหนํ้<br />

า<br />

แปงมีความหนืดมากขึ้น<br />

และจะเกิดไดเร็วเมื่อแอมิโลสมีโมเลกุลสูง<br />

(นิติ, 2543; Whistler and<br />

BeMiller, 1999) ทั้งนี้การที่แปงขาวเจาซึ่งมีปริมาณแอมิโลสนอยกวาแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตได<br />

ในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง แตแปงขาว<br />

78


เจากลับมีคาความหนืดสุดทายมากกวาแปงชนิดอื่น<br />

เนื่องจากเมื่อเกิดการจัดเรียงตัวใหมของ<br />

แอมิโลส แปงขาวเจาซึ่งมีโมเลกุลแอมิโลสขนาดเล็กสามารถจับตัวกับไขมันไดเปน<br />

amylose-lipid<br />

complex ซึ่งจะไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจลแปงขาวเจาที่ได<br />

(Kim and Seib, 1993) มีผลทํ าให<br />

คาความหนืดสุดทายมากที่สุดเมื่อเทียบกับแปงอีก<br />

4 ชนิด<br />

(6) คาการคืนตัว (Setback viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาคาการคืนตัว<br />

สามารถวิเคราะหไดจากผลตางของคาความหนืดสุด<br />

ทายกับความหนืดตํ่<br />

าสุด(Setback from trough) หรือ คาผลตางของความหนืดสุดทายกับความ<br />

หนืดสูงสุด(Setback from peak ) ซึ่งคาการคืนตัวนี้จะมีความสัมพันธกับลักษณะเนื้อสัมผัสของ<br />

ผลิตภัณฑ (Newport Scientific,1995) โดยถามีคาการคืนตัวมากหรือมีคาเปนบวกจะมีลักษณะ<br />

การเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี และมีแนวโนมที่จะใหเจลแปงที่แข็งมาก(Beta<br />

and Corke, 2001) จาก<br />

ผลการทดลองพบวาระดับการคืนตัวของแปงที่มากสุด<br />

คือ แปงขาวเจา ระดับปานกลาง คือ แปง<br />

เทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด และการคืนตัวนอย<br />

ที่สุด<br />

คือ แปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว ซึ่งการคืนตัวของแปงมีความสอดคลองกับปริมาณ<br />

แอมิโลสของแปงแตละชนิด โดยแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะมีแนวโนมเกิดการคืนตัวไดดี<br />

(Chen et al., 1998) ทั้งนี้การที่แปงขาวเจามีปริมาณแอมิโลสตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตได<br />

เองและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว ตามลํ าดับ แตกลับมีคาการคืน<br />

ตัวสูงกวา เนื่องจากแปงขาวเจามีไขมันปริมาณสูงและมีโมเลกุลแอมิโลสขนาดเล็ก<br />

ทํ าใหเกิดการ<br />

จับตัวกับแอมิโลสเปน amylose-lipid complex ซึ่งจะไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจลแปงขาวเจาที่<br />

ได จึงมีคาการคืนตัวสูงกวาแปงชนิดอื่น<br />

(กลาณรงค, 2542)<br />

ทั้งนี้วิธีการวัดการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืดโดยเครื่อง<br />

RVA ไมสามารถ<br />

บอกไดวาผลิตภัณฑสุดทายมีลักษณะของเจลที่แข็งแบบใด<br />

เชน แข็งแตแตกเปราะ หรือแข็งแตมี<br />

ความเหนียวนุ ม จึงตองทํ าการตรวจวัดการกลับคืนตัวของแปงดวยวิธีการวัดคาลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

ทางกล เชน การคาแรงกดและแรงดึงของเจลแปง หรือการวัดคา Texture Profile Analysis (TPA)<br />

ซึ่งนาจะเปนวิธีการวัดที่สามารถนํ<br />

ามาใชอธิบายถึงพฤติกรรมของเจลแปงได ทั้งนี้วิธีการวัดคาการ<br />

กลับคืนตัวของแปงเหลานี้จะไดทํ<br />

าการศึกษาในหัวขอที่<br />

3 ตอไป<br />

79


2.2.7 คาความโปรงแสงของเจลแปง(Cold paste clarity)<br />

การวิเคราะหคาความโปรงแสงของเจลแปงดัดแปลงจากวิธีการของ Stuart et al.<br />

(1989) โดยวัดปริมาณแสงสองผาน(%Transmittance) ของสารละลายแปงความเขมขนรอยละ 1<br />

(นํ าหนักของแปงแหง) ้ ที่ผานการเจลาติไนซในนํ้<br />

าเดือดและทิ้งใหเย็นที่อุณหภูมิหองเปนเวลาที่<br />

30,<br />

60 และ 90 นาที ดวยเครื่องสเปกโตรโฟโตมิเตอร<br />

ที่ความยาวคลื่น<br />

650 นาโนเมตร ผลการทดลอง<br />

แสดงดังตารางที่15<br />

ตารางที่<br />

15 คาเปอรเซ็นตแสงสองผาน(%Transmittance) ของแปงแตละชนิดที่เวลาตางๆ<br />

กัน<br />

ชนิดแปง<br />

เทายายมอม 1<br />

เทายายมอม 2<br />

่ คาเปอรเซ็นตแสงสองผาน ที 650 นาโนเมตร ณ เวลา<br />

30 นาที 60 นาที 90 นาที<br />

50.70+0.14 b<br />

45.65+0.35 c<br />

เทา 73.35+0.92 a<br />

มันสํ าปะหลัง 52.00+0.85 b<br />

ขาวเจา 1.85+0.07 d<br />

50.85+0.49 b<br />

45.65+0.35 c<br />

73.65+1.20 a<br />

52.15+0.64 b<br />

1.95+0.07 d<br />

51.45+0.07 b<br />

46.15+0.07 c<br />

73.85+0.92 a<br />

52.15+0.06 b<br />

2.00+0.14 d<br />

หมายเหตุ 1 แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

2 แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

a-d หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมี<br />

ความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

เมื่อพิจารณาคาเปอรเซ็นตแสงสองผานของแปงแตละชนิด<br />

พบวา แปงทั้ง<br />

5 ชนิด<br />

มีคาเปอรเซ็นตแสงสองผานเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น<br />

นั่นแสดงถึงลักษณะของเจลแปงมีความโปรง<br />

แสงมากขึ้น<br />

โดยแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

มีคาเปอรเซ็นตแสงสองผานใกลเคียงกับแปงมันสํ าปะหลัง แตนอยกวาแปงทาว ใน<br />

ขณะที่แปงขาวเจามีคาเปอรเซ็นตแสงสองผานตํ่<br />

ามาก ทั้งนี้คาเปอรเซ็นตแสงสองผานของแปง<br />

80


มีความสัมพันธกับคาการพองตัว เนื่องจากเม็ดแปงที่มีการพองตัวตํ่<br />

ามักมีโครงสรางที่จัดตัวเปน<br />

ระเบียบ จึงมีผลทํ าใหแสงที่สองผานเม็ดแปงเกิดการหักเหที่บริเวณพื้นผิวของเม็ดแปง<br />

แสงจึงผาน<br />

เม็ดแปงออกมาไดนอยทํ าใหเม็ดแปงที่มีคาการพองตัวตํ่<br />

ามีคาเปอรเซ็นตแสงสองผานของแปงนอย<br />

กวาเม็ดแปงที่มีคากํ<br />

าลังการพองตัวสูงกวา(Stuat et al., 1989) จากผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพ<br />

ที่<br />

20 เมื่อพิจารณาคากํ<br />

าลังการพองตัวของแปงทาวพบวามีคากํ าลังการพองตัวมากที่สุด<br />

จึงมีคา<br />

เปอรเซ็นตแสงสองผานของแปงมากที่สุด<br />

ในทางตรงกันขามแปงขาวเจามีคากํ าลังการพองตัวนอย<br />

ที่สุดจึงมีคาเปอรเซ็นตแสงสองผานของแปงนอยที่สุด<br />

เนื่องจากแปงขาวเจามีโครงสรางของผลึกที่<br />

จัดตัวเปนระเบียบประกอบกับเกิดสารประกอบเชิงซอนกับแอมิโลส เปน amylose-lipid complex<br />

ที่ไปเสริมความแข็งแรงใหแกเม็ดแปงทํ<br />

าใหเม็ดแปงขาวเจาพองตัวไดนอย แสงจึงสองผานเม็ดแปง<br />

ไดไมมากเทากับแปงชนิดอื่นที่มีคาการพองตัวสูงกวา<br />

(Yeh and Li, 1996)<br />

2.2.8 ไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น(Moisture<br />

sorption isotherm)<br />

การศึกษาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปงชนิดตางๆ<br />

โดยการดัด<br />

แปลงวิธีการของ Lang et al. (1981) พบวาการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 45 องศาเซลเซียส แปง<br />

ทั้ง<br />

5 ชนิด ไดแก แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาด แปงมันสํ าปะหลัง แปงทาว และแปงขาวเจา มีลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับ<br />

ความชื้นรูปรางคลายตัวเอสหรือซิกมอยด<br />

(sigmoid) โดยลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ของแปงชนิดเดียวกันที่อุณหภูมิ<br />

35 (ภาพที่<br />

24) และ 45 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

25) จะมีลักษณะ<br />

ใกลเคียงกัน เมื่อพิจารณาลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นที่แตละอุณหภูมิ<br />

จะพบวาเมื่อ<br />

ความชื้นเพิ่มขึ้น<br />

คาวอเตอรแอคทิวิตี้ของแปงแตละชนิดเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากวา<br />

แปงซึ่งเปนอาหารแหง<br />

มีปริมาณนํ้<br />

าอยูนอยและเปนนํ้<br />

าในระดับโมโนเลเยอร (monolayer water) เมื่อไดรับความชื้นเพิ่ม<br />

ขึ้นจะเปลี่ยนเปน<br />

multilayer adsorption และถูกดูดซับเขาไปในรูเล็กๆ และชองวาง capillary ทํ า<br />

ใหเกิดการละลายของตัวถูกละลายไดและนํ้<br />

าจะถูกจับอยูในแปงโดยทางกล ทํ าใหแปงมีคา<br />

วอเตอรแอคทิวิตี้เพิ่มขึ้น<br />

(นิธิยา, 2545)<br />

81


ก) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดระดับหองปฏิบัติการ<br />

ข) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

ค) แปงทาว ง) แปงมันสํ าปะหลัง<br />

จ) แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

24 ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปงแตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

35<br />

องศาเซลเซียส<br />

82


ก) แปงเทายายมอมที่ผลิตไดระดับหองปฏิบัติการ<br />

ข) แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด<br />

ค) แปงทาว ง) แปงมันสํ าปะหลัง<br />

จ) แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

25 ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นของแปงแตละชนิด<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

45<br />

83


องศาเซลเซียส<br />

เมื่อนํ<br />

าคาวอเตอรแอคทิวิตี้และปริมาณความชื้น<br />

(รอยละนํ้<br />

าหนักแหง) ของแปง<br />

แตละชนิดที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 45 องศาเซลเซียส มาทํ านายคา moisture sorption โดยใชแบบ<br />

จํ าลองของ GAB ในชวงคาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

0.23 - 0.87 จะไดคาพารามิเตอรตางๆ ของแบบ<br />

จํ าลอง GAB ดังตารางที่<br />

16<br />

ตารางที่<br />

16 คาพารามิเตอรตางๆ ที่ไดจากการนํ<br />

าแบบจํ าลองของ GAB มาทํ านายขอมูล<br />

Moisture sorption isotherm ของแปงแตละชนิด ที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 45<br />

องศาเซลเซียส<br />

ชนิดแปง<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

คาตางๆ ใน GAB model<br />

M0 C K<br />

R2 เทายายมอมที่ผลิตใน<br />

35 10.018 17.401 0.519 0.998<br />

ระดับหองปฏิบัติการ 45 9.273 22.525 0.546 0.998<br />

เทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย 35 11.594 13.028 0.482 0.998<br />

ตามทองตลาด 45 10.758 15.902 0.538 0.998<br />

ทาว 35 9.598 16.676 0.556 0.998<br />

45 9.181 21.980 0.592 0.998<br />

มันสํ าปะหลัง 35 9.269 29.024 0.562 0.998<br />

45 8.880 27.402 0.606 0.998<br />

ขาวเจา 35 9.276 17.443 0.526 0.998<br />

45 8.431 35.522 0.612 0.998<br />

หมายเหตุ GAB model : M = (M0*C*K*aw)/((1-K*aw)*(1+(C-1)*K*aw)) เมื่อ<br />

aw คือ คาวอเตอรแอคทิวิตี้<br />

M คือ ปริมาณความชื้น<br />

(รอยละของนํ้<br />

าหนักแหง)<br />

M0 คือ ปริมาณความชื้นในระดับชั้นโมโนเลเยอร<br />

K คือ คาแฟคเตอรของโมเลกุลของนํ้<br />

าที่ชั้นตางๆ<br />

ซึ่งเกี่ยวของกับนํ้<br />

าในสวนนํ้<br />

าอิสระ<br />

84


C คือ คาคงที่ของ<br />

Guggenheim<br />

เมื่อพิจารณาคาความชื้นในระดับโมโนเลเยอร<br />

(M0) ของแปงแตละชนิด จาก<br />

ตารางที่<br />

15 พบวา เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นคาความชื้นในระดับโมโนเลเยอรมีแนวโนมลดลง<br />

เนื่องจาก<br />

เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น<br />

โมเลกุลของนํ้<br />

าจะถูกกระตุนดวยระดับพลังงานของตัวมันเอง<br />

จึงทํ าใหโมเลกุล<br />

ของนํ ามีความคงตัวลดลงและเกิดการแตกตัวออกจากบริเวณที<br />

้ ่ยึดเกาะกันในอาหาร เปนสาเหตุให<br />

ปริมาณนํ าในระดับโมโนเลเยอรลดลง ้ ซึ่งจะสงผลใหที่คาวอเตอรแอคทิวิตี้เดียวกัน<br />

อุณหภูมิตํ่<br />

าจะ<br />

มีคาความชื้นสูงกวาที่อุณหภูมิสูงกวา<br />

(Hossain et al., 2001)<br />

ลักษณะไอโซเทอรมการดูดซับความชื้นรูปรางคลายตัวเอส<br />

ที่คา<br />

aw อยู ในชวง 0-<br />

0.25 หรือ 0.3 จะสอดคลองกับปริมาณนํ้<br />

าในระดับโมโนเลเยอร (M0) ซึ่งเปนนํ<br />

าที ้ ่เกาะอยูกับอาหาร<br />

อยางเหนียวแนน จุลินทรียและปฏิกิริยาทางเคมีจะไมสามารถนํ านํ้<br />

าสวนนี้ไปใชได(นิธิยา,<br />

2545)<br />

ดังนั้นเมื่อพิจารณาจากตารางที่<br />

15 ถาแปงมีการเปลี่ยนแปลงความชื้นในระหวางการเก็บรักษา<br />

แปงที่มีปริมาณนํ้<br />

าสวนโมโนเลเยอรอยูมากจะมีโอกาสเกิดการเสื่อมเสียหรือเกิดปฏิกิริยาทางเคมี<br />

นอยกวาแปงที่มีปริมาณนํ้<br />

าสวนโมโนเลเยอรอยูนอยกวา<br />

จากผลการทดลองถาเก็บรักษาแปงไวที่<br />

สภาวะเดียวกัน เมื่อเรียงลํ<br />

าดับโอกาสที่แปงจะเกิดการเสื่อมเสียหรือเกิดปฏิกิริยาทางเคมีเมื่อมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงความชื้นจากนอยไปมากจากการพิจารณาปริมาณนํ้<br />

าในระดับโมโนเลเยอร (M0) ได<br />

แก แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงทาว แปงขาวเจา และแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ<br />

85


3. การศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงแตละชนิดและแปงผสม<br />

จากการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงแตละชนิด ไดแก 1) แปงเทายายมอม 2)แปงทาว<br />

3) แปงมันสํ าปะหลัง และ 4) แปงขาวเจา และจากการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมที่มี<br />

สวนผสมของแปงทั้งสี่ชนิดดังที่ไดกลาวมาแลวนั้น<br />

สามารถแบงพิจารณาผลการศึกษาตามหัวขอ<br />

ดังตอไปนี้<br />

3.1 การศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงแตละชนิด<br />

จากการศึกษาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด ไดแก 1) แปงเทายายมอม<br />

2) แปงทาว 3) แปงมันสํ าปะหลัง และ 4) แปงขาวเจา ลักษณะปรากฏของเจลแปงแตละชนิด<br />

แสดงในภาพที่<br />

26 และการวัดคาแรงกดและแรงดึง ไดผลการทดลองดังแสดงในตารางที่<br />

17<br />

ภาพที่<br />

26 ลักษณะปรากฏของเจลแปงแตละชนิด<br />

เจลแปงเทายายมอม<br />

เจลแปงทาว<br />

เจลแปงมันสํ าปะหลัง<br />

เจลแปงขาวเจา<br />

จากภาพที่<br />

26 เมื่อพิจารณาลักษณะปรากฏของเจลแปงแตละชนิด<br />

พบวาแปง<br />

เทายายมอมซึ่งเปนแปงจากสวนหัว<br />

และแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง ซึ่งเปนแปงจากสวนราก<br />

จะให<br />

เจลแปงที่มีความใส<br />

โดยสีของเจลแปงมีความสอดคลองกับคาความขาวของแปง โดยแปงที่มีคา<br />

ความขาวมากที่สุด<br />

ไดแก แปงมันสํ าปะหลัง จะใหเจลที่มีลักษณะใสไมคลํ้<br />

า ในขณะที่แปงทาวซึ่งมี<br />

คาความขาวนอยกวาแปงมันสํ าปะหลัง และแปงเทายายมอม(ผลการทดลองขอ 2.2.1 ตารางที่<br />

86


10) เจลแปงทาวจึงมีความใสแตสีคลํ้<br />

ามากที่สุด<br />

เมื่อพิจารณาเจลแปงขาวเจาซึ่งเปนแปงจาก<br />

ธัญพืช พบวาจะใหเจลที่มีความทึบแสง<br />

ซึ่งเปนลักษณะที่แตกตางกับเจลแปงจากสวนหัวและราก<br />

ซึ่งจะใหเจลที่มีความใส<br />

ตารางที่<br />

17 คาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิดที่ไดจากการวัดคาแรงกดและแรงดึง<br />

คุณสมบัติทางกล<br />

การวัดคาแรงกด<br />

เทายายมอม<br />

ชนิดแปง<br />

ทาว มันสํ าปะหลัง ขาวเจา<br />

1) Young’s modulus(kPa) 3.94+0.54b 1.29+0.25c 1.48+0.12c 9.01+0.50a 2) Degree of elasticity(%) 67.36+1.56a 53.22+1.72b 47.80+2.44c 18.19+1.44d 3) Texture profile analysis<br />

- Hardness (N) 15.05+3.53a 7.02+0.35b 7.18+1.36b 9.52+0.20b - Cohesiveness(-) 0.32+0.02b 0.60+0.09a 0.58+0.08a 0.31+0.04b - Springiness index 7.94+0.15a 8.20+0.14a 7.59+0.27b 6.93+0.15c - Gumminess(N) 4.95+1.58a 4.21+0.85a 4.09+0.67a 2.96+0.49b การวัดคาแรงดึง<br />

1) การวัดคาแรงดึง<br />

- ความเคน ณ แรงสูงสุด(mPa) 165.16+31.99a 0.09+0.00c 0.074+0.01c 111.56+12.6b - คารอยละการยืดตัว ณ แรง<br />

สูงสุด<br />

66.64+10.47b 48.18+6.70c 80.01+0.04a 35.02+4.07d - คางานทั้งหมด(mJ)<br />

18.11+5.84a 8.82+1.24b 11.41+1.02b 7.43+0.80b 2) การวัดคาการแตกหัก<br />

- ความเคน ณ แรงสูงสุด(mPa) 224.24+32.52a 0.12+0.01b 0.08+0.01b 144.13+2.29a - คารอยละการยืดตัว ณ แรง<br />

สูงสุด<br />

65.03+3.37b 38.69+2.84c 80.03+0.01a 28.25+2.93d - คางานทั้งหมด(mJ)<br />

28.83+4.32a 9.09+0.78c 12.92+0.48b 7.20+0.34d หมายเหตุ a-d หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวนอนเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

87


จากตารางที่<br />

17 แสดงคาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิดที่วัดไดโดยวิธีการวัดคา<br />

แรงกดและแรงดึง พบวาเจลแปงเทายายมอมมีคาคุณสมบัติทางกลแตกตางกับเจลแปงทาว เจล<br />

แปงมันสํ าปะหลัง และเจลแปงขาวเจาอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(P


ซึ่งเปนเจลที่มีความยืดหยุนหรือสามารถคืนตัวสูสภาพเดิมไดมากจะตองใชแรงหรือเวลาในการ<br />

เคี้ยวกอนที่จะทํ<br />

าการกลืนมากกวาเจลแปงขาวเจาซึ่งเกิดการแตกเปราะไดงาย<br />

จากการวัดคาแรงดึงพบวา วิธีการวัดคาแรงดึงและคาการแตกหักใหผลไปในทํ านองเดียว<br />

กัน โดยเจลแปงเทายายมอมตองใชแรงในการดึงใหเจลแปงเกิดการฉีกขาดมากที่สุดเมื่อเปรียบ<br />

เทียบกับแปงอีกสามชนิด ทั้งนี้คารอยละการยืดตัวของเจลแปงเทายายมอมอยูระหวางเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลังและเจลแปงขาวเจา เมื่อพิจารณาจากการวัดคาแรงดึงนั้นแสดงใหเห็นวา<br />

เมื่อนํ<br />

าแปง<br />

เทายายมอมมาทํ าเปนเสนจะใหลักษณะของเจลแปงที่มีความเหนียวและมีความยืดหยุนมากกวา<br />

แปงอีกสามชนิด โดยแปงขาวเจาเมื่อทํ<br />

าเปนเสนจะใหเจลที่มีความเหนียวนอยที่สุด<br />

ดังนั้นจากการศึกษาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด<br />

แสดงใหเห็นไดวาเจลแปง<br />

แตละชนิดมีขอดีและขอเสียแตกตางกัน การนํ าแปงมาผสมกันอาจเปนการชวยลดขอเสียและเพิ่ม<br />

ขอดีใหกับเจลแปงได ซึ่งจะไดทํ<br />

าการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมในหัวขอตอไป<br />

3.2 การศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสม<br />

ในการศึกษาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมที่มีสวนผสมของแปง<br />

4 ชนิด ไดแก 1) แปง<br />

เทายายมอม 2) แปงทาว 3) แปงมันสํ าปะหลัง และ 4) แปงขาวเจา ไดทํ าการศึกษาอิทธิพลของ<br />

ชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

และศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางที่<br />

มีตอคาคุณสมบัติทางกล โดยแบงการพิจารณาผลการศึกษาได ดังนี้<br />

3.2.1 การศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกล<br />

จากการศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกลของแปงผสมทั้ง<br />

15 ทดลองที่ไดกลาวมาแลวในสวนของวิธีการ<br />

โดยการวัดคาดวยวิธีการดังนี้<br />

1) วัดคาการเปลี่ยน<br />

แปลงทางดานความหนืด 2) วัดคาแรงกด และ 3) วัดคาแรงดึง และนํ าขอมูลที่ไดจากการวัดคา<br />

คุณสมบัติทางกลของแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองมาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลอง<br />

แบบผสม (Mixture design) โดยใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ทั้งนี้กํ<br />

าหนดให Yi คือ คาคุณสมบัติทางกล, βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการ<br />

89


รีเกรสชัน และ Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอม(X1), แปงทาว(X2), แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปงขาวเจา(X4) โดย X1+ X2+ X3+ X4 = 1 สามารถอธิบายผลของชนิด<br />

แปงที่มีตอคาคุณสมบัติทางกลโดยแบงการพิจารณาตามวิธีการวัดคาได<br />

ดังนี้<br />

() การวัดคาการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

จากการวัดคาการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืดของแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

ดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA) ตามวิธีการของ Newport Scientific (1995) ผลการ<br />

ทดลองแสดงในตารางที่<br />

18 และเมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดมาหาความสัมพันธรีเกรสชันโดยใชแบบหุนเสน<br />

ตรง ไดสมการดังตารางที่<br />

19<br />

90


ตารางที่<br />

18 คุณสมบัติดานความขนหนืดของเจลแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอม<br />

แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

สิ่งทดลอง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา)<br />

Pasting<br />

temperature(°C)<br />

Peak viscosity<br />

(RVU)<br />

Trough viscosity<br />

(RVU)<br />

Final visosity<br />

(RVU)<br />

Breakdown<br />

(RVU)<br />

Setback from<br />

trough (RVU)<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 73.42+0.10 bcd 317.96+0.50 a 120.79+0.65 c 242.70+0.83 b 197.16+1.36 b 121.91+0.18 b<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 72.67+0.03 cde 181.25+1.06 j 43.58+0.58 h 70.87+0.53 k 137.66+0.47 f 27.29+0.05 j<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 69.40+0.07 g 310.67+0.00 b 115.42+0.76 c 172.70+3.35 f 195.25+1.76 b 57.29+1.59 g<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 74.55+0.49 a 231.25+1.30 h 154.83+0.70 a 332.79+3.47 a 76.41+0.58 k 177.96+2.77 a<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 73.50+0.07 bcd 279.37+1.70 d 73.00+0.11 g 125.33+0.94 i 206.37+1.59 a 52.33+0.82 gh<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 71.85+0.07 ef 321.00+0.82 a 118.62+1.59 c 195.75+7.18 e 202.37+2.41 a 77.12+8.77 d<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 73.85+0.56 b 248.08+2.24 f 138.79+1.82 b 248.29+3.71 b 109.29+0.41 i 109.50+1.88 c<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 71.45+0.07 f 237.87+1.12 g 67.66+0.94 g 112.12+1.12 j 170.21+2.0 c 44.45+0.17 i<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 73.80+0.63 bc 190.50+1.41 i 87.96+0.73 f 135.62+0.88 h 102.54+0.65 j 47.66+0.12 hi<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 71.85+0.00 ef 253.50+6.60 f 138.75+10.71 b 222.50+5.06 c 114.75+4.12 h 83.75+5.65 d<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 72.25+0.56 ef 289.92+1.41 c 83.42+1.41 f 142.12+0.88 h 206.50+0.00 a 58.70+0.53 fg<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 73.45+0.07 bcd 248.12+2.53 f 103.58+0.35 de 169.95+0.53 f 144.54+2.88 e 66.37+0.17 e<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 73.52+1.23 bcd 282.33+1.88 d 134.58+0.58 b 214.62+0.17 d 147.75+2.47 e 80.04+0.76 d<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 72.65+0.07 de 227.41+1.18 h 98.70+0.17 e 164.91+0.94 g 128.71+1.35 g 66.21+1.11 e<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 73.45+0.00 bcd 265.580.82 e 107.37+0.41 d 172.12+0.88 f 158.20+1.23 d 64.75+0.46 ef<br />

หมายเหตุ a-h หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ<br />

าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

86


ตารางที่<br />

19 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาคุณ<br />

สมบัติทางดานความหนืด<br />

คุณสมบัติทางดานความหนืด<br />

Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

(Y i) β 1 β 2 β 3 β 4<br />

1. Pasting temperature (°C) 74.036 73.754 71.773 75.112 0.999<br />

2. Peak viscosity (RVU) 327.854 187.961 307.847 212.569 0.998<br />

3. Trough viscosity (RVU) 120.276 33.337 114.266 155.456 0.998<br />

4. Final viscosity (RVU) 222.133 44.262 165.530 294.264 0.992<br />

5. Breakdown(RVU) 207.575 154.624 193.583 57.109 0.993<br />

6. Setback from trough (RVU) 101.856 10.923 51.269 138.806 0.961<br />

หมายเหตุ สมการรีเกรสชัน: Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

กํ าหนดให Y i คือ คาคุณสมบัติทางดานความหนืด<br />

β i คือ คาสัมประสิทธิ<br />

์ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลจากการวัดการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

พรอมทั้งสมการ<br />

รีเกรสชันที่ได(ตารางที่<br />

19) ไปสรางกราฟ contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคง<br />

ที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาคุณสมบัติ<br />

ทางดานความหนืดในดานตางๆ โดยพิจารณาคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการ<br />

รีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour plot แบงการพิจารณาตามคุณสมบัติทางดาน<br />

ความหนืดได ดังนี้<br />

R 2<br />

92


(1) อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

(Pasting temperature)<br />

คือ อุณหภูมิตํ่<br />

าสุดที่ตองใชในการทํ<br />

าใหแปงสุก(Newport Scientific,1995) เมื่อพิจารณาผลของ<br />

แปงแตละชนิดที่มีตอคาอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดจากคาสัมประสิทธ(βi)<br />

ของ<br />

ตัวแปรแตละตัว (Xi) ของสมการรีเกรสชัน จากตารางที่<br />

19 พบวาแปงขาวเจา(X4) มีคาสัมประสิทธิ์<br />

สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) และแปงมันสํ าปะหลัง(X3) ตามลํ าดับ<br />

ทั้งนี้อุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดจะขึ้นอยูกับการพองตัวและขนาดของเม็ดแปง<br />

ซึ่งแปงที่มีกํ<br />

าลังการพองตัวสูงจะมีอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดตํ่<br />

า และเมื่อนํ<br />

าแปง<br />

มาผสมกันเม็ดแปงที่มีขนาดใหญจะเริ่มเกิดการเจลติไนซกอนเม็ดแปงขนาดเล็ก(Schoch<br />

and<br />

Mayward, 1968; Pomeranze, 1991 ) ทั้งนี้การที่คาสัมประสิทธิ์ของแปงขาวเจามีคาสูงกวาแปง<br />

ชนิดอื่นเนื่องจากแปงขาวเจามีกํ<br />

าลังการพองตัวตํ่<br />

า(ผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพที่<br />

20) การจะทํ า<br />

ใหเม็ดแปงเริ่มเกิดเจลาติไนซจึงตองใชอุณหภูมิที่สูงกวาแปงชนิดอื่นที่มีกํ<br />

าลังการพองตัวสูงกวา<br />

(Pomeranze, 1991) และเมื่อนํ<br />

าขอมูลและสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยให<br />

ตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 ดังภาพที่<br />

27 ในสิ่งทดลอง<br />

ที่ไมมีแปงขาวเจาผสมอยู<br />

พบวา แปงเทายายมอมมีอิทธิพลตออุณหภูมิที่การเกิดการเปลี่ยนแปลง<br />

ความหนืดของสิ่งทดลองมากที่สุด<br />

ทั้งนี้เนื่องจากแปงเทายายมอมมีขนาดของเม็ดแปงใหญที่สุดจึง<br />

เกิดการพองตัวกอนแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง คาอุณหภูมิที่เริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงความ<br />

หนืดจึงขึ้นอยู<br />

กับแปงเทายายมอม ในขณะที่การผสมแปงขาวเจาที่ระดับรอยละ<br />

33 และ 50 กราฟ<br />

ไมแสดงคาที่ไดจากการทํ<br />

านายดวยสมการรีเกรสชันใหเห็นเนื่องจากวาอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยน<br />

แปลงคาความหนืดของแปงผสมมีคาใกลเคียงกันและขึ้นอยูกับอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคา<br />

ความหนืดของแปงขาวเจา ซึ่งมีกํ<br />

าลังการพองตัวตํ่<br />

าที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับแปงอีกสามชนิด<br />

93


ภาพที่<br />

27 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

ที่ไมมีปริมาณแปงขาวเจา(0%)<br />

ตอคาอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืด<br />

(Pasting temperature) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

94


(2) คาความหนืดสูงสุด(Peak viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาคาความหนืดสูงสุด(Peak<br />

viscosity) ซึ่งเปนคาที่มีความสัมพันธกับ<br />

คุณภาพของผลิตภัณฑสุดทาย และเปนคาที่บอกถึงความสามารถของแปงในการจับตัวกับนํ้<br />

าและ<br />

แรงที่ตองใชในการกวนหรือผสมในอาหาร(Newport<br />

Scientific,1995) คาความหนืดสูงสุดจะเกิด<br />

ขึ้นที่จุดสมดุลระหวางการพองตัวและการไหลของแอมิโลส<br />

(Beta and Corke, 2001) จากตารางที่<br />

17 เมื่อผสมแปงเทายายมอม(สิ่งทดลองที่<br />

1) ซึ่งมีคาความหนืดสูงสุดสูงที่สุด<br />

(317.96 RVU) กับ<br />

แปงชนิดอื่นพบวา<br />

แปงผสมมีคาความหนืดสูงสุดลดลง ทั้งนี้การที่คาความหนืดสูงสุดของแปงผสม<br />

มีคาลดลงเนื่องจากแปงชนิดอื่นมีขนาดแอมิโลสที่เล็กกวาแปงเทายายมอม<br />

(ผลการทดลองขอ<br />

2.1.2 ตารางที่<br />

9) จึงเกิดการไหลของแอมิโลสที่มีขนาดเล็กกวาออกมาเมื่อเม็ดแปงพองตัวมีผลทํ<br />

า<br />

ใหทํ าใหคาความหนืดสูงสุดลดลง (Whistler and BeMiller, 1999) จึงเปนสาเหตุใหแปง<br />

เทายายมอมที่มีสวนผสมของแปงชนิดอื่นมีคาความหนืดสูงสุดลดลง<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความหนืดสูงสุด<br />

จากคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

19) พบวาแปงเทายายมอม<br />

(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมันสํ าปะหลัง(X3) แปงขาวเจา(X4) และแปงทาว<br />

(X2) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

แปงที่ใหคาความหนืดสูงสุดเรียงจากมากไปนอย<br />

ไดแก แปง<br />

เทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง แปงขาวเจา และแปงทาว ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

28ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาความหนืดสูงสุดสูงกวาแปงมันสํ าปะหลังและแปงทาว ตาม<br />

ลํ าดับ และภาพที่<br />

28ข และ ภาพที่<br />

28ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะ<br />

ใหคาความหนืดสูงสุดเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากไขมันในเม็ดแปงขาวเจาสามารถเกิดสารประกอบเชิงซอน<br />

กับแอมิโลส เปน amylose-lipid complex เกิดเปนโครงสรางอยางออนที่ไปเสริมความแข็งแรงให<br />

แกเม็ดแปง แอมิโลสจึงหลุดออกจากเม็ดแปงไดยาก (Kim and Seib, 1993) แปงผสมที่มีสวนผสม<br />

ของแปงขาวเจาเมื่อพองตัวจะใหคาความหนืดสูงสุดไดสูงขึ้น<br />

เพราะแอมิโลสไหลออกไดยากขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

28ข และภาพที่<br />

28ค พบวาการเพิ่มปริมาณแปงขาวเจาจะมีผลในการเพิ่ม<br />

คาความหนืดสูงสุดของแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงทาว<br />

มากกวาแปงผสมที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม และแปงมันสํ าปะหลัง เนื่องจากแอมิโลสของแปงเทายายมอมและแปงมันสํ<br />

าปะหลัง<br />

ซึ่งมีขนาดใหญกวาแปงทาวเกิดการไหลออกจากเม็ดแปงไดยากกวาแปงทาว<br />

คาความหนืดของ<br />

แปงเทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลังจึงสูง ดังนั้นการผสมแปงขาวเจาลงในแปงเทายายมอม<br />

95


และแปงมันสํ าปะหลังจึงไมคอยมีผลตอคาความหนืดสูงสุดมากนัก ในขณะที่แปงทาวซึ่งมีคา<br />

ความหนืดสูงสุดตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลัง การผสมแปงขาวเจากับแปงทาว<br />

จึงชวยทํ าใหคาความหนืดสูงสุดของแปงผสมระหวางแปงทาวและแปงขาวเจามีคาสูงขึ้น<br />

เนื่องจาก<br />

แปงขาวเจาเกิดการพองตัวที่ชาและแอมิโลสไหลออกจากเม็ดแปงไดยาก<br />

จึงใหคาความหนืดสูงสุด<br />

เพิ่มขึ้น<br />

(ขนาดแอมิโลสของแปงแตละชนิดแสดงในผลการทดลองขอ 2.1.2 ตารางที่<br />

9)<br />

96


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

28 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความหนืดสูง<br />

สุด( Peak viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

97


(3) คาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity)<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity) ซึ่งจะบอกถึงคาความ<br />

หนืดตํ่<br />

าสุดของแปงที่เกิดจากการใหความรอน<br />

และแรงกวนที่ใชในการผสม(Newport<br />

Scientific,1995) จากตารางที่<br />

18 พบวาที่อุณหภูมิและแรงกวนที่เทากัน<br />

เมื่อผสมแปง<br />

เทายายมอมกับแปงทาว และ/หรือแปงมันสํ าปะหลัง มีผลทํ าใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดลดลง ในทาง<br />

ตรงกันขามเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจา<br />

มีผลทํ าใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้<br />

การที่คาความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงผสมมีคาลดลงเนื่องจากขนาดแอมิโลสของแปงทาวและแปงมัน<br />

สํ าปะหลังมีขนาดเล็กกวาแปงเทายายมอม ปริมาณการไหลออกของแอมิโลสจากเม็ดแปงผสมจึง<br />

มีปริมาณมากกวาสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมเพียงชนิดเดียว<br />

จึงมีผลทํ าใหแปง<br />

ผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดลดลงกวาแปงเทายายมอม เพราะการไหลของแอมิโลสที่ออกมาจากเม็ด<br />

แปงมีผลทํ าใหคาความหนืดลดลง(Whistler and BeMiller, 1999) ในขณะที่เมื่อผสมแปง<br />

เทายายมอมกับแปงขาวเจาพบวาแปงผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเม็ดแปงขาวเจา<br />

จะพองตัวไดไมเต็มที่และแอมิโลสไหลออกจากเม็ดแปงไดยากเนื่องจากเกิดสารประกอบเชิงซอน<br />

ของไขมันกับแอมิโลส ทํ าใหสามารถทนตอแรงกวนไดและเม็ดแปงยังคงอุมนํ้<br />

าไดอยูบาง<br />

(Chen et<br />

al., 1998) คาความหนืดจึงลดลงไมมากเทาแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ดัง<br />

นั้นคาความหนืดตํ่<br />

าสุดของสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาจึงมีคาสูงขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความหนืดตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity)<br />

จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

19) พบวาแปงขาวเจา<br />

(X4) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปง<br />

ทาว (X2) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

ที่อุณหภูมิและแรงกวนที่เทากัน<br />

แปงที่จะใหคาความหนืด<br />

ตํ าสุดสูงที ่ ่สุด คือ แปงขาวเจา รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว<br />

ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

29ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดสูง<br />

กวาแปงมันสํ าปะหลังและแปงเทา ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

29ข และ ภาพที่<br />

29ค เมื่อผสมแปงขาว<br />

เจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะใหคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้เมื่อพิจารณาคาความ<br />

หนืดตํ าสุดกับความงายในการไหลของแอมิโลสออกจากเม็ดแปงพบวามีความสอดคลองกัน ่ เนื่อง<br />

จากการไหลของแอมิโลสที่ออกมาจากเม็ดแปงมีผลทํ<br />

าใหคาความหนืดลดลง(Whistler and<br />

BeMiller, 1999) เพราะฉะนั้นในแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงที่มีการไหลออกของแอมิโลสยาก<br />

เชน แปงขาวเจา จึงทํ าใหแปงผสมนั้นมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดเพิ่มขึ้น<br />

98


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

29 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความหนืด<br />

ตํ่<br />

าสุด(Trough viscosity, RVU)เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

99


(Breakdown)<br />

(4) คาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

100<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

า<br />

สุด(Breakdown) ซึ่งจะบอกถึงความสามารถในการคงทนตออุณหภูมิ<br />

และการกวนที่เปนปจจัยที่<br />

สํ าคัญในหลายกระบวนการผลิต ถาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

า<br />

สุดมีคามากแสดงวาแปงมีความคงทนตออุณหภูมิและการกวนตํ่<br />

า (Newport Scientific,1995)<br />

จากตารางที่<br />

18 เมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงมันสํ<br />

าปะหลังและ/หรือแปงทาว พบวาแปงผสม<br />

มีความคงทนตออุณหภูมิและการกวนตํ่<br />

าลง ทั้งนี้เนื่องจากแปงทาวและแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีขนาด<br />

แอมิโลสเล็กกวาแปงเทายายมอม การไหลออกของแอมิโลสจากแปงผสมทํ าใหคาความหนืดสูงสุด<br />

ของแปงผสมตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอม และการที่แปงผสมมีแอมิโลสที่สามารถหลุดออกมาไดมาก<br />

กวาแปงเทายายมอม จึงทํ าใหแปงผสมมีคาความหนืดตํ่<br />

าสุดตํ่<br />

ากวาแปงเทายายมอม(Whistler<br />

and BeMiller, 1999) แตเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

28ก และ 29ก พบวาการลดลงของคาความ<br />

หนืดสูงสุดของแปงผสมมีไมมากเทาการลดลงของคาความหนืดตํ่<br />

าสุด ซึ่งจะสงผลทํ<br />

าใหความแตก<br />

ตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุดของแปงเทายายมอมผสมแปงทาวและ/หรือ<br />

แปงมันสํ าปะหลังมีคามากกวาแปงเทายายมอม ความคงทนตออุณหภูมิและการกวนจึงตํ่<br />

าลง ใน<br />

ทางตรงกันขามเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจาพบวาแปงผสมมีความคงทนตออุณหภูมิ<br />

และการกวนสูงขึ้น<br />

เนื่องจากเม็ดแปงขาวเจาจะพองตัวไดไมเต็มที่และแอมิโลสไหลออกจากเม็ด<br />

แปงไดยากเนื่องจากเกิดสารประกอบเชิงซอนของไขมันกับแอมิโลส<br />

ทํ าใหสามารถทนตอแรงกวน<br />

ไดและเม็ดแปงยังคงอุมนํ้<br />

าไดอยูบาง<br />

(Chen et al., 1998) คาความหนืดตํ่<br />

าสุดจึงลดลงไมมากเทา<br />

แปงเทายายมอม ดังนั้นความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด<br />

และความหนืดตํ่<br />

าสุดจึงมีคา<br />

นอยลง ความคงทนตออุณหภูมิและการกวนจึงสูงขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความแตกตางระหวางคาความหนืด<br />

สูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด(Breakdown) จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวใน<br />

สมการรีเกรสชัน พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง(X3) แปงทาว (X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

แปงที่ใหคาความ<br />

แตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุดและความหนืดตํ่<br />

าสุดนอยที่สุด<br />

หรือแปงที่มีความสามารถใน<br />

การคงทนตออุณหภูมิและการกวนมากที่สุด<br />

คือ แปงเทายายมอม รองลงมาไดแก แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง แปงทาว และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

30ก จะพบวาแปง


101<br />

เทายายมอมใหคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด สูงกวาแปงมัน<br />

สํ าปะหลังและแปงทาว ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

30ข และ ภาพที่<br />

30ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปใน<br />

สิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะใหคาความแตกตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด<br />

เพิ่มขึ้น<br />

หรือแปงผสมมีความสามารถในการคงทนตออุณหภูมิและการกวนมากขึ้น<br />

เนื่องจากแปง<br />

ขาวเจามีกํ าลังการพองตัวตํ่<br />

า(ผลการทดลองขอ 2.2.4 ภาพที่<br />

20) ทํ าใหโครงสรางผลึกภายในเม็ด<br />

แปงถูกทํ าลายนอย (Svensson and Eliasson ,1995) จึงมีความคงทนตอแรงกวนมากกวาแปง<br />

ชนิดอื่น<br />

การเติมแปงขาวเจาผสมกับแปงชนิดอื่น<br />

จึงมีผลทํ าใหแปงผสมที่ไดมีความคงทนตอ<br />

อุณหภูมิและการกวนเพิ่มขึ้น


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

30 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความแตก<br />

ตางระหวางคาความหนืดสูงสุด และความหนืดตํ่<br />

าสุด (Breakdown, RVU) เมื่อ<br />

วิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

102


(5) คาความหนืดสุดทาย(Final viscosity)<br />

103<br />

เมื่อพิจารณาถึงคาความหนืดสุดทาย(Final<br />

viscosity) ซึ่งเปนพารามิเตอรในการ<br />

บอกถึงคุณภาพของแปง และเปนตัวบงชี้ถึงลักษณะของแปงหรือผลิตภัณฑวามีลักษณะเปนแปง<br />

เปยกหรือเจลเมื่อผานการใหความรอน<br />

และทํ าใหเย็น (Newport Scientific,1995) จากตารางที่<br />

18 พบวาแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

มีคาความหนืดสุดทายมากกวาคาความหนืดตํ่<br />

าสุด นั่นแสดง<br />

วาแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

เมื่อผานการใหความรอน<br />

และทํ าใหเย็นจะมีลักษณะเปนเจล (Beta<br />

and Corke, 2001) ซึ่งเหมาะสํ<br />

าหรับการนํ าไปใชกับขนมไทยที่ตองการลักษณะของเจล<br />

เชน ขนม<br />

ชั้น<br />

ขนมเปยกปูน เปนตน ทั้งนี้คาความหนืดสุดทายมีความสอดคลองกับปริมาณแอมิโลส<br />

โดยถา<br />

ปริมาณแอมิโลสมีคามาก คาความหนืดสุดทายก็จะมีคามากดวย เนื่องจากเจลแปงเมื่อผานการ<br />

ใหความรอน และทํ าใหเย็นจะเกิดการจัดเรียงตัวกันใหมของแอมิโลสที่อยูใกลกันดวยพันธะ<br />

ไฮโดรเจน มีผลทํ าใหนํ้<br />

าแปงมีความหนืดมากขึ้น<br />

และจะเกิดไดเร็วเมื่อแอมิโลสมีโมเลกุลสูง<br />

(นิติ,<br />

2543; Whistler and BeMiller, 1999) เมื่อนํ<br />

าแปงเทายายมอมผสมแปงทาวและ/หรือแปงมัน<br />

สํ าปะหลังพบวาแปงผสมมีคาความหนืดสุดทายลดลง เนื่องจากปริมาณแอมิโลสในแปงผสมมีคา<br />

ลดลง ในทางตรงกันขามเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจาพบวาแปงผสมมีคาความหนืด<br />

สุดทายเพิ่มขึ้น<br />

ถึงแมวาแปงขาวเจาจะมีปริมาณแอมิโลสตํ่<br />

าเมื่อเปรียบเทียบกับแปงเทายายมอม<br />

แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง แตแปงขาวเจามีไขมันปริมาณสูง (ผลการทดลองขอ 2.1.1 ตาราง<br />

ที่<br />

8 ) เมื่อเกิดการจัดเรียงตัวใหมของแอมิโลส<br />

ไขมันจะสามารถจับตัวกับแอมิโลสเปน amyloselipid<br />

complex ซึ่งจะไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจลแปงขาวเจาที่ได(Kim<br />

and Seib, 1993) จึงทํ า<br />

ใหการผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจามีคาความหนืดสุดทายสูงขึ้นกวาคาความหนืดสุดทาย<br />

ของแปงเทายายมอม<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความหนืดสุดทาย(Final<br />

viscosity)<br />

จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

19) พบวาแปงขาวเจา<br />

(X4) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปง<br />

ทาว (X2) ตามลํ าดับ และเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

31ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาความหนืด<br />

สุดทายสูงกวาแปงมันสํ าปะหลังและแปงทาว ตามลํ าดับ ซึ่งสอดคลองกับปริมาณแอมิโลสโดย<br />

แปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะมีคาความหนืดสูงสุดสูง(กลาณรงค,<br />

2542) และภาพที่<br />

31ข และ<br />

ภาพที่<br />

31ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะใหคาความหนืดสุดทายเพิ่ม


104<br />

ขึ้น<br />

เนื่องจากแปงขาวเจามีไขมันปริมาณสูง<br />

(ผลการทดลองขอ 2.1.1 ตารางที่<br />

8) เมื่อเกิดการจัด<br />

เรียงตัวใหมของแอมิโลส ไขมันจะสามารถจับตัวกับแอมิโลสเปน amylose-lipid complex ซึ่งจะ<br />

ไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจลแปง(Kim and Seib, 1993) จึงทํ าใหการผสมแปงขาวเจากับแปง<br />

ชนิดอื่นๆ<br />

มีคาความหนืดสุดทายสูงขึ้น


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

31 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความหนืด<br />

สุดทาย (Final viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer(RVA)<br />

105


(6) คาการคืนตัว (Setback viscosity)<br />

106<br />

เมื่อพิจารณาคาการคืนตัว<br />

(Setback viscosity) สามารถวิเคราะหไดจากผลตาง<br />

ของความหนืดสุดทายกับความหนืดตํ่<br />

าสุด(Setback from trough) ซึ่งคาการคืนตัวนี้จะมีความ<br />

สัมพันธกับลักษณะเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ<br />

โดยถามีคาการคืนตัวมากหรือมีคาเปนบวกจะมี<br />

ลักษณะการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี และมีแนวโนมที่จะใหเจลแปงที่แข็งมาก<br />

(Newport<br />

Scientific,1995) จากตารางที่<br />

18 พบวาสิ่งทดลองทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองมีคาผลตางของความหนืด<br />

สุดทายกับความหนืดตํ่<br />

าสุดเปนบวก ซึ่งแสดงถึงแนวโนมในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี<br />

และเมื่อผสม<br />

แปงเทายายมอมกับแปงชนิดอื่นพบวาคาการคืนตัวมีคาลดลง<br />

ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณแอมิโลสของ<br />

แปงผสมมีคานอยกวาในแปงเทายายมอมจึงทํ าใหการจัดเรียงตัวของแอมิโลสในแปงผสมเกิดได<br />

นอยกวา แปงผสมจึงมีคาการคืนตัวกลับนอยกวา ( Whistler and BeMiller, 1999)<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาการคืนตัว<br />

(Setback viscosity) จาก<br />

คาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

18) พบวา คาสัมประสิทธิ์<br />

ของแปงแตละชนิดมีคาเปนบวก โดยแปงขาวเจา(X4) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปง<br />

เทายายมอม(X1) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปงทาว (X2) ตามลํ าดับ ทั้งนี้การที่คาการคืนตัวมีคา<br />

มากหรือมีคาเปนบวกจะแสดงถึงเจลแปงมีลักษณะการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี และมีแนวโนมที่จะ<br />

ใหเจลแปงที่แข็งมาก(Beta<br />

and Corke, 2001) ดังนั้นเจลแปงที่จะใหคาความแข็งเรียงจากมากไป<br />

นอยไดแก เจลแปงขาวเจา เจลแปงเทายายมอม เจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ตาม<br />

ลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

32ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาการคืนตัวสูงกวาแปงมัน<br />

สํ าปะหลังและแปงทาว ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

32ข และ ภาพที่<br />

32ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปใน<br />

สิ่งทดลองพบวา<br />

แปงผสมจะใหคาการคืนตัวของเจลแปงเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากแปงขาวเจามีไขมัน<br />

ปริมาณสูง (ผลการทดลองขอ 2.1.1 ตารางที่<br />

8 ) เมื่อเกิดการจัดเรียงตัวใหมของ<br />

แอมิโลส ไขมัน<br />

จะสามารถจับตัวกับแอมิโลสเปน amylose-lipid complex ซึ่งจะไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจล<br />

แปง (Kim and Seib, 1993) จึงทํ าใหการผสมแปงขาวเจากับแปงชนิดอื่นๆ<br />

มีคาการคืนตัวสูงขึ้น


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

32 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาการคืนตัว<br />

(Setback viscosity, RVU) เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer (RVA)<br />

107


(ข) การวัดคาแรงกด(Compressive test)<br />

ในการวัดคาแรงกดเจลแปงผสมที่มีเกิดจากการผสมของแปง<br />

4 ชนิด ไดแก 1)<br />

แปงเทายายมอม 2) แปงทาว 3) แปงมันสํ าปะหลัง และ 4) แปงขาวเจา พบวาลักษณะปรากฏของ<br />

เจลแปงทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองนั้นมีลักษณะที่เหมือนและแตกตางกันแสดงดังภาพที่<br />

33<br />

1:0:0:0 0:1:0:0 0:0:1:0 0:0:0:1 0.5:0.5:0:0<br />

0.5:0:0.5:0 0.5:0:0:0.5 0:0.5:0.5:0 0:0.5:0:0.5 0:0:0.5:0.5<br />

0.3:0.3:0.3:0 0.3:0.3:0:0.3 0.3:0:0.3:0.3 0:0.3:0.3:0.3 0.25:0.25:0.25:0.25<br />

แปงเทายายมอม : แปงทาว : แปงมันสํ าปะหลัง : แปงขาวเจา<br />

ภาพที่<br />

33 ลักษณะปรากฏของเจลแปงทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองที่ไดจากการผสม<br />

แปงเทายายมอม แปง<br />

ทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนตางๆ กัน<br />

เมื่อพิจารณาลักษณะปรากฏของเจลแปงผสมจากภาพที่<br />

33 จะพบวาเจลแปง<br />

เทายายมอม เจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง จะใหเจลที่มีลักษณะใส<br />

แตเมื่อทํ<br />

าการผสม<br />

กับแปงขาวเจา พบวาเจลแปงผสมที่ไดจะใหเจลแปงที่มีลักษณะทึบแสงมากขึ้น<br />

ซึ่งจะแตกตางกัน<br />

ตามปริมาณของแปงขาวเจาที่เติม<br />

โดยสิ่งทดลองที่มีปริมาณแปงขาวเจามากจะใหเจลที่มีลักษณะ<br />

ทึบแสงมากกวาสิ่งทดลองที่มีปริมาณแปงขาวเจานอยกวา<br />

108


ในการศึกษาผลของชนิดแปงที่มีตอคาแรงกดของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

นั้น<br />

ไดทํ าการวัดคาแรงกดดังนี้<br />

1) คาความเคนและความเครียด 2) คาระดับความสามารถในการ<br />

คืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of elasticity) และ 3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture<br />

Profile Analysis) แบงพิจารณาผลการศึกษาตามคาแรงกดได ดังนี้<br />

(1) คาความเคนและความเครียด<br />

109<br />

จากการนํ าขอมูลที่ไดจากการวัดคาแรงกดของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่ง<br />

ทดลอง มาสรางกราฟความสัมพันธระหวางความเครียด (Hencky’s strain, εH) และความเคน<br />

(stress, σ) และใชแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของ Swyngedau et al. (1991) : σ = C1ε C2 +<br />

C3ε C4<br />

อธิบายความสัมพันธของคาความเครียดและความเคนโดยการสรางเสนกราฟจากแบบ<br />

จํ าลองทางคณิตศาสตรเปรียบเทียบกับขอมูลที่ไดจากการทดลอง<br />

ดังแสดงในภาพที่<br />

34<br />

(คาพารามิเตอรของแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของแปงแตละสิ่งทดลองแสดงดังภาคผนวก<br />

ข)


สิ่งทดลองที่<br />

1 (1 : 0 : 0 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

2 (0 : 1 : 0 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

3 (0 : 0 : 1 : 0)<br />

A<br />

สิ่งทดลองที่<br />

4 (0 : 0 : 0 : 1) สิ่งทดลองที่<br />

5 (0.5 : 0.5 : 0 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

6 (0.5 : 0 : 0.5 : 0)<br />

สิ่งทดลองที่<br />

7 (0.5 : 0 : 0 : 0.5) สิ่งทดลองที่<br />

8 (0 : 0.5 : 0.5 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

9 (0 : 0.5 : 0 : 0.5)<br />

110<br />

ภาพที่<br />

34 ความสัมพันธระหวางคาความเครียดและความเคน จากการวัดคาแรงกดของเจลแปงแตละ<br />

สิ่งทดลอง<br />

(Ο) ขอมูลจากการทดลอง และ ( − ) เสนกราฟจากการใชแบบจํ าลองทํ านาย<br />

(ตัวเลขในวงเล็บคืออัตราสวนของ แปงเทายายมอม : แปงทาว : แปงมันสํ าปะหลัง : แปง<br />

ขาวเจา ที่มีอยูในแตละสิ่งทดลอง)<br />

หมายเหตุ A หมายถึง จุดที่เสนกราฟเบี่ยงเบนหลังจุดที่จะใหคาความเคนสูงสุด<br />

แสดงถึงลักษณะเนื้อ<br />

สัมผัสของเจลแปงเกิดการแตกเปราะเมื่อมีแรงมากระทํ<br />


สิ่งทดลองที่<br />

10 (0 : 0 : 0.5 : 0.5) สิ่งทดลองที่<br />

11 (0.33 : 0.33 : 0.33 : 0) สิ่งทดลองที่<br />

12 (0.33 : 0.33 : 0 : 0.33)<br />

สิ่งทดลองที่<br />

13 (0.33 : 0 : 0.33 : 0.33) สิ่งทดลองที่<br />

14 (0 : 0.33 : 0.33 : 0.33) สิ่งทดลองที่<br />

15 (0.25 : 0.25 : 0.25 : 0.25)<br />

ภาพที่<br />

34 (ตอ)<br />

111<br />

เมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

34 พบวาสิ่งทดลองที่<br />

4 (เจลแปงขาวเจา) มี<br />

ลักษณะของกราฟที่แตกตางกับเจลแปงในสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

นั่นคือ<br />

เกิดการเบี่ยงเบนของเสนกราฟ<br />

ตกลงหลังจุดที่จะใหคาความเคนสูงสุด(จุด<br />

A) ซึ่งลักษณะเชนนี้จะแสดงถึงลักษณะเนื้อสัมผัสของ<br />

เจลแปงเกิดการแตกเปราะเมื่อมีแรงมากระทํ<br />

า ในขณะที่เจลแปงในสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

มีลักษณะของ<br />

กราฟที่คอยๆ<br />

เพิ่มขึ้นตามเสนกราฟที่จะใหคาความเคนสูงสุด<br />

ซึ่งจะบงบอกถึงลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

ของตัวอยางหรือผลิตภัณฑที่มีความเหนียวนุม<br />

ไมแตกเปราะงาย(Bourne, 1982) ลักษณะเจลที่มี<br />

ความยืดหยุนหรือเหนียวนุมจะเกี่ยวของกับขนาดของสายแอมิโลส<br />

โดยถาแปงมีขนาดแอมิโลสที่<br />

สั้นจะใหเจลที่มีลักษณะแตกเปราะงาย<br />

ในขณะที่แปงที่มีขนาดแอมิโลสยาวกวาจะใหเจลที่มีความ<br />

ยืดหยุนไดมากกวา<br />

(Mua and Jackson, 1998)


112<br />

จากภาพที่<br />

34 แสดงใหเห็นถึงการใชแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรเดียว<br />

กันในการอธิบายพฤติกรรมที่เกิดจากแรงกดของเจลแปงแตละชนิดโดยรวม<br />

เมื่อพิจารณากราฟ<br />

ความสัมพันธระหวางคาความเครียดกับคาความเคนของเจลแปงแตละชนิด ที่ชวงความเครียด<br />

0 -<br />

0.2 มีลักษณะของความสัมพันธเชิงเสนตรง ซึ่งสามารถหาคา<br />

Young’ s modulus ไดจากความชัน<br />

ของความสัมพันธเชิงเสนตรงนี้<br />

โดยคา Young’ s modulus นี้สามารถบอกถึงความแข็ง<br />

(stiffness) ของเจลแปงได (Bourne, 1982)<br />

ตารางที่<br />

20 แสดงคา Young’s modulus ที่คํ<br />

านวณจากความชันของเสน<br />

กราฟความสัมพันธระหวางความเครียดและความเคน ที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2 เมื่อพิจารณา<br />

พบวาเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงทาวและ/หรือแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีผลทํ าใหคา Young’s<br />

modulus ของแปงผสมลดลง ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณแอมิโลสของแปงผสมมีคานอยกวาในแปง<br />

เทายายมอมจึงทํ าใหการจัดเรียงตัวของแอมิโลสในแปงผสมเกิดไดนอยกวา เจลแปงผสมจึงมีคา<br />

การคืนตัวกลับนอยกวาเจลแปงเทายายมอม ( Whistler and BeMiller, 1999) ซึ่งมีผลทํ<br />

าใหความ<br />

แข็งของเจลแปงผสมมีคาลดลง ในขณะที่การผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจามีผลทํ<br />

าใหคา<br />

Young’s modulus ของแปงผสมมีคาเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบ<br />

วา แปงผสมจะใหคาการคืนตัวของเจลแปงเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากแปงขาวเจามีไขมันปริมาณสูง<br />

เมื่อ<br />

เกิดการจัดเรียงตัวใหมของแอมิโลส ไขมันจะสามารถจับตัวกับแอมิโลสเปน amylose-lipid<br />

complex ซึ่งจะไปเสริมความแข็งแรงใหแกเจลแปง<br />

(Kim and Seib, 1993) จึงทํ าใหการผสมแปง<br />

เทายายมอมกับแปงขาวเจา มีคาการคืนตัวสูงขึ้น<br />

เจลแปงผสมจึงมีความแข็งมากขึ้น<br />

(พิจารณาผล<br />

คาการคืนตัวของแปงผสมแตละสิ่งทดลองไดจากตารางที่<br />

18)


ตารางที่<br />

20 คา Young’s modulus และคาความเคน ณ ตํ าแหนงความเครียดที<br />

สิ่งทดลอง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา)<br />

่ตางกัน จากการวัดคาแรงกดของเจลแปงผสมที่ไดจากการผสมแปง<br />

Young’s modulus<br />

คาความเคน (kPa) ณ ตํ าแหนงความเครียดที่ตางกัน<br />

(kPa) ความเครียด 0.2 ความเครียด 0.4 ความเครียด 0.6 ความเครียด 0.8<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 3.945+0.54f 0.841+0.09f 2.445+0.19de 5.859+0.39d 12.916+0.86bcd 2 0 : 1 : 0 : 0 1.289+0.25g 0.182+0.11g 0.680+0.05f 2.282+0.36e 6.523+1.00e 3 0 : 0 : 1 : 0 1.475+0.12g 0.293+0.01g 1.019+0.04f 2.723+0.06e 7.021+0.36e 4 0 : 0 : 0 : 1 9.010+0.50a 2.378+0.07a 5.492+0.07a 8.963+0.02ab 12.687+0.05bcd 5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 3.305+0.08f 0.715+0.01f 2.103+0.11e 5.315+0.36d 12.380+1.17cd 6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 1.272+0.10g 0.259+0.00g 0.848+0.07f 2.278+0.16e 6.127+0.28e 7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 6.424+1.81cd 1.296+0.36cd 3.791+0.75c 7.386+1.05c 11.965+1.23cd 8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 1.454+0.04g 0.327+0.02g 1.087+0.09f 3.006+0.23e 8.259+0.47e 9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 7.505+0.19bc 1.603+0.04b 4.332+0.13bc 8.243+0.21bc 13.565+0.51bc 10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 1.825+0.19g 0.355+0.03g 1.123+0.06f 3.12+0.28e 7.182+0.71e 11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 1.315+0.24g 0.173+0.12g 0.843+0.49f 2.706+1.45e 6.565+2.87e 12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 7.146+0.65bc 1.460+0.16bc 4.300+0.51bc 9.511+1.16a 17.758+1.98a 13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 7.960+0.189ab 1.599+0.36b 4.593+0.82b 9.061+1.38ab 14.908+2.02b 14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 5.273+0.28de 1.132+0.03de 2.901+0.04d 5.875+0.03d 10.606+0.07d 15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 4.077+0.10ef 0.897+0.04ef 2.598+0.13de 6.003+0.35d 12.221+0.70cd หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวางความเครียดและความเคน ที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

คาความเคน ณ ตํ าแหนงความเครียดที่ตางกัน<br />

คํ านวณโดยใช โมเดล σ = C1ε C2 + C3ε C4 (σ คือ คาความเคน (stress), ε คือ คาความเครียด (Hencky’s strain))<br />

a-g หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแนวแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ<br />

าคัญทางสถิติ (p


114<br />

เมื่อคํ<br />

านวณคาความเคน(stress) จากแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรของ<br />

Swyngedau et al.(1991) ณ คาความเครียด(Hencky’s strain) ที่ตํ<br />

าแหนงแตกตางกันในชวง<br />

ความเครียดระหวาง 0.2 - 0.8 ผลแสดงดังตารางที่<br />

20 (คาพารามิเตอรของแบบจํ าลองทาง<br />

คณิตศาสตรของแปงแตละสิ่งทดลองแสดงดังภาคผนวก<br />

ข) เมื่อพิจารณาพบวาในชวงความเครียด<br />

นี้<br />

เมื่อผสมแปงเทายายมอมกับแปงทาวและ/หรือแปงมันสํ<br />

าปะหลังมีผลทํ าใหคาความเคนของ<br />

แปงผสมลดลง ในขณะที่การผสมแปงเทายายมอมกับแปงขาวเจามีผลทํ<br />

าใหคาความเคนของแปง<br />

ผสมมีคาเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้การพิจารณาคาความเคนจากการคํ<br />

านวณโดยใชแบบจํ าลองทาง<br />

คณิตศาสตร เปนการพิจารณาถึงแรงที่มากระทํ<br />

าตอพื้นที่บนระนาบของตัวอยาง<br />

(Moskowitz,1987) ซึ่งจากผลการทดลองพบวาคาความเคน<br />

ณ ตํ าแหนงความเครียด 0.2 - 0.8<br />

ใหผลสอดคลองกับคา Young’s modulus ที่คํ<br />

านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธ<br />

ระหวางความเคนและความเครียดที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาแรงกดของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

ไดแก คา Young’s modulus (ตารางที่<br />

20) มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบ<br />

ผสม (Mixture design) โดยใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ได<br />

สมการดังนี้<br />

Y i = 4.293X 1 + 2.481X 2 + 0.371X 4 + 9.731X 4 ; R 2 = 0.915<br />

กํ าหนดให Y i คือ คา Young’s modulus (kPa)<br />

β i คือ คาสัมประสิทธิ<br />

์ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)


115<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคา<br />

Young’s modulus จากคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน พบวาแปงขาวเจา(X4) มีคาสัมประสิทธิ์<br />

สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) ตามลํ าดับ ซึ่ง<br />

หมายความวา เจลแปงที่มีคา<br />

Young’s modulus หรือมีคาความแข็งเรียงจากมากไปนอย ไดแก<br />

เจลแปงขาวเจา เจลแปงเทายายมอม เจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ และเมื่อ<br />

พิจารณาจากภาพที่<br />

35ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคา Young’s modulus สูงกวาแปงทาว และ<br />

แปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ ทั้งนี้แปงที่มีปริมาณแอมิโลสสูงจะมีผลทํ<br />

าใหคาการคืนตัวกลับสูง<br />

(กลาณรงค, 2542) ดังนั้นเจลของแปงเทายายมอมจึงมีคา<br />

Young’s modulus สูงกวาเจลแปงทาว<br />

และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลพรอมทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยให<br />

ตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของ<br />

แปงแตละชนิดที่มีตอคา<br />

Young’s modulus โดยพิจารณาคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละ<br />

ตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour plot แสดงดังภาพที่<br />

35 และเมื่อ<br />

พิจารณาภาพที่<br />

35ข และ ภาพที่<br />

35ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปงผสม<br />

จะใหคา Young’s modulus เพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเจลแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาจะมีการ<br />

จัดเรียงตัวของแอมิโลสกับไขมันเปนสารประกอบเชิงซอนที่เพิ่มความแข็งแรงใหแกโครงสรางของ<br />

เจล (Kim and Seib, 1993) ทํ าใหเจลแปงผสมมีความแข็งเพิ่มขึ้น


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

35 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ (ค) 50 % ตอคา Young’s<br />

modulus (kPa) ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

116


(Degree of elasticity)<br />

(2) ระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของเจลแปง<br />

117<br />

จากการวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของ<br />

ผลิตภัณฑ โดยการเปรียบเทียบคา Degree of elasticity ที่คํ<br />

านวณจากคาความเคน (stress, σ)<br />

และระยะทาง (%deformation) ของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

แสดงดังตารางที่<br />

21<br />

ตารางที่<br />

21 Degree of elasticity ของเจลแปงผสมแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่งทดลอง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา)<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 67.36+1.56 a<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 53.22+1.72 e<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 47.80+2.44 f<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 18.19+1.44 h<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 63.42+3.28 bc<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 54.63+4.02 e<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 43.17+2.43 g<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 65.91+2.09 ab<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 43.30+0.78 g<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 51.61+2.51 e<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 58.07+1.51 d<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 51.60+1.22 e<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 46.68+3.31 f<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 62.11+0.42 c<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 62.32+1.91 c<br />

หมายเหตุ a-h หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


118<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสู<br />

สภาพเดิมของผลิตภัณฑของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

หรือคา Degree of elasticity (ตาราง<br />

ที่<br />

21) มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบผสม (Mixture design) โดยใชแบบ<br />

หุ นเสนตรง (linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ไดสมการดังนี้<br />

Y i = 64.018X 1 + 61.968X 2 + 57.438X 4 + 27.149X 4 ; R 2 =0.984<br />

กํ าหนดให Y i คือ คา Degree of elasticity (%)<br />

β i คือ คาสัมประสิทธิ<br />

์ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคา<br />

Degree of elasticity จาก<br />

คาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคา<br />

สัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงทาว(X2) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และแปงขาวเจา(X4) ตาม<br />

ลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่มีคา<br />

Degree of elasticity หรือมีคาความสามารถในการคืนตัว<br />

กลับสูสภาพเดิมเรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปงเทายายมอม เจลแปงทาว เจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และเจลแปงขาวเจา ตามลํ าดับ ทั้งนี้พบวาคา<br />

Degree of elasticity มีความสอดคลอง<br />

กับกราฟความสัมพันธระหวางคาความเครียดและคาความเคน (ภาพที่<br />

34) เชน ในกรณีของแปง<br />

ขาวเจามีลักษณะของกราฟตกหลังจุดที่จะใหคาความเคนสูงสุด<br />

ซึ่งแสดงลักษณะของเจลแปงที่<br />

แตกเปราะงายเมื่อมีแรงมากระทํ<br />

า(Bourne, 1982) เมื่อพิจารณาคา<br />

Degree of elasticity พบวามี<br />

คานอยกวาเจลแปงเทายายมอม เจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ซึ่งแปงทั้งสามชนิดมี<br />

ลักษณะของกราฟที่คอยๆ<br />

เพิ่มขึ้นตามเสนกราฟที่จะใหคาความเคนสูงสุด<br />

ซึ่งบงบอกถึงลักษณะ<br />

เนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีความเหนียวนุม<br />

ไมแตกเปราะงายเมื่อมีแรงมากระทํ<br />

า (Bourne, 1982)<br />

และลักษณะเจลที่มีความยืดหยุนหรือเหนียวนุมจะเกี่ยวของกับขนาดของสายแอมิโลส<br />

โดยถาแปง


119<br />

มีขนาดแอมิโลสที่สั้นจะใหเจลที่ลักษณะแตกเปราะงาย<br />

ในขณะที่แปงที่มีขนาดแอมิโลสยาวกวา<br />

จะใหเจลที่มีความยืดหยุนไดมากกวา<br />

(Mua and Jackson, 1998)<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลจากตารางที่<br />

21 พรอมทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลว<br />

พิจารณาอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคา<br />

Degree of elasticity โดยพิจารณาคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour<br />

plot แสดงดังภาพที่<br />

36<br />

(ก)<br />

(ข)<br />

ภาพที่<br />

36 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0% และ (ข) 33% ตอคา Degree of elasticity(%)<br />

ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงกด


120<br />

เมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

36ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคา Degree<br />

of elasticity สูงกวาแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ และเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

36ข เมื่อ<br />

ผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองปริมาณรอยละ<br />

33 พบวา เจลแปงผสมจะใหคา Degree of<br />

elasticity เพิ่มขึ้นใกลเคียงกัน<br />

ซึ่งแสดงวาการเพิ่มปริมาณแปงขาวเจาในปริมาณรอยละ<br />

33 นี้จะ<br />

ทํ าใหเจลแปงผสมมีคาความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมเพิ่มขึ้นใกลเคียงกันมาก<br />

และ<br />

เมื่อเพิ่มปริมาณแปงขาวเจาในสิ่งทดลองรอยละ<br />

50 พบวากราฟของ contour plot ไมแสดงคาที่<br />

ทํ านายจากสมการใหเห็น ซึ่งแสดงวาการผสมแปงขาวเจาที่ระดับรอยละ<br />

50 นี้จะทํ<br />

าใหเจลแปง<br />

ผสมที่ไดมีคา<br />

Degree of elasticity เทากัน นั่นคือการเพิ่มปริมาณแปงขาวเจาเทากับหรือมากกวา<br />

รอยละ 50 จะไมทํ าใหเจลแปงมีคาความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมแตกตางกัน<br />

(3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส(Texture<br />

Profile Analysis)<br />

วัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis) ไดแก<br />

ความแข็ง (Hardness), ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได (Cohesiveness) , ความยืดหยุน<br />

ได (Elasticity or Springiness) และความยากงายในการเคี้ยวตัวอยาง<br />

(Gumminess) โดยดัด<br />

แปลงวิธีการวัดคาของ Pons and Fiszman (1996) ผลดังตารางที่<br />

22


122<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของเจล<br />

แปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง(ตารางที่<br />

22) มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบ<br />

ผสม (Mixture design) โดยใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ได<br />

สมการดังตารางที่<br />

23<br />

ตารางที่<br />

23 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาเคา<br />

โครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

ของเจลแปง<br />

เคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

(Y i) β 1 β 2 β 3 β 4<br />

1. Hardness (N) 14.243 8.349 6.744 11.984 0.958<br />

2. Cohesiveness (-) 0.351 0.562 0.563 0.299 0.990<br />

3. Springiness index 7.839 8.224 7.664 7.134 0.999<br />

4. Gumminess (N) 5.070 4.618 3.882 4.047 0.969<br />

หมายเหตุ สมการรีเกรสชัน : Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

กํ าหนดให Y i คือ คาเคาโครงคุณลักษณะ<br />

β i คือ คาสัมประสิทธิ<br />

์ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลพรอมทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยให<br />

ตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของ<br />

แปงแตละชนิดที่มีตอคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

โดยพิจารณาคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour<br />

plot ทั้งนี้แบงการพิจารณาตามเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

ไดดังนี้<br />

R 2


- ความแข็ง (Hardness)<br />

123<br />

จากตารางที่<br />

23 เมื่อพิจารณาผลของแปงที่มีตอคา<br />

Hardness หรือคา<br />

ความแข็งของเจลแปง(Bourne, 1978) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการ<br />

รีเกรสชัน พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงขาวเจา(X4) แปงทาว(X2) และแปงมันสํ าปะหลัง(X3) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่มีคาความแข็ง<br />

เรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปงเทายายมอม เจลแปงขาวเจา เจลแปงทาว และเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

37ก พบวาแปงเทายายมอมจะใหเจลที่มี<br />

ความแข็งมากกวาเจลจากแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

37ข และ 37ค<br />

แสดงถึงการผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลอง<br />

พบวาเจลแปงผสมที่ไดมีคาความแข็งเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้ความ<br />

แข็งของเจลแปงเปนผลมาจากกระบวนการเกิดรีโทรเกรเดชัน โดยปริมาณแอมิโลสเปนปจจัยหนึ่งที่<br />

มีผลตอการเกิดรีโทรเกรเดชันของแปง(Stephen, 1995) ซึ่งในแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันไดดี ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

Collado and Cork (1999) ซึ่งพบวาแปงมันเทศที่<br />

มีปริมาณแอมิโลสรอยละ 28.5 จะมีคาความแข็งของเจลแปงมากกวาแปงมันเทศที่มีปริมาณ<br />

แอมิโลสรอยละ 15.2 ดังนั้นแปงเทายายมอมซึ่งมีปริมาณแอมิโลสมากกวาแปงทาว<br />

แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (ผลการทดลองขอ 2.1.2 ตารางที่<br />

9) จึงมีคา Hardness หรือคาความ<br />

แข็งของเจลแปงมากที่สุด<br />

ในขณะที่การผสมแปงขาวเจากับแปงชนิดอื่นมีผลทํ<br />

าแปงผสมมีคา<br />

Hardness เพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเกิดการจัดเรียงตัวของแอมิโลสของแปงขาวเจาที่มีขนาดเล็กกับ<br />

โมเลกุลไขมันเปนสารประกอบเชิงซอน ซึ่งเสริมความแข็งแรงใหแกพันธะ<br />

และในโครงสรางของเจล<br />

แปงขาวเจานอกจากเกิดการจัดเรียงตัวกันของแอมิโลส และแอมิโลเพกทินในเฟสของแข็งแลวยัง<br />

สามารถเกิดการจัดเรียงตัวของโมเลกุลโปรตีนไดดวย จึงทํ าใหเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงขาวเจา<br />

มีความแข็งเพิ่มขึ้น<br />

(Kim and Seib, 1993)


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

37 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ 50% ตอคาความแข็ง<br />

(Hardness , N) ของเจลแปง เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี Texture Profile Analysis (TPA)<br />

124


- ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได (Cohesiveness)<br />

125<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงที่มีตอคา<br />

Cohesiveness หรือคาความสามารถ<br />

ในการเกาะรวมตัวกันไดของเจลแปง (Bourne, 1978) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละ<br />

ตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

23) พบวา แปงทาว(X2) และแปงมันสํ าปะหลัง(X3)มีคา สัมประสิทธิ์ใกลเคียงกันและเปนคาที่สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงเทายายมอม(X1) และ แปงขาว<br />

เจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่มีความสามารถในการเกาะรวมตัวกันไดของเจล<br />

เรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปงมันสํ าปะหลัง เจลแปงทาว เจลแปงเทายายมอม และเจลแปง<br />

ขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

38ก พบวาแปงมันสํ าปะหลังและแปงทาวมีคา<br />

Cohesiveness ใกลเคียงกันและสูงกวาแปงเทายายมอม และภาพที่<br />

38ข และ ภาพที่<br />

38ค เมื่อ<br />

ผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลอง<br />

พบวาเจลแปงผสมที่ไดมีคา<br />

Cohesiveness หรือคาความสามารถ<br />

ในการเกาะรวมตัวกันไดของเจลแปงเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้เมื่อพิจารณาคา<br />

Cohesiveness หรือคาความสามารถในการเกาะ<br />

รวมตัวกันไดของเจลแปงพบวามีความสอดคลองกับคาการพองตัวของแปง เนื่องจากเมื่อแปงดูด<br />

นํ าเขาไปในโมเลกุลจะทํ ้ าใหแปงสามารถเกาะรวมตัวกันได และจากการศึกษาการพองตัวของแปง<br />

ในขอ 2.2.4 พบวาแปงทาวและแปงมันสํ าปะหลังมีคากํ าลังการพองตัวสูงกวาแปงเทายายมอมจึง<br />

ทํ าใหเจลแปงทั้งสองชนิดมีคา<br />

Cohesiveness สูงกวาเจลแปงเทายายมอม ในขณะที่เมื่อผสมแปง<br />

ขาวเจาในแปงผสมพบวาเจลแปงผสมมีคา Cohesiveness สูงขึ้น<br />

อาจเปนเพราะในแปงขาวเจามี<br />

ปริมาณโปรตีนมาก(ตารางที่<br />

8) และมีหมูโพลารจึงสามารถจับกับโมเลกุลของนํ้<br />

าไดดี(รุงทิวา,<br />

2543) ทํ าใหเจลแปงผสมสามารถอุมนํ้<br />

าไดมากขึ้นจึงมีความสามารถเกาะรวมตัวกันไดดีขึ้น


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

126<br />

ภาพที่<br />

38 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ 50% ตอคาความสามารถใน<br />

การเกาะรวมตัวกันของเจลแปง เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี Texture Profile Analysis(TPA)


- ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness)<br />

127<br />

เมื่อพิจารณาคา<br />

Springiness หรือ อัตราของการคืนรูปของวัสดุหลังจาก<br />

การถูกกด(Civile and Szczesiak, 1973) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวใน<br />

สมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

23) พบวาแปงเทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) แปงมันสํ าปะหลัง(X3) และ<br />

แปงขาวเจา(X4) มีคาสัมประสิทธิ์ใกลเคียงกัน<br />

โดยคาสัมประสิทธิ์ของแปงทาวมีคาสูงที่สุด<br />

นั่น<br />

แสดงวาการเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงปริมาณแปงแตละชนิดในสิ่งทดลองจะทํ<br />

าใหเจลแปงมีคาความ<br />

ยืดหยุนเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กนอย<br />

ดังตารางที่<br />

22 พบวาคาความยืดหยุนของเจลแปงทั้ง<br />

15<br />

สิ่งทดลองมีคาใกลเคียงกันมาก<br />

โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

39 เจลแปงทาวจะมีคาความยืดหยุน<br />

มากกวาเจลแปงเทายายมอม และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ แตเมื่อผสมแปงขาวเจาใน<br />

ปริมาณรอยละ 33 และรอยละ 50 กราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour plot จะไมแสดงคาที่ทํ<br />

านาย<br />

จากสมการรีเกรสชันใหเห็น เนื่องจากการผสมแปงขาวเจาที่สองระดับนี้จะทํ<br />

าใหเจลแปงผสมมีคา<br />

ความยืดหยุนเทากันหรือไมแตกตางกัน


ภาพที่<br />

39 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

ที่ไมมีปริมาณแปงขาวเจา(0%)<br />

ตอคาความยืดหยุนได<br />

(Springiness, mm) ของเจล<br />

แปง เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี Texture Profile Analysis (TPA)<br />

128


- ความยากงายในการเคี้ยวตัวอยาง<br />

(Gumminess)<br />

129<br />

เมื่อพิจารณาคา<br />

Gumminess หรือ แรงที่ตองใชในการแยกตัวอยางที่<br />

เปนกึ่งของแข็งจนกระทั่งสามารถที่จะกลืนได<br />

โดยเปนตัวอยางที่มีคุณสมบัติผสมระหวาง<br />

Hardness ตํ่<br />

าและมี Cohesiveness สูง (Civile and Szczesiak, 1973) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน(ตารางที่<br />

23) พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคา<br />

สัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงทาว(X2) แปงขาวเจา(X4) และแปงมันสํ าปะหลัง(X3) ตาม<br />

ลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงเทายายมอมเคี้ยวยากมากที่สุด<br />

รองลงมาไดแก เจลแปงทาว เจล<br />

แปงขาวเจา และเจลแปงมันสํ าปะหลัง โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

40ก พบวาเจลแปง<br />

เทายายมอมใหคา Gumminess มากกวาเจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ และ<br />

ภาพที่<br />

40ข และภาพที่<br />

40ค เมื่อผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลอง<br />

พบวาเจลแปงผสมมีคาเพิ่มขึ้นและ<br />

ใกลเคียงกันมาก หรือมีความยากงายในการเคี้ยวตัวอยางไมแตกตางกัน


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

40 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%, (ข) 33% และ 50% ตอคาความยากงายใน<br />

การเคี้ยวตัวอยางของเจลแปง<br />

เมื่อทํ<br />

าการวัดดวยวิธี Texture Profile Analysis (TPA)<br />

130


() การวัดคาแรงดึง<br />

131<br />

ในการศึกษาผลของชนิดแปงที่มีตอคาแรงดึงของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15<br />

สิ่งทดลองนั้นจะทํ<br />

าการวัดคาแรงดึงดวยวิธีการ ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงดึง และ 2) การวัดคาการแตก<br />

หัก โดยในการวัดคาแรงดึงทั้งสองวิธีนี้จะทํ<br />

าการบันทึก คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at<br />

maximum load) , คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at maximum<br />

load) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) โดยสามารถแบงการพิจารณาผลการศึกษาไดตามวิธีการ<br />

วัดคาแรงดึง ดังนี้<br />

(1) การวัดคาแรงดึง (Tensile test)<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

ผล<br />

ดังตารางที่<br />

24 มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบผสม (Mixture design) โดย<br />

ใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ทั้งนี้กํ<br />

าหนดให Yi คือ คาที่ไดจาก<br />

การวัดคาแรงดึง, βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และ Xi คือ<br />

ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอม(X1), แปงทาว(X2), แปงมันสํ าปะหลัง<br />

(X3) และแปงขาวเจา(X4) โดย X1+ X2+ X3+ X4 = 1 ไดสมการดังตารางที่<br />

25 และนํ าขอมูลพรอม<br />

ทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคาคงที่<br />

3 ระดับ<br />

คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาแรงดึงไดแก<br />

คาความ<br />

เคน ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และคางานทั้งหมด<br />

โดยพิจารณาคา<br />

สัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการสราง<br />

contour<br />

plot ผลของชนิดแปงที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และคา<br />

งานทั้งหมด<br />

ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

แสดงดังภาพที่<br />

41 , 42 และ 43 ตามลํ าดับ


่ ตารางที 24 คาความเคน ณ แรงสูงสุด, คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และ คางานทั้งหมด<br />

จากการวัดคาแรงดึง(Tensile test) ของเจลแปงผสมที่ไดจากการผสมแปงเทายายมอม<br />

แปง<br />

ทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

สิ่งทดลอง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด<br />

(Stress at maximum load, mPa)<br />

คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

(Percentage extension at maximum load,%)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(Total work, mJ)<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 165.16+31.99a 66.64+10.47bc 18.11+5.84a 2 0 : 1 : 0 : 0 0.09+0.00h 48.18+6.70d 8.82+1.24bcd 3 0 : 0 : 1 : 0 0.07+0.00h 80.01+0.02a 11.40+1.01b 4 0 : 0 : 0 : 1 111.56+12.60b 35.02+4.07e 7.43+0.79cdef 5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 45.45+11.25g 52.29+3.83d 4.28+1.45fg 6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 78.09+2.41cd 72.70+3.73ab 10.98+1.68bc 7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 85.48+8.43c 54.97+7.88d 9.29+2.62bcd 8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.06+0.01h 71.03+13.51ab 9.39+3.56bcd 9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 50.17+4.76fg 29.51+0.97e 2.91+0.30g 10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 67.35+3.99de 34.09+10.20e 4.49+1.49fg 11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 60.09+8.41efg 69.86+10.47ab 8.40+1.95bcde 12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 57.16+7.14efg 28.96+7.23e 3.66+1.65g 13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 79.88+6.53cd 32.63+3.36e 4.94+0.31efg 14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 65.63+2.08def 52.11+7.29d 5.82+0.88defg 15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 69.27+8.93cde 57.22+8.36cd 7.80+2.00bcdef หมายเหตุ a-h หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ<br />

าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

86


ตารางที่<br />

25 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาแรงดึง<br />

คาแรงดึง<br />

Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

(Y i) β 1 β 2 β 3 β 4<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) 136.144 -4.453 15.695 102.147 0.950<br />

คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด 63.810 47.957 76.231 21.457 0.967<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ) 13.172 5.113 9.549 3.569 0.894<br />

หมายเหตุ สมการรีเกรสชัน : Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

R 2<br />

133<br />

กํ าหนดให Yi คือ คาที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)<br />

จากตารางที่<br />

25 สามารถอธิบายอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาแรงดึงได<br />

ดังนี้<br />

- คาความเคน ณ แรงสูงสุด<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(Stress at maximum load) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

พบวาแปงเทายายมอม(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงขาวเจา(X4) แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง(X3) และแปงทาว(X2) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่ตองใชแรงในการดึงเจล<br />

แปงใหขาดเรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปงเทายายมอม เจลแปงขาวเจา เจลแปงมันสํ าปะหลัง<br />

และเจลแปงทาวตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาจากภาพที่<br />

41ก จะพบวาเจลแปงเทายายมอมใหคา<br />

ความเคน ณ แรงสูงสุด สูงกวาเจลแปงมันสํ าปะหลัง และเจลแปงทาว ตามลํ าดับ ทั้งนี้เมื่อเปรียบ<br />

เทียบปริมาณและขนาดแอมิโลสของแปงเทายายมอม มีปริมาณมากกวาและขนาดยาวกวาแปง<br />

มันสํ าปะหลัง และแปงทาว ตามลํ าดับ(ผลการทดลองขอ 2.1.2 ตารางที่<br />

9) ซึ่งแปงที่มีปริมาณ


134<br />

แอมิโลสมากจะมีแนวโนมในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี(Collado and Cork,1999) และขนาด<br />

แอมิโลสที่ยาวจะใหเจลที่มีความเหนียวนุมไมแตกเปราะงาย<br />

(Mua and Jackson, 1998) ดังนั้น<br />

แปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากและสายยาวจะใหเจลที่มีความแข็ง<br />

แตเหนียวนุม ในการดึงเจลให<br />

ขาดจึงใชแรงที่มากขึ้น<br />

และเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

41ข และ ภาพที่<br />

41ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปใน<br />

สิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปงผสมจะใหคาความเคน ณ แรงสูงสุดเพิ่มขึ้น<br />

นั่นคือ<br />

ตองใชแรงมากขึ้นใน<br />

การดึงใหเจลแปงผสมนี้ขาดออกจากกัน<br />

ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อผสมแปงขาวเจากับ<br />

แปงเทายายมอม<br />

แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ปริมาณไขมันที่มีในแปงขาวเจาสามารถจับกับแอมิโลสที่มีขนาด<br />

โมเลกุลเล็กเกิดเปนสารประกอบเชิงซอนที่ไปเสริมความแข็งแรงใหกับเจลแปง(Bowers,<br />

1992)<br />

นอกจากนี้โปรตีนในแปงขาวเจายังสามารถเกิดเปนโครงสรางตาขายในเฟสของแข็งของเจลแปงได<br />

(Whistler and BeMiller, 1999) ดังนั้นเจลแปงผสมที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาที่ระดับรอยละ<br />

33<br />

และ 50 นี้จะมีลักษณะแข็งขึ้น<br />

จึงตองใชแรงมากขึ้นในการทํ<br />

าใหเจลขาด


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

41 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความเคน ณ<br />

แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test)<br />

135


- คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

136<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูง<br />

สุด (Percentage extension at maximum load) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัว<br />

ในสมการรีเกรสชัน พบวาแปงมันสํ าปะหลัง(X3) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปง<br />

เทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เมื่อใชแรงดึงที่<br />

เทากัน เจลแปงมันสํ าปะหลังจะสามารถยืดตัวออกไดมากที่สุด<br />

รองลงมาคือ เจลแปงเทายายมอม<br />

เจลแปงทาว และเจลแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

42ก พบวาเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลังใหคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด มากกวาเจลแปงเทายายมอม และเจลแปงทาว<br />

ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

42ข และภาพที่<br />

42ค เมื่อผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปงผสม<br />

มีคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดเพิ่มขึ้น<br />

แสดงวาเมื่อทํ<br />

าการดึงเจลแปงผสมนี้เจลแปงจะ<br />

สามารถยืดตัวไดมากขึ้น<br />

ทั้งนี้เนื่องจากแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะมีแนวโนมในการเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันไดดี(Collado and Cork,1999) และขนาดแอมิโลสที่ยาวจะใหเจลที่มีความเหนียว<br />

นุ มไมแตกเปราะงาย (Mua and Jackson, 1998) ดังนั้นแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากและสาย<br />

ยาวจะใหเจลที่มีความแข็ง<br />

แตเหนียวนุม<br />

เพราะฉะนั้นเจลจะสามารถยืดตัวออกไดมากกอนที่เจล<br />

จะขาดออกจากกันเมื่อทํ<br />

าการดึง<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูง<br />

สุด โดยเปรียบเทียบกับผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสู<br />

สภาพเดิม ชี้ใหเห็นวา<br />

เมื่อทํ<br />

าการวัดคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมโดยวิธี<br />

การกด เจลแปงเทายายมอมซึ่งมีปริมาณแอมิโลสมากและสายยาวมากที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

เจลแปงทาว เจลแปงมันสํ าปะหลัง และเจลแปงขาวเจา(ตารางที่<br />

9) จะใหคาระดับความสามารถ<br />

ในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมมากกวาแปงอีก<br />

3 ชนิดเพราะขนาดแอมิโลสที่ยาวจะใหเจลที่มีความ<br />

เหนียวนุมไมแตกเปราะงาย<br />

(Mua and Jackson, 1998) แตเมื่อทํ<br />

าการวัดคารอยละการยืดตัว ณ<br />

แรงสูงสุด โดยวิธีการวัดคาแรงดึงพบวาเจลแปงเทายายมอมกลับมีคานอยกวาเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง อาจเนื่องมาจากแปงเทายายมอมมีคาการคืนตัวที่สูงกวาแปงมันสํ<br />

าปะหลัง(ตารางที่18)<br />

เจลแปงเทายายมอมจึงมีความแข็งมากกวาเจลแปงมันสํ าปะหลัง ดังนั้นเมื่อทํ<br />

าการดึงจึงมีผลทํ า<br />

ใหเจลแปงเทายายมอมสามารถเกิดการฉีกขาดได แสดงใหเห็นวาเจลแปงเทายายมอมสามารถทน<br />

ตอแรงกดไดมากกวาแรงดึง


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

42 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคารอยละการยืด<br />

ตัว ณ แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test)<br />

137


- คางานทั้งหมด<br />

138<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคางานทั้งหมด<br />

(Total work)<br />

จากคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน พบวาแปงเทายายมอม(X1) มี<br />

คาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมันสํ าปะหลัง(X3) แปงทาว(X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่มีคางานที่เกิดจากการดึงเจลแปงใหขาดออกจากกันเรียง<br />

จากมากไปนอย ไดแก เจลแปงเทายายมอม เจลแปงมันสํ าปะหลัง เจลแปงทาว และเจลแปงขาว<br />

เจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

43ก พบวาเจลแปงเทายายมอมมีคางานทั้งหมดมากกวา<br />

เจลแปงมันสํ าปะหลัง และเจลแปงทาว ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

43ข และภาพที่<br />

43ค เมื่อผสมแปง<br />

ขาวเจาในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปงผสมมีคางานทั้งหมดเพิ่มขึ้น<br />

คางานทั้งหมดที่ใชในการดึงเจล<br />

ใหขาดมีความสอดคลองกับคาความเคน ณ แรงสูงสุด ซึ่งถาคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด มีคามากก็<br />

จะมีคางานทั้งหมดมากดวยเชนเดียวกัน


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

43 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคางานทั้งหมด<br />

ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test)<br />

139


(2) การวัดคาการแตกหัก (Fracture test)<br />

140<br />

เมื่อนํ<br />

าขอมูลที่ไดจากการวัดคาการแตกหักของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่ง<br />

ทดลอง (ตารางที่<br />

26) มาหาความสัมพันธรีเกรสชันของแผนการทดลองแบบผสม (Mixture<br />

design) โดยใชแบบหุนเสนตรง<br />

(linear) คือ Yi = β1X1 + β2X2 + β3X3 +β4X4 ทั้งนี้กํ<br />

าหนดให Yi คือ<br />

คาที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก,<br />

βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

และ Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด ไดแก แปงเทายายมอม(X1), แปงทาว(X2), แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง (X3) และแปงขาวเจา(X4) โดย X1+ X2+ X3+ X4 = 1 ไดสมการดังตารางที่<br />

27 และนํ า<br />

ขอมูลพรอมทั้งสมการรีเกรสชันที่ไดไปสราง<br />

contour plot โดยใหตัวแปร X4 คือ แปงขาวเจา มีคา<br />

คงที่<br />

3 ระดับ คือ รอยละ 0, 33 และ 50 แลวพิจารณาอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาการแตก<br />

หักไดแก คาความเคน ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และคางานทั้งหมด<br />

โดย<br />

พิจารณาคาสัมประสิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน และกราฟที่ไดจากการ<br />

สราง contour plot<br />

ผลของชนิดแปงที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด คารอยละการยืดตัว ณ<br />

แรงสูงสุด และคางานทั้งหมด<br />

ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

แสดงดังภาพที่<br />

44 , 45 และ 46 ตาม<br />

ลํ าดับ


่ ตารางที 26 คาความเคน ณ แรงสูงสุด, คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด และ คางานทั้งหมด<br />

จากการวัดคาการแตกหัก (Fracture test) ของเจลแปงผสมที่ไดจากการผสมแปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา ในอัตราสวนที่แตกตางกัน<br />

สิ่งทดลอง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด<br />

(Stress at maximum load, mPa)<br />

คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

(Percentage extension at maximum load, %)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(Total work, mJ)<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 224.24+32.52a 65.03+3.37bc 28.83+4.32a 2 0 : 1 : 0 : 0 0.124+0.01h 38.69+2.84e 9.09+0.78defg 3 0 : 0 : 1 : 0 0.085+0.01h 80.03+0.01a 12.92+0.48cd 4 0 : 0 : 0 : 1 144.13+2.29b 28.25+2.93f 7.20+0.34fgh 5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 90.19+29.18ef 60.60+5.43c 10.42+3.84def 6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 141.73+10.54b 71.34+1.32b 18.41+2.04b 7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 123.56+5.81bcd 50.16+3.68d 11.89+1.01de 8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 127.42+12.16bc 63.34+8.63bc 15.88+3.24bc 9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 54.22+14.75g 11.36+8.42g 1.66+0.60i 10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 102.99+10.72def 21.08+1.43f 4.34+0.73hi 11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 134.50+8.83b 68.77+8.67bc 17.30+2.83b 12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 133.13+11.76b 26.16+4.06f 6.20+0.42gh 13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 138.08+13.65b 45.66+3.68de 10.96+2.11def 14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 81.38+16.04f 52.20+9.94d 8.48+3.87efg 15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 105.97+14.37cde 51.49+6.46d 10.87+2.80def หมายเหตุ a-i หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวตั้งเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ<br />

าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

86


ตารางที่<br />

27 คาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชันที่ใชอธิบายผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคา<br />

การแตกหัก<br />

คาการแตกหัก<br />

Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

(Y i) β 1 β 2 β 3 β 4<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) 208.155 31.344 63.478 14.254 0.923<br />

คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด 68.994 39.469 75.513 11.853 0.962<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ) 23.913 7.186 13.859 1.576 0.936<br />

หมายเหตุ สมการรีเกรสชัน : Y i = β 1X 1 + β 2X 2 + β 3X 3 +β 4X 4<br />

R 2<br />

142<br />

กํ าหนดให Yi คือ คาที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

βi คือ คาสัมประสิทธิ์ของตัวแปร<br />

Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

Xi คือ ปริมาณรอยละของแปงแตละชนิด โดยที่<br />

X1+ X2+ X3+ X4 = 1<br />

X1 คือ ปริมาณแปงเทายายมอม (รอยละ)<br />

X2 คือ ปริมาณแปงทาว(รอยละ)<br />

X3 คือ ปริมาณแปงมันสํ าปะหลัง(รอยละ)<br />

X4 คือ ปริมาณแปงขาวเจา(รอยละ)<br />

จากตารางที่<br />

27 สามารถอธิบายอิทธิพลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาการแตกหักได<br />

ดังนี้<br />

- คาความเคน ณ แรงสูงสุด<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(Stress at maximum load) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน<br />

(ตารางที่<br />

27) พบวาเจลแปงเทายายมอม(X1) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก เจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง(X3) เจลแปงทาว(X2) และเจลแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่<br />

ตองใชแรงในการดึงเจลแปงใหเกิดการฉีกขาดหรือแตกหักเรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปง<br />

เทายายมอม เจลแปงมันสํ าปะหลัง เจลแปงทาว และเจลแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณา<br />

จากภาพที่<br />

44ก จะพบวาแปงเทายายมอมใหคาความเคน ณ แรงสูงสุด สูงกวาแปงมันสํ าปะหลัง<br />

และแปงทาว ตามลํ าดับ ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบปริมาณและขนาดแอมิโลสของแปงเทายายมอม<br />

มี


143<br />

ปริมาณมากกวาและขนาดยาวกวาแปงมันสํ าปะหลัง และแปงทาว ตามลํ าดับ(ผลการทดลองขอ<br />

2.1.2 ตารางที่<br />

9) ซึ่งแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากจะมีแนวโนมในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี<br />

(Collado and Cork,1999) และขนาดแอมิโลสที่ยาวจะใหเจลที่มีความเหนียวนุมไมแตกเปราะ<br />

งาย (Mua and Jackson, 1998) ดังนั้นแปงที่มีปริมาณแอมิโลสมากและสายยาวจะใหเจลที่มี<br />

ความแข็ง แตเหนียวนุม ในการดึงเจลแปงใหเกิดการฉีกขาดหรือแตกหักจึงตองใชแรงที่มากขึ้น<br />

และเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

44ข และภาพที่<br />

44ค เมื่อผสมแปงขาวเจาลงไปในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจล<br />

แปงผสมจะใหคาความเคน ณ แรงสูงสุดเพิ่มขึ้น<br />

นั่นคือ<br />

ตองใชแรงมากขึ้นในการดึงใหเจลแปงผสม<br />

นี้ขาดออกจากกัน<br />

ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อผสมแปงเทายายมอมกับ<br />

แปงเทายายมอม แปงทาว และแปง<br />

มันสํ าปะหลัง ปริมาณไขมันที่มีมากในแปงขาวเจาจับกับแอมิโลสเกิดเปนสารประกอบเชิงซอนที่ไป<br />

เสริมความแข็งแรงใหกับเจลแปง(Bowers, 1992) นอกจากนี้โปรตีนในแปงขาวเจายังสามารถเกิด<br />

เปนโครงสรางตาขายในเฟสของแข็งของเจลแปงได (Whistler and BeMiller, 1999) ดังนั้นเจลแปง<br />

ผสมที่มีสวนผสมของแปงขาวเจาที่ระดับรอยละ<br />

33 และ 50 นี้จะมีลักษณะแข็งขึ้นจึงตองใชแรง<br />

มากขึ้นในการทํ<br />

าใหเจลแปงใหเกิดการฉีกขาดหรือแตกหัก


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

44 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่มี<br />

ปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคาความเคน ณ<br />

แรงสูงสุดของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test)<br />

144


- คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

145<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูง<br />

สุด (Percentage extension at maximum load) จากคาสัมประสิทธิ์(βi)<br />

ของตัวแปร Xi แตละตัว<br />

ในสมการรีเกรสชัน (ตารางที่<br />

27) พบวาแปงมันสํ าปะหลัง(X3) มีคาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมา<br />

ไดแก แปงเทายายมอม(X1) แปงทาว(X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เมื่อ<br />

ใชแรงดึงที่เทากัน<br />

เจลแปงมันสํ าปะหลังจะสามารถยืดตัวออกไดมากที่สุด<br />

รองลงมาคือ เจลแปง<br />

เทายายมอม เจลแปงเทา และเจลแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

45ก พบวาเจล<br />

แปงมันสํ าปะหลังใหคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด มากกวาเจลแปงเทายายมอม และเจลแปง<br />

ทาว ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

45ข และภาพที่<br />

45ค เมื่อผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปง<br />

ผสมมีคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดเพิ่มขึ้นแสดงวาเมื่อทํ<br />

าการดึงเจลแปงผสมนี้เจลแปงจะ<br />

สามารถยืดตัวไดมากขึ้น<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูง<br />

สุดที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

โดยเปรียบเทียบกับผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคาระดับความ<br />

สามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม พบวาใหผลในทํ านองเดียวกันกับคารอยละการยืดตัว ณ<br />

แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

ซึ่งแสดงใหเห็นวาเจลแปงเทายายมอมสามารถทนตอแรงกดได<br />

มากกวาแรงดึง


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

45 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคารอยละการ<br />

ยืดตัว ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test)<br />

146


- คางานทั้งหมด<br />

(Total work)<br />

147<br />

เมื่อพิจารณาผลของแปงแตละชนิดที่มีตอคางานทั้งหมด<br />

จากคาสัมประ<br />

สิทธ(βi) ของตัวแปร Xi แตละตัวในสมการรีเกรสชัน (ตารางที่<br />

27) พบวาแปงเทายายมอม(X1) มี<br />

คาสัมประสิทธิ์สูงที่สุด<br />

รองลงมาไดแก แปงมันสํ าปะหลัง(X3) แปงทาว(X2) และแปงขาวเจา(X4) ตามลํ าดับ ซึ่งหมายความวา<br />

เจลแปงที่มีคางานที่เกิดจากการดึงเจลแปงใหฉีกขาดหรือแตกหัก<br />

ออกจากกันเรียงจากมากไปนอย ไดแก เจลแปงเทายายมอม เจลแปงมันสํ าปะหลัง เจลแปงทาว<br />

และเจลแปงขาวเจา ตามลํ าดับ โดยเมื่อพิจารณาภาพที่<br />

46ก พบวาเจลแปงเทายายมอมมีคางาน<br />

ทั้งหมดมากกวาเจลแปงมันสํ<br />

าปะหลัง และเจลแปงทาว ตามลํ าดับ และภาพที่<br />

46ข และภาพที่<br />

46<br />

ค เมื่อผสมแปงขาวเจาในสิ่งทดลองพบวา<br />

เจลแปงผสมมีคางานทั้งหมดเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งนี้คางานทั้ง<br />

หมดที่ใชในการดึงเจลใหฉีกขาดหรือแตกหักออกจากกันมีความสอดคลองกับคาความเคน<br />

ณ แรง<br />

สูงสุด ซึ่งถาคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด มีคามากก็จะมีคางานทั้งหมดมากดวยเชนเดียวกัน


(ก)<br />

(ข)<br />

(ค)<br />

ภาพที่<br />

46 ผลของปริมาณแปงผสมระหวางแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ที่<br />

มีปริมาณแปงขาวเจา 3 ระดับ คือ (ก) 0%,(ข) 33% และ (ค) 50% ตอคางานทั้งหมด<br />

ของเจลแปงที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test)<br />

148


เก็บตัวอยาง<br />

3.2.2 การศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในการ<br />

149<br />

ในการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในการเก็บ<br />

ตัวอยางเจลแปงผสม ไดทํ าการศึกษาที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 4 องศาเซลเซียส เพื่อเปรียบเทียบแนว<br />

โนมการเปลี่ยนแปลงคาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลอง<br />

เมื่อมีการเรงใหเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันที่อุณหภูมิตํ่<br />

า โดยทํ าการวัดคาคุณสมบัติทางกลดวยวิธีการดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงกด<br />

จะทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บตัวอยางที่เวลา<br />

0, 6, 12, 18 และ 24 ชั่วโมง<br />

และ 2)<br />

การวัดคาแรงดึง จะทํ าการวัดคาตัวอยางในชั่วโมงของการเก็บตัวอยางที่เวลา<br />

0, 4, 8, 12, 16 และ<br />

20 ชั่วโมง<br />

แบงพิจารณาผลการศึกษาไดตามวิธีการวัดคา ดังนี้<br />

() การวัดคาแรงกด<br />

จากการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในการ<br />

เก็บตัวอยางเจลแปงผสมที่มีตอคาแรงกดนั้น<br />

ไดทํ าการวิเคราะหคาที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

ดังนี้<br />

1) คา Young’s modulus 2) คาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of<br />

elasticity) 3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis) และแบงการ<br />

พิจารณาตามคาที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

ดังนี้<br />

(1) คา Young’s modulus<br />

ตารางที่<br />

28 แสดงอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและ<br />

เวลาในการเก็บตัวอยางที่มีตอคา<br />

Young’ s modulus ซึ่งคํ<br />

านวณจากความชันของเสนกราฟความ<br />

สัมพันธระหวางความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2 เมื่อพิจารณาคาความนาจะ<br />

เปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยา<br />

สัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

28 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

ที่มีตอคา<br />

Young’s<br />

modulus ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


151<br />

เมื่อนํ<br />

าคา Young’s modulus ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บใน<br />

อุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อเปรียบเทียบแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคา<br />

Young’s modulus ของเจลแปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

เมื่อเวลาในการเก็บตัว<br />

อยางมากขึ้นพบวาที่อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

4 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

48) แปงผสมมีคา<br />

Young’s modulus เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดมากกวาที่อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

35<br />

องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

47) ทั้งนี้การเกิดรีโทรเกรเดชันจะมีความสมบูรณมากขึ้นเมื่อเวลาของเจลที่<br />

ถูกทิ้งไวใหเย็นผานไป<br />

(Whistler and BeMiller, 1999) และกระบวนการเกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิด<br />

ขึ้นตลอดเวลาและจะถูกเรงใหเกิดมากขึ้นเมื่อตัวอยางถูกเก็บในอุณหภูมิตูเย็น<br />

(Colwell et al.,<br />

1969) ดังนั้นจึงมีผลทํ<br />

าใหเมื่อเวลาในการเก็บมากขึ้นเจลแปงมีความแข็งมากขึ้น<br />

และที่อุณหภูมิใน<br />

การเก็บที่ตํ<br />

าจะใหเจลที ่ ่แข็งกวาที่อุณหภูมิในการเก็บที่สูงกวา<br />

เมื่อพิจารณาอุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

35 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

47) พบวาในสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด ไดแก แปงเทายายมอมและแปงขาวเจา (ภาพ<br />

ที่<br />

47ก) และสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด ไดแกแปงเทายายมอมผสมแปงขาวเจา และ<br />

แปงทาวผสมแปงขาวเจา (ภาพที่<br />

47ข) เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้นมีแนวโนมของการเพิ่ม<br />

คา Young’s modulus มากกวาสิ่งทดลองอื่นๆ<br />

ในขณะที่สิ่งทดลองอื่นๆ<br />

ซึ่งประกอบดวยสวนผสม<br />

ของแปง 1 , 2, 3 และ 4 ชนิด มีแนวโนมของการเพิ่ม<br />

คา Young’s modulus ใกลเคียงกัน ทั้งนี้การ<br />

เกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิดขึ้นตลอดเวลาของการเก็บตัวอยาง<br />

(Colwell et al., 1969; Whistler and<br />

BeMiller, 1999 ) ดังนั้นเมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางผานไปเจลจึงมีความแข็งมากขึ้น<br />

เมื่อ<br />

พิจารณาสิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงหนึ่งชนิด<br />

พบวาเจลแปงเทายายมอมมีคา Young’s<br />

modulus ใกลเคียงกับแปงขาวเจา โดยมีคาสูงกวาเจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง เนื่อง<br />

จากแปงเทายายมอมมีปริมาณของแอมิโลสมากกวาแปงทาว แปงมันสํ าปะหลังทํ าใหการจัดเรียง<br />

ตัวเกิดไดแนนมากวาจึงมีความแข็งมากกวา (Stephen,1995) ในขณะที่เจลแปงขาวเจาถึงแมมี<br />

ปริมาณแอมิโลสนอยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับแปงเทายายมอม<br />

แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง<br />

แตกลับมีคา Young’s modulus สูงกวาเจลแปงชนิดอื่น<br />

เนื่องจากเกิดจากการจัดเรียงตัวของ<br />

แอมิโลสกับโมเลกุลไขมันเปนสารประกอบเชิงซอน ซึ่งเสริมความแข็งแรงใหแกพันธะ<br />

จึงทํ าใหเจล<br />

มีความแข็งมากที่สุด<br />

(Kim and Seib, 1993) ดังนั้นดวยคุณสมบัติในการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดี<br />

ของแปงเทายายมอมและแปงขาวเจา จึงทํ าใหเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมและแปง<br />

ขาวเจามีคา Young’s modulus สูงดวยเชนเดียวกัน


152<br />

เมื่อพิจารณาอุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

4 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

48)<br />

พบวาแปงเทายายมอมมีคา Young’s modulus เพิ่มมากขึ้นกวาแปงผสมอื่นๆ<br />

(ภาพที่<br />

48ก) ใน<br />

ขณะที่สิ่งทดลองอื่นๆ<br />

ซึ่งประกอบดวยสวนผสมของแปง<br />

1, 2, 3 และ 4 ชนิด เมื่อเวลาในการเก็บ<br />

ตัวอยางมากขึ้น<br />

มีแนวโนมของการเพิ่มคา<br />

Young’s modulus ใกลเคียงกัน ทั้งนี้การที่เจลแปง<br />

เทายายมอมมีคา Young’s modulus มากขึ้นกวาเจลแปงอื่นๆ<br />

เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้น<br />

นั้น<br />

อาจเกิดจากการเกิดรีโทรเกรเดชันของแอมิโลเพกทินที่ถูกเรงใหเกิดดวยอุณหภูมิตูเย็น(Colwell<br />

et al., 1969) ซึ่งสอดคลองกับงานของ<br />

Stephen(1995) ที่ไดใชเครื่อง<br />

DSC ศึกษาการเปลี่ยน<br />

แปลงโครงสรางของแอมิโลเพกทินในแปงมันฝรั่งซึ่งเปนแปงจากสวนหัวเชนเดียวกับแปง<br />

เทายายมอม โดยในการทดลองเมื่อใชปริมาณนํ้<br />

าที่มากเกินพอตอแปง(3:1)<br />

พบวาเมื่อทิ้งไวใหเย็น<br />

จะเกิดรีโทรเกรเดชันอยางชาๆ ของแอมิโลเพกทิน และจากคํ ากลาวของ Bowers (1992) ที่แสดง<br />

โครงสรางการเกิดรีโทรเกรเดชันของแปง โดยในการเกิดรีโทรเกรเดชันจะเกิดพื้นที่<br />

Domain A และ<br />

B ซึ่งสวนใหญเปนแอมิโลเพกทิน<br />

โดยการเกิดรีโทรเกรเดชันของแอมิโลเพกทินในแปงจากธัญพืช<br />

เกิดไดชากวาแอมิโลเพกทินของแปงจากหัว เนื่องจากในธัญพืชแอมิโลเพกทินมีความยาวของสาย<br />

โซเฉลี่ยสั้นกวา(Kalichevsky<br />

et al., 1990) ทั้งนี้การเกิดรีโทรเกรเดชันของแอมิโลเพกทินเปน<br />

สาเหตุทํ าใหเจลแปงมีความแนนเนื้อ<br />

(firmness) เพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาของการเก็บ<br />

(Ring et al.,<br />

1987) ดังนั้นการที่แปงเทายายมอมซึ่งเปนแปงจากหัวและมีปริมาณแอมิโลสมากกวาแปงทาว<br />

แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา จึงทํ าใหแปงเทายายมอมสามารถเกิดรีโทรเกรเดชันไดทั้ง<br />

แอมิโลสและแอมิโลเพกทินซึ่งเปนพื้นที่สวนใหญของแปง<br />

สงผลใหเจลแปงเทายายมอมมีโครง<br />

สรางที่แข็งแรงหรือมีความแนนเนื้อมากกวาเจลแปงชนิดอื่น


Young's modulus (kPa)<br />

Young' s modulus (kPa)<br />

Young' s modulus (kPa)<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

47 คา Young’s modulus (kPa) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

153


Young' s modulus (kPa)<br />

Young' s modulus (kPa)<br />

Young' s modulus (kPa)<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

48 คา Young’s modulus (kPa) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

154


elasticity)<br />

(2) คาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(Degree<br />

of<br />

155<br />

จากการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางที่มีตอคา<br />

Degree of elasticity ที่คํ<br />

านวณจากคาความเคน (stress, σ) และระยะ<br />

ทาง (%deformation) ผลแสดงดังตารางที่<br />

29<br />

ตารางที่<br />

29 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัย<br />

ที่มีตอคา<br />

Degree of<br />

elasticity ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


156<br />

จากตารางที่<br />

29 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัย พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


Degree of elasticity (%)<br />

Degree of elasticity (%)<br />

Degree of elasticity (%)<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

18 24<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

18 24<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

49 คา Degree of elasticity (%) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

157


Degree of elasticity (%)<br />

Degree of elasticity (%)<br />

Degree of elasticity (%)<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

18 24<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

18 24<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

50 คา Degree of elasticity (%) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

158


(3) คาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis)<br />

159<br />

จากการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางที่มีตอคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

ไดแก ความแข็ง<br />

(Hardness), ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได (Cohesiveness) , ความยืดหยุนได<br />

(Elasticity or Springiness) และ ความยากงายในการเคี้ยวตัวอยาง<br />

(Gumminess) แบงการ<br />

พิจารณาผลการศึกษาจากคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อสัมผัสในดานตางๆ<br />

ได ดังนี้<br />

- ความแข็ง (Hardness)<br />

จากตารางที่<br />

30 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคา<br />

Hardness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวามีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

30 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคา<br />

Hardness<br />

ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.013 0.000 0.048<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


Hardness (N)<br />

Hardness (N)<br />

Hardness (N)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

51 คา Hardness (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

161


Hardness (N)<br />

Hardness (N)<br />

Hardness (N)<br />

140<br />

105<br />

70<br />

35<br />

0<br />

140<br />

105<br />

70<br />

35<br />

0<br />

140<br />

105<br />

70<br />

35<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

52 คา Hardness (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

162


- ความสามารถในการเกาะรวมตัวกัน (Cohesiveness)<br />

163<br />

จากตารางที่<br />

31 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคา<br />

Cohesiveness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวามีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

31 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคาCohesiveness<br />

ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.004<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.004 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.001<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.004 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


Cohesiveness<br />

Cohesiveness<br />

Cohesiveness<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

53 คา Cohesiveness ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

165


Cohesiveness<br />

Cohesiveness<br />

Cohesiveness<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

1.0<br />

0.8<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0.0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

54 คา Cohesiveness ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

166


- คาความยืดหยุน<br />

(Springiness)<br />

167<br />

จากตารางที่<br />

32 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคา<br />

Springiness ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวาอุณหภูมิไมมีอิทธิพลตอคา<br />

Springiness ของสิ่งทดลองที่<br />

8 (แปงทาวผสมแปงมันสํ าปะหลัง) ในขณะที่เวลาในการเก็บตัว<br />

อยางมีอิทธิพลตอคา Springiness ในทุกสิ่งทดลอง(p


ตารางที่<br />

32 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคา<br />

Springiness<br />

ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.038 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.079 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


Springiness index<br />

Springiness index<br />

Springiness index<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

55 คา Springiness indexของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

169


Springiness index<br />

Springiness index<br />

Springiness index<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

56 คา Springiness index ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

170


- คาความยากงายในการเคี้ยวตัวอยาง<br />

(Gumminess)<br />

171<br />

จากตารางที่<br />

33 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคา<br />

Gumminess ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวาอุณหภูมิไมมีอิทธิพลตอคา<br />

Gumminess ในสิ่งทดลองที่<br />

15 (แปงเทายายมอมผสมแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาว<br />

เจา) ในขณะที่เวลาในการเก็บตัวอยางไมมีอิทธิพลตอคา<br />

Gumminess ในสิ่งทดลองที่<br />

2 (แปง<br />

ทาว) ทั้งนี้สิ่งทดลองที่<br />

8 (แปงทาวผสมแปงมันสํ าปะหลัง) ไมมีปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิ<br />

และเวลา (p>0.05)<br />

เมื่อนํ<br />

าคา Gumminess ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิ<br />

และเวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อเปรียบเทียบแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคา<br />

Gumminess<br />

ของเจลแปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

พบวา เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้น<br />

คา<br />

Gumminess ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองมีแนวโนมลดลง<br />

โดยที่อุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

58) เจลแปงแตละสิ่งทดลองมีคา<br />

Gumminess ลดลงอยางเห็นไดชัดมากกวาที่อุณหภูมิ<br />

35<br />

องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

57) ทั้งนี้คา<br />

Gumminess หรือคาที่บงบอกถึงความยากงายในการเคี้ยวนี้<br />

สอดคลองกับคา Cohesiveness และคา Springiness ดังจะเห็นไดวาคาเคาโครงคุณลักษณะเนื้อ<br />

สัมผัสทั้งสามคานี้มีแนวโนมลดลงเมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้น<br />

ซึ่งแสดงใหเห็นไดวาเจล<br />

แปงที่มีความสามารถในการเกาะตัวและความยืดหยุนนอย<br />

จะใชแรงหรือเวลาในการเคี้ยวนอย<br />

กวาเจลแปงที่มีคาความสามารถในการเกาะตัวและความยืดหยุนมากกวา<br />

(คา Gumminess ของ<br />

เจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันแสดงในภาคผนวก<br />

ค )


ตารางที่<br />

33 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคา<br />

Gumminess<br />

ของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.001 0.001 0.001<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.681 0.001<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.002<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.484 0.000 0.761<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.012 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.001<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.838 0.000 0.002<br />

หมายเหตุ p


Gumminess (N)<br />

Gumminess (N)<br />

Gumminess (N)<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

57 คา Gumminess (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

173


Gumminess (N)<br />

Gumminess (N)<br />

Gumminess (N)<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 6 12 18 24<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

58 คา Gumminess (N) ของเจลแปงผสม ที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

174


(ข) การวัดคาแรงดึง<br />

ในการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในการ<br />

เก็บตัวอยางที่มีตอคาแรงดึงของเจลแปงผสมทั้ง<br />

15 สิ่งทดลองนั้นจะทํ<br />

าการวัดคาแรงดึงดวยวิธี<br />

การ ดังนี้<br />

1) การวัดคาแรงดึง และ 2) การวัดคาการแตกหัก โดยในการวัดคาแรงดึงทั้งสองวิธีนี้จะ<br />

ทํ าการบันทึก คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load) , คารอยละการยืดตัว ณ<br />

แรงสูงสุด (Percentage extension at maximum fload) และคางานทั้งหมด<br />

(Total work) ทั้งนี้<br />

สามารถแบงการพิจารณาผลการศึกษาไดตามวิธีการวัดคาแรงดึง ดังนี้<br />

(1) การวัดคาแรงดึง (Tensile test)<br />

175<br />

จากการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางที่มีตอคาแรงดึงในดานตางๆ<br />

แบงการพิจารณาตามคาที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

ดังนี้<br />

- คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load)<br />

จากตารางที่<br />

34 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวามีความแตกตางกันอยาง<br />

มีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

34 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคาความเคน<br />

ณ<br />

แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.328 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.000 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.003<br />

หมายเหตุ p


177<br />

เมื่อนํ<br />

าคาความเคน ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บใน<br />

อุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมาก<br />

ขึ้น<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

โดยที่อุณหภูมิ<br />

4<br />

องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

60) เจลแปงแตละสิ่งทดลองจะมีการเพิ่มขึ้นของคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

อยางเห็นไดชัดกวา ในขณะที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

59) คาความเคน ณ แรงสูงสุดมี<br />

การเปลี่ยนแปลงเล็กนอย<br />

โดยมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากเมื่ออุณหภูมิลดตํ่<br />

าลงการเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันของแปงเกิดไดดียิ่งขึ้น<br />

โครงสรางของเจลแปงจับกันแนนขึ้น<br />

จึงตองใชแรงมากขึ้นใน<br />

การดึงเจลแปงใหขาด (Colwell et al., 1969) ทั้งนี้ยกเวนสิ่งทดลองที่<br />

2 (แปงทาว) ซึ่งอุณหภูมิไมมี<br />

อิทธิพลตอคาความเคนสูงสุด ที่อุณหภูมิตางกันความแตกตางของคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด จึงมี<br />

คานอย(คาความเคน ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิและเวลาที่แตก<br />

ตางกันแสดงในภาคผนวก ง) เมื่อพิจารณาสิ่งทดลองที่1<br />

(แปงเทายายมอม) ที่อุณหภูมิในการเก็บ<br />

ที่<br />

35 และ 4 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

59ก และ 60ก ตามลํ าดับ) มีคาความเคน ณ แรงสูงสุด สูงกวา<br />

เจลแปงอื่นๆ<br />

มาก อาจเกิดจากแปงเทายายมอมซึ่งเปนแปงจากสวนหัวสามารถเกิดรีโทรเกรเดชัน<br />

ไดทั้งแอมิโลสและแอมิโลเพกทินเมื่อเวลาในการเก็บมากขึ้นและอุณหภูมิในการเก็บตํ่<br />

า ซึ่งการเกิด<br />

รีโทรเกรเดชันของแอมิโลเพกทินจะชวยทํ าใหเจลแปงมีความแข็งแรงมากขึ้น(Colwell<br />

et al.,<br />

1969)


คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

59 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

178


คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

60 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

179


maximum load)<br />

- คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at<br />

180<br />

จากตารางที่<br />

35 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

พบวาอุณหภูมิไมมี<br />

อิทธิพลตอคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดของสิ่งทดลองที่<br />

4 (แปงขาวเจา) และสิ่งทดลองที่<br />

9<br />

(แปงทาวผสมแปงขาวเจา) ในขณะที่เวลาในการเก็บตัวอยางมีอิทธิพลตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ<br />

แรงสูงสุดของทุกสิ่งทดลอง(p0.05)<br />

เมื่อนํ<br />

าคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่<br />

เก็บในอุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคา<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

เมื่อเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางมากขึ้นอุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส (ภาพที่<br />

62) เจลแปงแตละสิ่งทดลองจะมีการ<br />

ลดลงของคารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด อยางเห็นไดชัด ในขณะที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียส<br />

(ภาพที่<br />

61) คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองจะมีการเปลี่ยนแปลง<br />

เล็กนอย โดยมีแนวโนมลดลง แสดงใหเห็นไดวาเมื่อเวลาผานไปอุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่ตํ่<br />

า<br />

จะทํ าใหเจลแปงยืดตัวไดนอยลงหรือมีความเหนียวลดลง การลดลงของคารอยละการยืดตัว ณ<br />

แรงสูงสุดที่อุณหภูมิ4<br />

องศาเวลาเซียส มากกวาการลดลงที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียส เนื่องจาก<br />

เฟสที่เปนของเหลวซึ่งโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่ไดและทํ<br />

าใหเจลมีความยืดหยุนเกิดการเคลื่อนที่ได<br />

นอยลงเมื่ออุณหภูมิตํ่<br />

า (Colwell et al., 1969) จึงมีผลทํ าใหเจลแปงมีคารอยละการยืดตัว ณ แรง<br />

สูงสุดที่อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

4 องศาเซลเซียสลดลงมากกวาอุณหภูมิในการเก็บตัวอยางที่<br />

35 องศาเซลเซียส (คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บใน<br />

อุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันแสดงในภาคผนวก<br />

ง )


ตารางที่<br />

35 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคารอยละการยืด<br />

ตัว ณ แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.252 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.110 0.000 0.871<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.017 0.002 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.030 0.004<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.041 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

61 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปง<br />

ผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

182


รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

62 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปง<br />

ผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

183


- คางานทั้งหมด<br />

(Total work)<br />

184<br />

เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values ของปจจัยหลัก<br />

ดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคางาน<br />

ทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

จากตารางที่<br />

36 พบวา อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางไมมี<br />

อิทธิพลตอคางานทั้งหมดของสิ่งทดลองที่<br />

8 (แปงทาวผสมแปงมันสํ าปะหลัง) , สิ่งทดลองที่<br />

9<br />

(แปงทาวผสมแปงขาวเจา), สิ่งทดลองที่<br />

10 (แปงมันสํ าปะหลังผสมแปงขาวเจา) และสิ่งทดลองที่<br />

14 (แปงทาวผสมแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา) ในขณะที่เวลาในการเก็บตัวอยางไมมี<br />

อิทธิพลตอคางานทั้งหมดของสิ่งทดลองที่<br />

5 (แปงเทายายมอมผสมแปงทาว) และไมมีปฏิกิริยา<br />

สัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาในสิ่งทดลองที่<br />

2(แปงทาว), สิ่งทดลองที่<br />

3 (แปงมันสํ าปะหลัง),<br />

สิ่งทดลองที่<br />

7(แปงเทายายมอมผสมแปงขาวเจา), สิ่งทดลองที่<br />

8 (แปงทาวผสมแปงมันสํ าปะหลัง)<br />

, สิ่งทดลองที่<br />

13 (แปงเทายายมอมผสมแปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา) และ สิ่งทดลองที่<br />

15 (แปงเทายายมอมผสมแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา)<br />

เมื่อนํ<br />

าคางานทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิและ<br />

เวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคางานทั้งหมดของเจล<br />

แปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้น<br />

พบวาคางานทั้ง<br />

หมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองมีการเปลี่ยนแปลงเล็กนอยโดยมีแนวโนมลดลง<br />

ที่อุณหภูมิตาง<br />

กันคางานทั้งหมดของอุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

64) มีคานอยกวาคางานทั้งหมดที่<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซียส (ภาพที่<br />

63) (คางานทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิ<br />

และเวลาที่แตกตางกันแสดงในภาคผนวก<br />

ง )


ตารางที่<br />

36 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคางานทั้งหมด<br />

ที่ไดจากการวัดคาแรงดึงของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.009 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.008 0.000 0.086<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.007 0.008 0.277<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.001 0.000 0.002<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.072 0.027<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.014 0.002<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.070<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.789 0.000 0.078<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.062 0.000 0.004<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.057 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.002 0.003<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.001 0.000 0.001<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.004 0.083<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.420 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.013 0.345<br />

หมายเหตุ p


คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

63 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปงผสมที่<br />

เก็บ ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

186


คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

64 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาแรงดึง<br />

(Tensile test) ของเจลแปงผสมที่<br />

เก็บ ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

187


(2) การวัดคาการแตกหัก (Fracture test)<br />

188<br />

จากการศึกษาอิทธิพลและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางที่มีตอคาการแตกหักในดานตางๆ<br />

แบงการพิจารณาตามคาที่ไดจากการวัดคา<br />

การแตกหัก ดังนี้<br />

- คาความเคน ณ แรงสูงสุด (Stress at maximum load)<br />

จากตารางที่<br />

37 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองพบวามีความแตกตางกันอยาง<br />

มีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

37 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคาความเคน<br />

ณ<br />

แรงสูงสุด จากการวัดคาการแตกหักของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.010<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.007 0.000 0.000<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.001<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.000 0.002 0.016<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.000 0.000 0.007<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.003<br />

หมายเหตุ p


คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

65 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

190


คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa)<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

66 คาความเคน ณ แรงสูงสุด (mPa) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

191


maximum load)<br />

- คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด (Percentage extension at<br />

192<br />

จากตารางที่<br />

38 เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values<br />

ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสอง<br />

ปจจัยที่มีตอคารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด ของเจลแปงแตละสิ่งทดลองพบวามีความแตกตาง<br />

กันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


ตารางที่<br />

38 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคารอยละการยืด<br />

ตัว ณ แรงสูงสุด ที่ไดจากการวัดคาแตกหักของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.000 0.000 0.007<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.005 0.000 0.004<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.018 0.000 0.007<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.009 0.000 0.000<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.000 0.019 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.000 0.000 0.001<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.000 0.000 0.000<br />

หมายเหตุ p


รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

67 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

194


รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

รอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุด<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

100<br />

75<br />

50<br />

25<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

ภาพที่<br />

68 คารอยละการยืดตัว ณ แรงสูงสุดที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของ<br />

เจลแปงผสมที่เก็บ<br />

ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)<br />

195


- คางานทั้งหมด<br />

(Total work)<br />

196<br />

เมื่อพิจารณาคาความนาจะเปนทางสถิติของ<br />

F-values ของปจจัยหลัก<br />

ดานอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีตอคางาน<br />

ทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

จากตารางที่<br />

39 พบวา อุณหภูมิในการเก็บตัวอยางไมมี<br />

อิทธิพลตอคางานทั้งหมดของสิ่งทดลองที่<br />

2 (แปงทาว), สิ่งทดลองที่<br />

8 (แปงทาวผสมแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง) , สิ่งทดลองที่<br />

9 (แปงทาวผสมแปงขาวเจา), สิ่งทดลองที่<br />

10 (แปงมันสํ าปะหลังผสม<br />

แปงขาวเจา),สิ่งทดลองที่<br />

12 (แปงเทายายมอมผสมแปงทาวและแปงขาวเจา) และสิ่งทดลองที่<br />

13<br />

(แปงเทายายมอมผสมแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา)ในขณะที่เวลาในการเก็บตัวอยางมี<br />

อิทธิพลตอคางานทั้งหมดของทุกสิ่งทดลอง<br />

และไมมีปฏิกิริยาสัมพันธระหวางอุณหภูมิและเวลาใน<br />

สิ่งทดลองที่<br />

2 (แปงทาว), สิ่งทดลองที่<br />

3 (แปงมันสํ าปะหลัง), สิ่งทดลองที่<br />

4 (แปงขาวเจา) และ<br />

สิ่งทดลองที่<br />

10 (แปงมันสํ าปะหลังผสมแปงขาวเจา)<br />

เมื่อนํ<br />

าคางานทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิและ<br />

เวลาที่แตกตางกันมาสรางกราฟ<br />

เพื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงคางานทั้งหมดของเจล<br />

แปงที่เกิดจากอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา<br />

พบวา เมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางมากขึ้น<br />

คางานทั้ง<br />

หมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองมีแนวโนมลดลง<br />

ที่อุณหภูมิตางกันคางานทั้งหมดของอุณหภูมิ<br />

4<br />

องศาเซลเซียส(ภาพที่<br />

70) มีคานอยกวาคางานทั้งหมดที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซียส(ภาพที่<br />

69) (คา<br />

งานทั้งหมดของเจลแปงแตละสิ่งทดลองที่เก็บในอุณหภูมิและเวลาที่แตกตางกันแสดงในภาค<br />

ผนวก จ )


ตารางที่<br />

39 คาความนาจะเปนทางสถิติของ F-values ของปจจัยหลักดานอุณหภูมิและเวลาใน<br />

การเก็บตัวอยางและปฏิกิริยาสัมพันธระหวางทั้งสองปจจัยที่มีคางานทั้งหมด<br />

ที่ได<br />

จากการวัดคาการแตกหักของเจลแปงแตละสิ่งทดลอง<br />

สิ่ง<br />

อัตราสวนของแปงแตละชนิด คานัยสํ าคัญทางสถิติของ F-values (p-values)<br />

ทดลอง (เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) อุณหภูมิ เวลา อุณหภูมิ ×เวลา<br />

1 1 : 0 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 0.606 0.000 0.219<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 0.024 0.002 0.173<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 0.001 0.000 0.697<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.000 0.000 0.000<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 0.709 0.000 0.005<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 0.474 0.001 0.001<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.144 0.000 0.056<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 0.000 0.000 0.000<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 0.159 0.000 0.000<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.529 0.000 0.000<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 0.046 0.001 0.000<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 0.003 0.006 0.008<br />

หมายเหตุ p


คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

198<br />

ภาพที่<br />

69 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของเจลแปงผสมที่<br />

เก็บ ณ อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)


คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ก) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

1 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ข) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

2 ชนิด<br />

0 4 8 12 16 20<br />

เวลา (ชั่วโมง)<br />

(ค) เจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

3 และ 4 ชนิด<br />

Y:T:C:R =1:0:0:0<br />

Y:T:C:R =0:1:0:0<br />

Y:T:C:R =0:0:1:0<br />

Y:T:C:R =0:0:0:1<br />

Y:T:C:R =0.5:0.5:0:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0.5:0:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0.5:0<br />

Y:T:C:R =0:0.5:0:0.5<br />

Y:T:C:R =0:0:0.5:0.5<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0.33:0<br />

Y:T:C:R =0.33:0.33:0:0.33<br />

Y:T:C:R =0.33:0:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0:0.33:0.33:0.33<br />

Y:T:C:R =0.25:0.25:0.25:0.25<br />

199<br />

ภาพที่<br />

70 คางานทั้งหมด<br />

(mJ) ที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของเจลแปงผสมที่<br />

เก็บ ณ อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส<br />

(อัตราสวนของแปงเทายายมอม(Y) : แปงทาว(T) : แปงมันสํ าปะหลัง(C) : แปง<br />

ขาวเจา(R) ในเจลแปงผสมรวมกันตองเทากับ 1)


4. การศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

200<br />

ศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

โดยเปรียบ<br />

เทียบลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงตางชนิดกัน<br />

ไดแก 1)แปงเทายายมอมที่<br />

ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ 2)แปงทาว และ 3) แปงมันสํ าปะหลัง โดยใหสิ่งทดลองที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการเปนสิ่งทดลองควบคุม<br />

วิเคราะห<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นโดยวิธีการทางกลและการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

ดังนี้<br />

4.1 การวัดลักษณะเนื้อสัมผัสโดยวิธีการทางกล<br />

วัดคาคุณลักษณะทางดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

โดยใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

Lloyd<br />

Instrument TA500 โดยทํ าการวัดคาแรงตัดสูงสุด(Maximum cutting force) ระดับความสามารถ<br />

ในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมของผลิตภัณฑ(Degree<br />

of elasticity) และคาเคาโครงคุณลักษณะ<br />

เนื้อสัมผัส<br />

(Texture Profile Analysis) ไดแก ความแข็ง(Hardness), ความยืดหยุนได(Elasticity<br />

or Springiness), ความสามารถในการเกาะรวมตัวกันได(Cohesiveness) , ความสามารถในการ<br />

เกาะติดผิววัสดุ(Adhesiveness), ความยากงายในการเคี้ยว<br />

(Gumminess) ผลดังตารางที่<br />

40<br />

ตารางที่<br />

40 คาคุณลักษณะทางดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

เมื่อวัดโดยใชเครื่องวัดคาเนื้อสัมผัส<br />

LLOYD Instrument TA500<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

สิ่งทดลองที่มีสวนผสมของแปงตางชนิดกัน<br />

แปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง<br />

Maximum cutting force (N) 5.62+0.19 b 5.27+0.06 b 6.92+0.26 a<br />

Degree of elasticity (%) 45.58+5.21 a 37.34+3.85 b 34.98+1.65 b<br />

Hardness (N) 29.81+4.89 b 33.52+6.90 ab 41.94+6.48 a<br />

Cohesiveness(-) 0.44+0.03 a 0.37+0.01 b 0.39+0.04 ab<br />

Springiness index 10.70+0.33 ab 10.44+0.13 b 10.44+0.05 b<br />

Gumminess (N) 13.10+1.79 b 12.54+2.38 b 16.26+1.18 a<br />

Adhesiveness(Nmm) ns 1.02+0.45 1.30+0.41 1.33+0.22<br />

หมายเหตุ a-b หมายถึง คาเฉลี่ยของขอมูลที่อยูในแถวนอนเดียวกันที่มีตัวอักษรตางกันมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p


201<br />

จากตารางที่<br />

40 เมื่อเปรียบเทียบลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ(YF)<br />

ซึ่งเปนตัวอยางควบคุม<br />

กับ ขนมชั้นที่มีสวนผสม<br />

ของแปงชนิดอื่นอีก<br />

2 ชนิดไดแก 1)ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงทาว(TF)<br />

และ 2)ขนมชั้นที่มีสวน<br />

ผสมของแปงมันสํ าปะหลัง(CF) พบวา เมื่อเปรียบเทียบขนมชั้น<br />

YF กับขนมชั้น<br />

TF และ CF พบวา<br />

ขนมชั้น<br />

YF มีคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม(degree<br />

of elasticity) และคา<br />

ความยืดหยุน<br />

(springiness) มากกวาขนมชั้น<br />

TF และ CF ซึ่งผลการทดลองนี้สอดคลองกับคุณ<br />

สมบัติของแปงเทายายมอมซึ่งมีขนาดแอมิโลสยาวกวาแปงทาวและแปงมันสํ<br />

าปะหลัง จึงทํ าให<br />

ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมมีความยืดหยุนไดมากกวา<br />

(Mua and Jackson, 1998)<br />

ทั้งนี้การที่ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมใหคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสู<br />

สภาพเดิมและคาความยืดหยุนสูง<br />

บงบอกถึงลักษณะที่เดนและแตกตางของแปงเทายายมอมเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับแปงทาวและแปงมันสํ าปะหลัง นั่นคือ<br />

แปงเทายายมอมจะใหลักษณะของ<br />

ผลิตภัณฑที่มีความยืดหยุนมากกวาผลิตภัณฑที่มีสวนผสมของแปงทาวและแปงมันสํ<br />

าปะหลัง<br />

และเมื่อพิจารณาจากตารางที่<br />

40 จะพบวาวิธีการวัดคาทางกลโดยใชเครื่องวัดคาเนื้อ<br />

สัมผัสนี้สามารถบอกถึงความแตกตางและความเหมือนของลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นทั้ง<br />

3<br />

ชนิดที่กลาวมาไดเปนอยางดี<br />

ซึ่งวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสที่ใชคนเปนผูประเมิน<br />

อาจจะไมสามารถบอกถึงความแตกตางหรือความเหมือนของลักษณะเนื้อสัมผัสเหลานี้ได<br />

จึงไดทํ า<br />

การศึกษาตอในขอ 4.2<br />

4.2 การวัดลักษณะเนื้อสัมผัสโดยวิธีการประเมินคาทางประสาทสัมผัส<br />

จากการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

โดยใชวิธีการ R-<br />

index ซึ่งเปนวิธีการที่บงบอกถึงความนาจะเปนหรือความสามารถของผูชิมในการแยกแยะความ<br />

แตกตาง ในการประเมินใชผูชิมที่ไมไดรับการฝกฝนจํ<br />

านวน 60 คน แยกแยะความแตกตางดานเนื้อ<br />

สัมผัสของขนมชั้นในดาน<br />

ความงายในการลอกชั้น<br />

ความเหนียว แรงกัดขาด และ ความยากงายใน<br />

การเคี้ยว<br />

โดยกํ าหนดให ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงทาว(TF)<br />

และขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปง<br />

มันสํ าปะหลัง(CF) เปนตัวอยางที่ใชทดสอบความแตกตางดานเนื้อสัมผัสเปรียบเทียบกับตัวอยาง<br />

ควบคุม คือขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

(YF) ผลการ<br />

ประเมินคาทางประสาทสัมผัสแสดงดังตารางที่<br />

41


ตารางที่<br />

41 เปรียบเทียบคา R-index ของคุณลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้นแตละสิ่งทดลอง<br />

กับ<br />

สิ่งทดลองควบคุม(มีสวนผสมของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ)<br />

ลักษณะเนื้อสัมผัส<br />

สิ่งทดลอง<br />

R-index more<br />

Weight- Bipolar<br />

R-index less<br />

ความงายในการลอกชั้น<br />

แปงทาว 0.51 nc<br />

แปงมันสํ าปะหลัง nc 0.63*<br />

ความเหนียว แปงทาว 0.55 nc<br />

แปงมันสํ าปะหลัง 0.69* nc<br />

แรงกัดขาด แปงทาว 0.64* nc<br />

แปงมันสํ าปะหลัง 0.85* nc<br />

ความยากในการเคี้ยว<br />

แปงทาว 0.69* nc<br />

แปงมันสํ าปะหลัง 0.83* nc<br />

หมายเหตุ * มีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p0.05) และขนมชั้น<br />

TF ใช<br />

แรงในการกัดและการเคี้ยวนอยกวาขนมชั้น<br />

YF


(2) ขนมชั้น<br />

CF กับขนมชั้น<br />

YF<br />

203<br />

เมื่อเปรียบเทียบลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

CF กับขนมชั้น<br />

YF พบวา ขนมชั้น<br />

CF มี<br />

ความงายในการลอกชั้นนอยกวาขนมชั้น<br />

YF และขนมชั้น<br />

CF มีความเหนียวและตองใชแรงในการ<br />

กัดและการเคี้ยวมากกวาขนมชั้น<br />

YF<br />

จากตารางที่<br />

41 ชี้ใหเห็นวาการใชผูทดสอบที่ไมไดรับการฝกฝนทํ<br />

าการการประเมินคุณ<br />

ภาพทางประสาทสัมผัสดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้นทั้ง<br />

3 ชนิดนี้จะสามารถแยกแยะความแตกตาง<br />

ไดบางคุณลักษณะเทานั้น<br />

และเมื่อพิจารณาคาที่ไดจากการวัดคาทางกล<br />

(ตารางที่<br />

40) และคาที่<br />

ไดจากการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสดานเนื้อสัมผัสของขนมชั้นรวมกัน<br />

แสดงใหเห็นได<br />

วาการใชแปงเทายายมอมในผลิตภัณฑขนมชั้นจะใหลักษณะเนื้อสัมผัสที่แตกตางกับขนมชั้นที่มี<br />

สวนผสมของแปงทาว และขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงมันสํ<br />

าปะหลัง โดยขนมชั้นที่มีสวนผสมของ<br />

แปงเทายายมอมจะมีลักษณะเดน คือ มีความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิมหรือความยืด<br />

หยุ นสูงกวาขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงทาวและแปงมันสํ<br />

าปะหลัง


สรุปผลการทดลอง<br />

204<br />

การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของแปงเทายายมอม และการนํ าไปใช<br />

ประโยชนในขนมชั้น<br />

โดยการเปรียบเทียบคุณสมบัติของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหอง<br />

ปฏิบัติการกับแปงที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดอีก 4 ชนิด คือ แปงเทายายมอม(รานชูถิ่น)<br />

แปงทาว<br />

(ตราปลามังกร) แปงมันสํ าปะหลัง(ตราปลามังกร) และแปงขาวเจา(ตรานิวเกรด) สรุปผลได ดังนี้<br />

1. หัวเทายายมอมสดมีองคประกอบทางเคมีโดยประมาณ(รอยละนํ้<br />

าหนักแหง) ไดแก<br />

ไขมัน เสนใยหยาบ โปรตีน และเถา เทากับ รอยละ 0.39, 2.97, 6.76 และ 2.2 และมีปริมาณ<br />

คารโบไฮเดรตรอยละ 87.66 เมื่อนํ<br />

าหัวเทายายมอมสดมาสกัดเปนแปงจะไดปริมาณแปงรอยละ<br />

21 ของนํ้<br />

าหนักหัวสด<br />

2. องคประกอบทางเคมีโดยประมาณ(รอยละนํ้<br />

าหนักแหง) ไดแก ไขมัน เสนใยหยาบ<br />

โปรตีน เถา ของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการมีคาใกลเคียงกับแปง<br />

เทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง แตทั้งนี้มีคานอยกวาแปง<br />

ขาวเจา เมื่อพิจารณาปริมาณคารโบไฮเดรต<br />

และสิ่งเจือปน<br />

เชน ไขมัน โปรตีน พบวา แปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว<br />

และแปงมันสํ าปะหลัง มีความบริสุทธิ์ของแปงมากจัดเปนแปงสตารช<br />

(starch) ในขณะที่แปงขาว<br />

เจามีสิ่งเจือปนมากกวาจัดเปนแปงฟลาว(flour)<br />

3. ปริมาณและขนาดของแอมิโลสเมื่อวิเคราะหดวยวิธี<br />

High Performance Size<br />

Exclusion Chromatography (HPSEC) พบวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง มีปริมาณแอมิโลสเทา<br />

กับ 28.90, 28.73, 21.77 และ 24.61 ตามลํ าดับ และมีขนาดแอมิโลส(DPn) เทากับ 2418, 1830,<br />

1273 และ 1640 ตามลํ าดับ วิธี HPSEC นี้ไมสามารถหาปริมาณและขนาดแอมิโลสในแปงขาวเจา<br />

ได เนื่องจากแปงขาวเจามีปริมาณโปรตีนสูงจึงไมสามารถฉีดตัวอยางผานกระดาษกรองเพื่อเขา<br />

เครื่อง<br />

HPSEC ได


205<br />

4. เมื่อพิจารณาคาความขาวของแปงแตละชนิดพบวา<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับ<br />

หองปฏิบัติการ มีคาความขาวมากกวาแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด โดยแปง<br />

เทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดมีคาความขาวนอย<br />

กวาแปงมันสํ าปะหลัง แตมากกวาแปงทาว และแปงขาวเจาตามลํ าดับ<br />

5. รูปรางของเม็ดแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง มีรูปรางรูปไขที่มีรอยตัด<br />

ทั้งนี้เม็ดแปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

มีพื้นผิวไมเรียบเทาเม็ดแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาด ซึ่งอาจเกิดจากกระบวนการในการบดแปง<br />

ในขณะที่แปงขาวเจามีรูปรางแบนมี<br />

หลายเหลี่ยม<br />

เมื่อพิจารณาคารอยละการกระจายตัวของขนาดเม็ดแปงเทายายมอมที่ผลิตไดใน<br />

ระดับหองปฏิบัติการ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และ<br />

แปงขาวเจา มีคาเทากับ 21.20, 16.37, 10.25, 10.35 และ 5.61 ไมครอน<br />

6. รูปแบบ X-ray diffraction pattern ของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติ<br />

การ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา พบ<br />

วา มีรูปแบบโครงสรางผลึกแบบ Type-A<br />

7. คากํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหอง<br />

ปฏิบัติการ แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาว<br />

เจามีคาสูงขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น<br />

คากํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายเรียงลํ าดับจากมาก<br />

ไปนอย ไดแก แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาด แปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

และแปงขาวเจา ตามลํ าดับ<br />

8. การเกิดเจลาติไนซเมื่อศึกษาดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimeter (DSC)<br />

พบวา แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทอง<br />

ตลาด แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา มีชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซ เทากับ<br />

68-83, 70-85, 65-82, 59-83 และ 61-78 องศาเซลเซียส และมีพลังงานในการเกิดเจลาติไนซเทา<br />

กับ 15.56, 16.29, 15.56, 15.80 และ 11.27 จูลตอกรัม ตามลํ าดับ


206<br />

9. เมื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

ดวยเครื่อง<br />

Rapid Visco Analyzer<br />

(RVA) พบวาแปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

แปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตาม<br />

ทองตลาด มีอุณหภูมิที่เกิดการเปลี่ยนแปลงคาความหนืดไมแตกตางกับแปงขาวเจา<br />

โดยอยูในชวง<br />

73-74 องศาเซลเซียส แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและแปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาดมีคาความหนืดสูงสุดสูงที่สุด<br />

อยูในชวง<br />

302-322 RVU และมีคาความหนืด<br />

สุดทายอยูในระดับปานกลาง(202-243 RVU) โดยมีคาความหนืดสุดทายนอยกวาแปงขาวเจา<br />

(332 RVU) แตมากกวาแปงมันสํ าปะหลัง(172 RVU)และแปงทาว (70 RVU) ตามลํ าดับ ทั้งนี้เจล<br />

แปงทั้ง<br />

5 ชนิดมีคาการคืนตัวเปนบวก ดังนั้นเมื่อผานการใหความรอนและทํ<br />

าใหเย็น จะใหลักษณะ<br />

ของเจลได<br />

10. คาความโปรงแสงของเจลแปง เมื่อวิเคราะหโดยวัดปริมาณแสงสองผานพบวาแปง<br />

เทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ<br />

มีคาความโปรงแสงมากกวาแปงเทายายมอมที่<br />

จํ าหนายตามทองตลาด โดยแปงเทายายมอมทั้งที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการและที่จํ<br />

าหนาย<br />

ตามทองตลาดมีคาความโปรงแสงนอยกวาแปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง ตามลํ าดับ ทั้งนี้แปง<br />

ขาวเจามีคาความโปรงแสงนอยที่สุด<br />

11. ลักษณะไอโซเทอมการดูดซับความชื้นที่อุณหภูมิ<br />

35 และ 45 องศาเซลเซียส ของแปง<br />

ทั้ง<br />

5 ชนิดมีรูปรางคลายตัวเอส เมื่อใชแบบจํ<br />

าลองทางคณิตศาสตรของ GAB อธิบายลักษณะ<br />

กราฟไอโซเทอม พบวาที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียส ปริมาณความชื้นในระดับชั้นโมโนเลเยอร<br />

(aw = 0.25) ของแปงเทายายมอมที่จํ<br />

าหนายตามทองตลาดมีคาสูงสุด (รอยละ 11.59) รองลงมาไดแก<br />

แปงเทายายมอมที่ผลิตไดในระดับหองปฏิบัติการ(รอยละ<br />

10.01) แปงทาว(รอยละ 9.59) แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง(รอยละ 9.26) และแปงขาวเจา(รอยละ 9.27) และที่อุณหภูมิ<br />

45 องศาเซลเซียส<br />

ปริมาณความชื้นในระดับชั้นโมโนเลเยอรมีคาลดลง<br />

12. จากการศึกษาคุณสมบัติทางกลของเจลแปงแตละชนิด ไดแก เจลแปงเทายายมอม<br />

เจลแปงทาว เจลแปงมันสํ าปะหลัง และเจลแปงขาวเจา โดยวิธีการวัดคาแรงกดและวิธีการวัดคา<br />

แรงดึง แสดงใหเห็นวาเจลแปงทั้ง<br />

4 ชนิดมีความแตกตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ(p


207<br />

เจลแปงทาว และเจลแปงมันสํ าปะหลัง เจลมีลักษณะเหนียว และใส ในขณะที่เจลแปงขาวเจามี<br />

ลักษณะรวน และทึบแสง<br />

13.จากการศึกษาอิทธิพลของชนิดแปงที่มีตอคุณสมบัติทางกลของแปงผสมที่มีสวนผสม<br />

ของ แปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา เมื่อพิจารณาอิทธิพลของชนิด<br />

แปงที่มีตอคุณสมบัติทางกลจากคาสัมประสิทธิ์ของสมการรีเกรสชัน<br />

ใชแบบหุนเชิงเสนตรงจาก<br />

การวัดคาคุณสมบัติทางกลดวยวิธีการ ดังนี้<br />

1) การวัดการเปลี่ยนแปลงทางดานความหนืด<br />

พบวา<br />

แปงเทายายมอมมีอิทธิพลตอคุณสมบัติดาน peak viscosity, breakdown มากกวาแปงทาว แปง<br />

มันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา 2) การวัดคาแรงกด พบวาแปงเทายายมอมมีอิทธิพลตอคุณสมบัติ<br />

ทางดาน Young’s modulus, Degree of elasticity, Hardness, Gumminess มากกวาแปงทาว<br />

แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา และ 3) การวัดคาแรงดึง พบวา แปงเทายายมอมมีอิทธิพลตอ<br />

คุณสมบัติทางดานคาความเคน ณ แรงสูงสุด และคางานทั้งหมด<br />

มากกวาแปงทาว แปงมัน<br />

สํ าปะหลัง และแปงขาวเจา<br />

14. จากการศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บตัวอยางที่มีตอคุณสมบัติทาง<br />

กลของเจลแปงผสมที่มีสวนผสมของ<br />

แปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาว<br />

เจา จากการวัดคาแรงกดและแรงดึง เมื่อพิจารณาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงจากกราฟความ<br />

สัมพันธระหวางอุณหภูมิกับเวลาที่ใชในการเก็บตัวอยาง<br />

พบวาเมื่อเวลาในการเก็บตัวอยางเพิ่มขึ้น<br />

ที่อุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส คาที่ไดจากการวัดคาแรงกดและแรงดึงมีการเปลี่ยนแปลงมากกวาที่<br />

อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส เนื่องจากอุณหภูมิตํ่<br />

าสามารถเรงการเกิดรีโทรเกรเดชันไดดีกวาที่<br />

อุณหภูมิสูงกวา<br />

15. จากการศึกษาอิทธิพลของแปงเทายายมอมที่มีผลตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมชั้น<br />

โดยวิธีการวัดคาทางกลและวิธีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสดวยวิธีการ R-index พบวา<br />

การใชแปงเทายายมอมในผลิตภัณฑขนมชั้นจะใหลักษณะเนื้อสัมผัสที่แตกตางกับขนมชั้นที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาว และขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงมันสํ<br />

าปะหลัง จากวิธีการวัดคาทางกลพบวา<br />

ขนมชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมมีคาระดับความสามารถในการคืนตัวกลับสูสภาพเดิม<br />

(degree of elasticity) และคาความยืดหยุน<br />

(springiness) มากกวาขนมชั้นอีกสองชนิด<br />

และจาก<br />

การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสพบวาผูทดสอบสามารถแยกแยะความแตกตางของขนม


208<br />

ชั้นที่มีสวนผสมของแปงเทายายมอมกับขนมชั้นอีกสองชนิดไดโดยเฉพาะในดานแรงกัดขาดและ<br />

ความยากงายในการเคี้ยว<br />

16. จากการศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแปงเทายายมอมที่ไดกลาวมา<br />

สามารถสรุปคุณสมบัติของแปงเทายายมอมไดดังแสดงในตารางที่<br />

42 ดังนี้<br />

ตารางที่<br />

42 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของแปงเทายายมอม<br />

่<br />

่<br />

คุณสมบัติ แปงเทายายมอม<br />

1. องคประกอบทางเคมี<br />

- ไขมัน (%) 0.03<br />

- เสนใยหยาบ (%) 0.41<br />

- โปรตีน (%) 0.05<br />

- เถา (%) 0.15<br />

- คารโบไฮเดรต (%) 99.36<br />

2. ปริมาณแอมิโลส (%) 28.90<br />

3. ขนาดแอมิโลส(DPn) 2418.30<br />

4. ขนาดเม็ดแปง 21.20<br />

5. รูปรางเม็ดแปง รูปไข มีรอยตัด<br />

6. ความขาว(whiteness) 94.35<br />

7. รูปแบบ X-ray diffraction Type A<br />

8. ปริมาณความเปนผลึกสัมพัทธ 27-28<br />

9. กํ าลังการพองตัว ที 95 °C<br />

33.28<br />

10. ความสามารถในการละลาย ที 95 °C<br />

45.88<br />

11. ชวงอุณหภูมิในการเกิดเจลาติไนซ (°C)<br />

68-83<br />

12. Pasting temperature (°C)<br />

73.42<br />

13. Peak viscosity (RVU) 317.96<br />

14. Final viscosity (RVU) 242.70<br />

15. Trough viscosity (RVU) 120.79<br />

16. ความใสของเจลแปง โปรงแสง<br />

17. เนื้อสัมผัสของเจลแปง<br />

เหนียว ไมรวน


ขอเสนอแนะ<br />

209<br />

1. เนื่องจากแปงเทายายมอมมีคุณสมบัติเดนในดานการคืนตัวกลับ<br />

โดยมีการคืนตัว<br />

กลับที่สูง<br />

และใหเจลแปงที่มีลักษณะโปรงแสง<br />

จึงเหมาะที่จะนํ<br />

าไปใชกับผลิตภัณฑที่ตองการความ<br />

คงตัว เชน ขนมชั้น<br />

ขนมเปยกปูน หรือขึ้นรูปเปนแผนได<br />

เชน เสนกวยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ<br />

ซึ่งผลิตภัณฑ<br />

เหลานี้ตองการความใส<br />

การนํ าแปงเทายายมอมมาใชเปนสวนผสมจะทํ าใหไดผลิตภัณฑที่มี<br />

ลักษณะตามที่กลาวมา<br />

2. ในการนํ าแปงเทายายมอมมาใชกับผลิตภัณฑแชแข็ง หรือผลิตภัณฑที่ตองการยืด<br />

อายุการเก็บ เชน ขนมชั้น<br />

ควรใชแปงเทายายมอมผสมกับแปงชนิดอื่นที่มีการเกิดรีโทรเกรเดชันตํ่<br />

า<br />

กวา เชน แปงมันสํ าปะหลัง เนื่องจากแปงเทายายมอมมีการเกิดรีโทรเกรเดชันที่เร็วโดยเฉพาะเมื่อ<br />

มีการเรงดวยอุณหภูมิที่ตํ่<br />

า ซึ่งจะทํ<br />

าใหผลิตภัณฑที่เก็บไวนานมีความแข็งเพิ่มมากขึ้น<br />

ดังนั้นการ<br />

ผสมแปงเทายายมอมกับแปงชนิดอื่นที่มีการเกิดรีโทรเกรเดชันที่ตํ่<br />

ากวาจะชวยทํ าใหผลิตภัณฑที่<br />

ตองการยืดอายุการเก็บมีการเปลี่ยนแปลงของลักษณะเนื้อสัมผัสนอยลง


เอกสารอางอิง<br />

กลาณรงค ศรีรอต. 2542. เทคโนโลยีของแปง. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรม<br />

เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ. 225 น.<br />

กองพฤกษศาสตรและวัชพืช. 2544. เทายายมอม พืชเสริมรายไดใหม. BOTANY&WEED<br />

แหลงที่มา:<br />

http:/www.disc.doa.go.th/botany/foot.htm, 9 กันยายน 2544.<br />

จรูญศรี พลเวียง. 2543. เคล็ดลับการทํ าขนมไทย. แมบาน : อาชีพแกจน ขนมไทย พรอม<br />

เทคนิคการหอขนมดวยใบตอง. สํ านักพิมพแมบาน จํ ากัด, กรุงเทพฯ. น.106-114<br />

ณัฐกานต นวเศรษฐวิสูตร, ธงชัย สุวรรณสิชณน และปติพร ฤทธิเรืองเดช. 2545. ผลของการใช<br />

ฟลาวมันสํ าปะหลังตอลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมมันสํ<br />

าปะหลัง. น. 479-486. ใน<br />

เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการครั้งที่<br />

40 (สาขาอุตสาหกรรมเกษตร).มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

ทัศนีย โรจนไพบูลย. 2532. ตํ ารับขนมของไทย. บริษัทเจเนอรัลบุคส เซนเตอร จํ ากัด. หวยขวาง,<br />

กรุงเทพฯ. 203 น.<br />

210<br />

ธงชัย สุวรรณสิชณน. 2544. การวัดคาเนื้อสัมผัส.<br />

เอกสารประกอบการสอนวิชาการวัดคาปจจัย<br />

คุณภาพทางเคมีและกายภาพ ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร .กรุงเทพฯ. 78 น.<br />

ธงชัย สุวรรณสิชณน, วิชัย หฤทัยธนาสันติ์,<br />

เพ็ญขวัญ ชมปรีดา และ พจนีย พงศพงัน. 2544. การ<br />

ประยุกตใชแบบจํ าลองทางคณิตศาสตรทํ านายไอโซเทอรมการดูดซับความชื้น<br />

ของฟลาวขาวชนิดตางๆ .น.515-521. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ<br />

ครั้งที่<br />

39<br />

(สาขาอุตสาหกรรมเกษตร).มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.


นงนุช เจริญวาสนุตร, ธงชัย สุวรรณสิชณน, พรรณทิพา เจริญไทยกิจ และรองรัตน<br />

รัตนาธรรมวัฒน.2545. คุณสมบัติเนื้อสัมผัสทางกลของเสนกวยเตี๋ยวไทยที่ทํ<br />

าจาก<br />

แปงขาวเจาผสมฟลาวรมันสํ าปะหลัง.น.487-494. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ<br />

ครั้งที่<br />

40 (สาขาอุตสาหกรรมเกษตร).มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

นฤวัจน ชีวนันทพรชัย, ธงชัย สุวรรณสิชณน และปติพร ฤทธิเรืองเดช. 2545. การวัดคาคุณภาพ<br />

เนื้อสัมผัสทางกลของเจลแปงขาวเจาและเจลแปงมันสํ<br />

าปะหลัง. น.471-478.ใน<br />

เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการครั้งที่<br />

40 (สาขาอุตสาหกรรมเกษตร).มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

นิติ เติมเวชศยานนท. 2543. การดัดแปรแปงมันสํ าปะหลังดวยวิธี Ball-Mill และศึกษาสมบัติ<br />

ของแปงดัดแปร. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

นิธิยา รัตนาปนนท. 2545. เคมีอาหาร. โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 504 น.<br />

พงษพันธุ ชมภูเพชร. 2543. ปลูกเทายายมอมสกัดแปงขายไดเงิน. ชองทางทํ ามาหากิน .<br />

หนังสือพิมพเดลินิวส . 9 สิงหาคม 2543.น. 8.<br />

รุ งทิวา วันสุขศรี. 2543. การสกัดโปรตีนในปลายขาวหอมมะลิเพื่อทํ<br />

าแปงขาวเจา<br />

บริสุทธิ์.วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

รุ งนภา วิสิฐอุดรการ. 2540.วอเตอรแอคทิวิตี้.<br />

เอกสารประกอบคํ าสอนการประเมินอายุการเก็บ<br />

ของอาหาร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 169 น.<br />

วรางคณา สงวนพงษ. 2544. การลดขนาดเม็ดแปงมันสํ าปะหลังดัดแปรและสมบัติทางเคมี<br />

ฟสิกสของแปงที่ได.<br />

วิทยานิพนธปริญญาเอก, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

211


ศิริลักษณ สินธวาลัย. 2525. แปงในอาหารตอนขนมไทย . ทฤษฎีอาหาร เลม3 :<br />

หลักการทดลองอาหาร. บริษัทวรวุฒิการพิมพจํ ากัด.กรุงเทพฯ.น. 152-183<br />

สํ านักพิมพแสงแดด. 2539. ตํ าราขนมหวาน. โรงพิมพอักษรสมัย. กรุงเทพฯ. 144น.<br />

สุภาภรณ ภัทรสุทธิ. 2543. เทายายมอมพืชหัวที่นาสนใจ.<br />

ขาวพฤกษศาสตรและวัชพืช.<br />

กองพฤกษศาสตรและวัชพืช กรมวิชาการเกษตร. 15 น.<br />

อบเชย วงศทอง และขนิษฐา พูนผลกุล. 2544. หลักการประกอบอาหาร. สํ านักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 163 น.<br />

212<br />

อรพิน ภูมิภมร. 2533. เทคโนโลยีของแปง : เคมีของแปงและเทคโนโลยีผลิตภัณฑจากแปง<br />

บางชนิดที่ผลิตในประเทศไทย.<br />

ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 212 น.<br />

อิศรพงษ พงษศิริกุล. 2544. การวิเคราะหผลทางสถิติโดยใชโปรแกรมสํ าเร็จรูปสํ าหรับอุต<br />

สาหกรรมเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ คณะอุตสาหกรรมเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, เชียงใหม. 168 น.<br />

อุศมา สุนทรนฤรังษี. 2545. การพัฒนาผลิตภัณฑบัทเทอรเคกจากขาวหอมมะลิ. วิทยา<br />

นิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

AOAC. 2000. Official Method of Analysis. 17 th ed. The Association of Official Analytical<br />

Chemists, Arlington, Virginia.1588 p.<br />

Bear, R.S. 1942. The significant of X-ray diffraction patterns obtained from starch<br />

granules. J. Am. Chem. Soc. 63:2298.<br />

Beta, T. and H. Corke. 2001. Noodle quality as related to sorhum starch properties.<br />

Cereal Chem. 78(4) : 417-420.


Bianco, A.M., M.L. Pollio, S.L. Resnik, G. Boente and A. Larumbe. 1997. Comparison<br />

of Water Sorption Behavior of Three Rice Varieties Under Different<br />

Temperatures. J. of Food Engineering 33 : 395-403.<br />

Bourne, M.C. 1978. Texture profile analysis. Food Technology 32(7) : 62-66.<br />

Bourne, M.C.1982. Food Texture and Viscosity. Concept and measurment. New York.<br />

Academic Press. 352 p.<br />

Bowers, J. 1992. Food Theory and Applications. Macmillian Publishing Company.<br />

777p.<br />

Brautlecht, C.A. 1953. Starch : Its Sources, Production and Use. Reinhold Publishing<br />

Corporation, New York. 408p.<br />

Chen, Y.-Y., A.E. McPherson,M. Radosavljevic, V. Lee, K.-S. Wong and J. Jane. 1998.<br />

Effects of starch chemical structures on gellatinization and pasting properties.<br />

Supl. 4(17) : 63-70.<br />

Civille, G.V. and S. Szczesniak. 1973. Guidelines to training a texture profile panel.<br />

J. Texture Stud. 4:204-223.<br />

Collado, L.S. and H. Cork. 1999. Heat-moisture treatment effect on sweet potato<br />

starches differing in amylose content. Food Chemistry 65 :339-346.<br />

Colwell, K.H., D.W.E. Axford, N. Chamberlain and G.A.H. Elton. 1969. Effet of storage<br />

temperature on the aging of concentrated wheat starch gels. J. Sci. Fd. Agric.<br />

20:550.<br />

213


Eliasson, A.C. 1996. Carbohydrates in Food. Marcel Dekkeer,Inc. New York. 561p.<br />

Fennema, O.R.1975. Priciple of Food Science : Part II Physical Principles of Food<br />

Preservation. Marcel Dekker. New York. 474 p.<br />

Flanch M. and F. Rumawas. 1996. Plant Resource of South-East-Asia No.9 Plant<br />

Yielding Non-Seed Carbohydrates. Backhuys Publishers, Netherland.157p.<br />

Freach, A.D. 1979. Allowed and preferred shapes of amylose. Baker’s Dig. 53(1) : 30.<br />

Friedman, H.H., J.E. Whitney and A.S. Szczesniak. 1963. The Texturometer-a new<br />

instrument for objective texture measurement. J. Food Sci. 28:390-396.<br />

Galliard, T. 1987. Starch : Properties and Potential. Critical report on applied<br />

Chemistry . 151 p.<br />

Govindasamy, S., C.G. Oats and H.A. Wang. 1992. Characterization of changes of sago<br />

starch components during hydrolysis by a thermostable alpha-amylose.<br />

Carbohydr. Polym. 18 : 89-100.<br />

Hermansson, A.M.and K. Svegmark. 1996. Developments in the understanding of starch<br />

functionality. Trends in Food Science and Technology 7: 345-353.<br />

Hizukuri, S. 1986. Polymodal distribution of the chain lengths of amylopectins and its<br />

significance. Carbohydrates Res. 147 : 342.<br />

Hoover, R. and S.P.J.N. Senanayake. 1996. Composition and physicochemical<br />

properties of Oat starches. Food Reseach International 29(1) : 15-26.<br />

214


Hossain, M.D., B.K. Bala and M.R.A. Mondol.2001. Sorption isotherm and heat of<br />

sorption of pineapple. J. of Food Engineering 48: 103-107.<br />

Hu , R. 1999. Food Product Design. Technomic Publishing Compay, Inc.<br />

Pennsylvania, USA. 222p.<br />

Jane, J.L. and J.F., Roybyt. 1984. Structure studies of amylose-V complexs and<br />

retrograded amylose by action of alpha amylose, and a new method for<br />

preparing amylodextrins. Carbohydrate Research 132:105-118.<br />

Jane, J.L., Y.Y. Chen, F.L. Lee, E.A. McPherson, K.S. Wong, M. Radosavljevic and T.<br />

Kasemsuwan. 1999. Effects of amylopectin branch chain length and amylose<br />

content on the gelatinization and pasting properties of starch. Cereal Chem. 76:<br />

629-637.<br />

Jankowski, T. and C.K. Rha.1986. Retrogradation of starch in cooked wheat.<br />

Starch/starke 38(1): 6-9.<br />

Jankowski, T. 1992. Influence of starch retrogradation on the texture of cooked potato<br />

tuber. International Journal of Food Science and Technology 27 : 637-642.<br />

Juliano, B.O. 1971. A simplified assay for milled rice amylose. Cereal Sci. Today 16(10) :<br />

334-340.<br />

Kaletunc, G., M.D. Normand., E.A. Johnson and M. Peleg. 1991. ‘’ Degree of elasticity ‘’<br />

Determination in solid foods. J. of Food Sci. 56(4) : 950-953.<br />

Kalichevsky, M.T., P.D. Orford and S.G., Ring. 1990. The retrogradation and gelation of<br />

amylopectins from various botanical sources. Carbohydr. Res. 198: 49-55.<br />

215


Karim, A.A., M.H. Norziah and C.C Seow. 2000. Methods for the study of starch<br />

retrogradation. Food Chemistry 71:10-36.<br />

Kay, D.E. 1973. Root Crops. The Tropical Products Institute, England p.58.<br />

Kim, W.S. and P.A. Seib. 1993. Apparent restriction of starch swelling in cooked noodles<br />

by lipids in some commercial wheat flour. Cereal Chem. 70(4) : 367-372.<br />

Kim, Y.S., D.P. Wiesenborn, P.H. Orr and L.A. Grant. 1995. Differential scanning<br />

calorimetry. J. Food Sci. 60(5) : 1060-1065.<br />

Kugimiya, M., J.W. Donavan and R.Y. Wong. 1980. Phase transitions of amylose-lipid<br />

complexes in starches : A calorimetric study. Starch/Starke. 32: 265.<br />

Lang, K.W., T.D. McCune and M.P. Steinberg. 1981. A proximity equilibration cell for<br />

rapid determination of sorption isotherm. J. Food Sci. 46:936-938.<br />

Lawless, H.T. and H. Heymann.1998. Sensory Evaluation of Food Principles and<br />

Practices. Chapman & Hall. 819p.<br />

Leach, M.W., L.D. McCowen and T.G. Schoch. 1959. Structure of the starch granule.<br />

I.Swelling and solubility pattersns of various starches. Cereal Chem. 36: 534.<br />

Lewis, M.J. 1990. Physical Properties of Foods and Food Processing Systems.<br />

Woodhead Publishing Limited. 465 p.<br />

Lii, C.Y., and B.L. Lee. 1993. Heating A-, B-, and C- type starches in aqueous sodium<br />

chloride : effect of NaCl concentration and moisture content on differential<br />

scanning calorimetry thermograms. Cereal Chem. 70:188 .<br />

216


Maningat, C.C., and P.A. Seib. 1992 . Strach : Occurrence, Isolation, and Properties of<br />

Starch Granules. In AACC Short Course- ‘’ Starch : Structure, Properties, and<br />

Food Uses.’’ December 3-4. Chicago.<br />

Memory, J. 1968. Food Flavorings : Composition, Manufacture and Use. 2d ed., The AVI<br />

Publishing Company Inc., Connecticut. 478 p.<br />

Miles, M.J., V.J. Morris, P.D. Orford and S.G. Ring. 1985. The roles of amylose and<br />

amylopectin in the gelatinization and retrogradation of starch. Carbohydr. Res.<br />

135:271.<br />

Mohsenin, N.1986. In Physical Properties of Plant and Animal Materials, 2nd ed.<br />

Gordon & Breach, New York.<br />

Morrison, W.R., R.F. Tester, M.J. Gidley and J. Karkalas. 1994. Resistance to acid<br />

hydrolysis of lipid-complexed amylose and lipid-free amylose in lintnerised waxy<br />

and non – waxy barley starches. Carbohydr. Res. 245 : 289-302.<br />

Moskowitz, H.R. 1987. Food Texture Instrumental and Sensory Measurment. Marcel<br />

Dekker, Inc. New York. 335p.<br />

Mua, J.P. and D.S. Jackson. 1998. Retrogradation and gel texture attributes of corn<br />

starch amylose and amylopectin fractions. J. of cereal science 27: 157-166.<br />

Newport Scientific. 1995. Operation Manual for The Series 4 Rapid Visco Analyser.<br />

Warriewood, New South Wales. 93 p.<br />

Oates, C.G. 1997. 1997. Towards an understanding of starch granule structure and<br />

hydrolysis. Trends in Food Science & Technology 8 : 375-382.<br />

217


Olkku, J.E. and P. Sherman. 1979. Compression Testing of Cylindrical Samples with An<br />

Instron Universal Testing Machine. In Food Texture and Rheology, (ED.) P.<br />

Sherman. Academic Press.London.p. 157.<br />

Osman, E.M., Leith, S.J. and Fles, M. 1961. Complexes of amylose with surfactants.<br />

Cereal Chem. 38:449.<br />

Peleg, M. 1997. Review : Mechanical properties of dry cellular solid food. Food Sci. and<br />

Technology International 3 : 227-240.<br />

Penfield, M.P. and A.D. Campbell. 1990. Starch in Experimental Food Science. 3 rd ed.<br />

Academic Press. San Diegu. p 358-381.<br />

Pons, M., and S.M. Fiszman. 1996. Instrumental texture profile analysis with particular<br />

reference to gelled system. J. Texture Studies 27 : 597-624.<br />

Pomeranz, Y., 1985.Carbohydrates: Strach. Ch.2. In Functional properties of food<br />

components. Y. Pomeranz(Ed.).Academic Press. New York. p25.<br />

Pomeranz, Y., 1991. Functional Properties of Food Component. Academic Press, Inc.<br />

New York. p 25-62.<br />

Ring, S.G., P. Colonna, K.J. I’ Anson, M.T. Kalichevsky, M.J. Miles, V.J. Morris and P.D.<br />

Orford. 1987. The gelation and crytallisation of amylopectin. Carbohydr. Res.<br />

162 : 277-293.<br />

Rosenthal, A. J.1999. Food Texture Measurment and Perception. Aspen Publishing, Inc.<br />

USA. 311 p.<br />

218


Sahai, D. and D.S. Jackson. 1996. Structure and chemical properties of native corn<br />

starch granules. Starch/Starke 48 : 249-255.<br />

Sair, L. and Fetzer, W.R. 1994. Water sorption by starches. Ind.Eng.Chem. 36:205.<br />

Schoch, T.J. 1964. Swelling power and solubility of granular starches, pp.106-108.<br />

In R.L. Whistler, R.J. Smith and J.N. BeMiller(eds.). Methods in Carbohydrates<br />

Chemistry, Vol. IV, Academic Press, New York.<br />

Schoch, T.J and E.C. Mayward. 1968. Preparation and properties od various legume<br />

starches. Cereal Chem. 45:564.<br />

Shi, Y.C. and P. Seib. 1992. The structure of four waxy starches related to gelatinization<br />

and retrogradation. Carbohydr.Res. 227 : 131-145.<br />

Singh, P.C. and R.K. Singh. 1996. Application of GAB model for water sorption isotherm<br />

of food products. J. of Food Processing and Preservation 20: 203-220.<br />

Spence, K.E. and J. Jane. 1999. Physicochemical properties of selected roof and tuber<br />

starches. Carbohydr. Polym. 40 : 57-70.<br />

Stephen , A.M. 1995. Food Polysaccharides and Their Application. Marcel Dekker,<br />

Inc. 654 p.<br />

Stuart, A.S.C., C.C. Maningat and P.A. Seib. 1989. Starch paste clarity. Cereal Chem.<br />

66(3) : 173-182.<br />

219


Svensson, E. and A.C. Eliasson. 1995. Crytalline changes in native wheat and potato<br />

starches at intermediate water levels during gelatinisation. Carbohydr.Polym. 26:<br />

171-176.<br />

220<br />

Swyngedau, S.,A. Nussinovitch, I. Roy, M. Peleg and V.Huang.1991. Comparison of<br />

Four Models for the Compressility of Breads and plastic Foams. J. Food Sci 56<br />

(3) : 756-759.<br />

Timmermann, E.O., J. Chirife and H.A. Iglesias. 2001. Water sorption isotherms of foods<br />

and foodstuffs : BET or GAB parameters?. J. of Food Engineering 48: 19-31.<br />

Unnikrishman, K.R. and K.R. Bhattacharya. 1981. Swelling and solubility behavior of<br />

parboiled rice flour. Food Technol. 16 : 403-408.<br />

Van den Berg and S. Bruin. 1891. Water Activity and Its Estimation in Food System. In<br />

L.B. Rockland and G.L. Stewart. Water Activity : Influences on Food Quality.<br />

Acedemic Press, 14 th ed. New York.<br />

Waigh, T.A., M.J. Gidley, B.U. Komanshet and A.M. Donald. 2000. The phase<br />

transformations in starch during gelatinization : a liquid crystalline approach.<br />

Carbohydr. Res. 328: 165-176.<br />

Whistle, R.L. , and J.N., BeMiller. 1999. Carbohydrate Chemistry for Food Scientists.<br />

American Association of Cereal Chemist. 241 p.<br />

Witoon Prinyawiwatkul. 2003. Applications of Sensory Evaluation for Product<br />

Development. The workshop at Department of Product Development, Faculty of<br />

Agro-Industry Kasetsart University, January 6-10.


Yeh, A.I. and J.Y. Li. 1996. A continuos measurement of swelling of rice starch during<br />

heating. J. of Cereal Science 23:277-283.<br />

Young, A.H. 1984. Fractionation of Starch. In Starch, Chemistry and Technology. 2 nd<br />

Ed., R.L. Whistler, J.N. BeMiller, andE.F. Paschall (Eds.). Academic Press,<br />

Orlando.FL. 249p.<br />

Zobel, H.F. 1988. Starch crystal transformations and their industrial importance,<br />

Strach/Starke 40 : 1.<br />

221


ภาคผนวก<br />

222


ภาคผนวก ก<br />

ภาพขั้นตอนกรรมวิธีผลิตแปงเทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ<br />

223


ขั้นตอนที่<br />

1 ปอกเปลือกหัวเทายายมอมและลางใหสะอาด<br />

ขั้นตอนที่<br />

2 หั่นหัวเทายายมอมที่ปอกเปลือกแลวเปนชิ้นเล็กๆ<br />

ขั้นตอนที่<br />

3 นํ าหัวเทายายมอมปนกับนํ้<br />

าในอัตราสวน หัวเทายายมอม : นํ า ้ เทากับ 1 : 1<br />

ภาพที่<br />

1 ขั้นตอนกรรมวิธีผลิตแปงเทายายมอมในระดับหองปฏิบัติการ<br />

224


ขั้นตอนที่<br />

4 หัวเทายายมอมที่ปนกับนํ้<br />

าแลวจะนํ าไปทํ าการกรอง<br />

ขั้นตอนที่<br />

5 ทํ าการกรองนํ้<br />

าหัวเทายายมอมที่ไดจากการปนดวยผาขาวบาง<br />

225


ภาคผนวก ข<br />

คาพารามิเตอรตางๆ ของสมการความสัมพันธระหวางคาความเคน<br />

และความเครียดที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

และ<br />

คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่เก็บในเวลา<br />

และอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

227


ตารางผนวกที่<br />

1 คาพารามิเตอรตางๆ ของสมการความสัมพันธระหวางคาความเคนและความเครียดที่ไดจากการวัดคาแรงกด<br />

สิ่งทดลอง<br />

σ = C1εC2 + C3εC4 อัตราสวนของแปงแตละชนิด<br />

(เทายายมอม : ทาว : มันสํ าปะหลัง : ขาวเจา) C1(kPa) C2 (-) C3 (kPa) C4 (-) R2 1 1 : 0 : 0 : 0 5.848+1.75 1.217+0.22 20.327+0.68 3.913+0.30 0.999<br />

2 0 : 1 : 0 : 0 3.909+4.05 1.965+1.45 11.968+3.54 4.350+0.64 0999<br />

3 0 : 0 : 1 : 0 3.945+0.77 1.615+0.13 13.160+2.00 5.050+0.14 0.999<br />

4 0 : 0 : 0 : 1 8.136+0.24 1.208+0.02 8.477+0.35 1.208+0.02 0.992<br />

5 1/2 : 1/2 : 0 : 0 4.515+1.15 1.166+0.12 21.660+2.37 3.966+0.30 0.999<br />

6 1/2 : 0 : 1/2 : 0 2.969+0.94 1.500+0.20 12.670+0.46 5.149+0.43 0.999<br />

7 1/2 : 0 : 0 : 1/2 0.211+0.06 0.055+0.04 17.247+1.21 1.725+0.14 0.999<br />

8 0 : 1/2 : 1/2 : 0 3.731+0.74 1.513+0.10 17.475+0.27 5.096+0.06 0.999<br />

9 0 : 1/2 : 0 : 1/2 4.268+2.96 2.011+2.27 16.483+1.86 1.754+0.32 0.995<br />

10 0 : 0 : 1/2 : 1/2 0.812+0.41 0.614+0.17 13.408+1.71 3.371+0.32 0.968<br />

11 1/3 : 1/3 : 1/3 : 0 5.392+4.22 2.367+1.48 7.99+1.60 3.424+0.55 0.985<br />

12 1/3 : 1/3 : 0 : 1/3 3.555+2.54 0.673+0.32 26.070+3.06 2.563+0.32 0.996<br />

13 1/3 : 0 : 1/3 : 1/3 0.756+0.43 0.263+0.14 21.316+2.48 1.822+0.04 0.997<br />

14 0 : 1/3 : 1/3 : 1/3 5.158+0.40 1.006+0.03 12.479+0.20 2.937+0.25 0.999<br />

15 1/4 : 1/4 : 1/4 : 1/4 4.630+1.15 1.093+0.09 12.875+1.41 3.297+0.25 0.999<br />

หมายเหตุ σ คือ คาความเคน (stress) และ ε คือ คาความเครียด (Hencky’s strain)<br />

228


ตารางผนวกที่<br />

2 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงเทายายมอม<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

1) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 3.94+0.54 d<br />

6 10.33+0.57 a<br />

12 7.75+0.25 b<br />

18 6.32+0.10 b<br />

24 4.89+0.45 c<br />

4 0 3.94+0.54 d<br />

6 158.82+4.29 c<br />

12 220.64+13.17 b<br />

18 234.03+11.89 b<br />

24 354.95+6.75 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

67.36+1.56 a<br />

55.34+0.72 b<br />

56.51+2.40 b<br />

39.66+2.34 c<br />

26.41+1.14 d<br />

67.36+1.56 a<br />

15.32+2.74 b<br />

0.00+0.00 c<br />

0.00+0.00 c<br />

0.00+0.00 c<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

229


ตารางผนวกที่<br />

2 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงทาว<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

2) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.28+0.25 a<br />

6 1.17+0.08 a<br />

12 1.40+0.28 a<br />

18 1.28+0.17 a<br />

24 1.56+0.43 a<br />

4 0 1.28+0.25 e<br />

6 14.70+0.23 d<br />

12 31.88+0.58 c<br />

18 30.52+0.68 b<br />

24 42.41+0.38 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

53.22+1.72 a<br />

45.31+2.29 b<br />

51.03+3.50 a<br />

47.09+2.22 b<br />

38.85+1.62 c<br />

53.22+1.72 a<br />

32.01+2.27 b<br />

12.92+1.74 c<br />

9.35+1.28 d<br />

6.35+0.64 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

230


ตารางผนวกที่<br />

3 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

3) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.47+0.12 a<br />

6 1.66+0.41 a<br />

12 1.69+0.38 a<br />

18 1.57+0.02 a<br />

24 1.51+0.16 a<br />

4 0 1.47+0.12 e<br />

6 3.77+0.41 d<br />

12 7.12+0.11 c<br />

18 12.92+0.60 b<br />

24 26.21+1.26 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

47.80+2.44 bc<br />

45.81+2.38 c<br />

48.04+1.77 bc<br />

55.60+2.74 a<br />

49.69+1.15 b<br />

47.80+2.44 a<br />

46.69+1.13 a<br />

41.45+0.89 b<br />

21.68+5.38 c<br />

8.63+1.42 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

231


ตารางผนวกที่<br />

4 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงขาวเจา<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

4) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 9.01+0.50 bc<br />

6 10.74+0.10 a<br />

12 8.21+0.56 cd<br />

18 7.76+0.40 d<br />

24 9.19+0.67 b<br />

4 0 9.01+0.50 d<br />

6 13.44+0.38 b<br />

12 11.34+0.15 c<br />

18 13.94+0.94 b<br />

24 22.30+1.17 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

18.19+1.44 a<br />

13.44+0.72 c<br />

11.38+0.69 d<br />

16.61+1.38 b<br />

15.15+0.49 b<br />

18.19+1.44 a<br />

15.75+0.81 b<br />

13.37+1.22 c<br />

7.56+0.82 d<br />

0.00+0.00 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

232


ตารางผนวกที่<br />

5 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอมและแปงทาว (สิ่งทดลองที่<br />

5) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 3.30+0.08 a<br />

6 3.24+0.24 a<br />

12 2.37+0.26 a<br />

18 3.16+0.40 a<br />

24 3.08+0.07 a<br />

4 0 3.30+0.08 e<br />

6 22.77+0.96 d<br />

12 41.77+1.36 c<br />

18 52.72+3.68 b<br />

24 89.31+5.61 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

63.42+3.28 a<br />

60.88+2.95 ab<br />

57.81+1.84 bc<br />

58.45+1.23 bc<br />

55.84+2.69 c<br />

63.42+3.28 a<br />

18.37+0.71 b<br />

7.98+2.21 c<br />

5.42+1.50 d<br />

3.95+0.57 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

233


234<br />

ตารางผนวกที่<br />

6 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวนผสมของ<br />

แปงเทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

6) ที่เก็บในเวลา<br />

และ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.27+0.10 a<br />

6 1.41+0.07 a<br />

12 1.76+0.50 a<br />

18 1.77+0.16 a<br />

24 1.72+0.22 a<br />

4 0 1.27+0.10 e<br />

6 8.58+0.38 d<br />

12 21.98+0.31 c<br />

18 55.42+0.29 b<br />

24 62.81+3.45 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

54.63+4.02 a<br />

57.13+1.80 a<br />

50.95+1.68 b<br />

49.06+0.73 b<br />

48.30+0.78 b<br />

54.63+4.02 a<br />

32.41+3.80 b<br />

11.13+1.41 c<br />

6.60+0.33 d<br />

6.79+0.70 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

7 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอมและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

7) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 6.42+1.81 a<br />

6 5.63+0.53 a<br />

12 6.60+0.50 a<br />

18 5.30+0.21 a<br />

24 3.62+0.37 a<br />

4 0 6.42+1.81 e<br />

6 21.25+0.47 d<br />

12 37.66+1.86 c<br />

18 55.94+1.56 b<br />

24 64.36+2.98 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

43.17+2.43 a<br />

32.02+1.44 b<br />

25.78+0.81 c<br />

27.80+2.44 c<br />

20.37+1.68 d<br />

43.17+2.43 a<br />

9.60+1.17 b<br />

7.95+1.40 bc<br />

6.31+0.33 cd<br />

5.41+0.34 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

235


ตารางผนวกที่<br />

8 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาวและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

8) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.45+0.04 bc<br />

6 1.67+0.12 ab<br />

12 1.26+0.10 c<br />

18 1.89+0.30 a<br />

24 1.81+0.10 a<br />

4 0 1.45+0.04 d<br />

6 3.52+0.09 d<br />

12 8.64+0.37 c<br />

18 26.75+3.37 b<br />

24 34.27+5.19 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

65.91+2.09 a<br />

61.89+1.06 b<br />

53.71+1.17 c<br />

54.16+3.19 c<br />

56.42+1.90 c<br />

65.91+2.09 a<br />

50.79+3.68 b<br />

32.97+2.80 c<br />

19.39+4.52 d<br />

9.64+2.55 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

236


237<br />

ตารางผนวกที่<br />

9 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาวและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

9) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่<br />

แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 7.50+0.19 c<br />

6 10.40+1.11 b<br />

12 14.31+0.61 a<br />

18 12.38+0.26 b<br />

24 10.46+0.35 b<br />

4 0 7.50+0.19 e<br />

6 17.39+0.65 d<br />

12 27.61+0.87 c<br />

18 39.89+1.15 b<br />

24 49.35+0.77 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

43.30+0.78 a<br />

31.14+2.30 b<br />

27.01+1.60 c<br />

27.42+1.45 c<br />

15.24+3.33 d<br />

43.30+0.78 a<br />

17.18+0.79 b<br />

7.92+3.17 c<br />

0.00+0.00 d<br />

0.00+0.00 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

10 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

10) ที่เก็บในเวลา<br />

และอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.82+0.19 bc<br />

6 1.43+0.10 c<br />

12 1.99+0.36 ab<br />

18 2.07+0.24 ab<br />

24 2.35+0.17 a<br />

4 0 1.82+0.19 e<br />

6 9.38+0.36 d<br />

12 15.44+0.32 c<br />

18 21.95+0.60 b<br />

24 29.25+2.90 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

51.61+2.51 ab<br />

49.52+4.43 b<br />

54.95+0.43 a<br />

52.18+4.69 ab<br />

48.57+1.15 b<br />

51.61+2.51 a<br />

31.73+2.14 b<br />

30.52+3.79 b<br />

16.87+4.34 c<br />

14.28+3.26 c<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

238


ตารางผนวกที่<br />

11 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

11) ที่<br />

เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 1.31+0.24 b<br />

6 1.58+0.31 ab<br />

12 1.71+0.23 ab<br />

18 1.84+0.14 a<br />

24 1.92+0.03 a<br />

4 0 1.31+0.24 e<br />

6 5.25+0.18 d<br />

12 19.38+0.32 c<br />

18 31.69+1.32 b<br />

24 51.93+1.62 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

58.07+1.51 a<br />

59.94+1.49 a<br />

61.76+3.75 a<br />

44.27+3.68 b<br />

44.45+2.83 b<br />

58.07+1.51 a<br />

35.85+5.06 b<br />

17.84+2.57 c<br />

11.20+1.56 d<br />

6.90+1.09 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

239


ตารางผนวกที่<br />

12 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

12) ที่เก็บ<br />

ในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 7.14+0.65 a<br />

6 7.28+0.25 a<br />

12 8.03+0.98 a<br />

18 7.30+0.30 a<br />

24 7.09+0.47 a<br />

4 0 7.14+0.65 e<br />

6 34.40+0.24 d<br />

12 47.75+0.30 c<br />

18 84.05+4.78 b<br />

24 123.63+2.07 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

51.60+1.22 a<br />

44.77+4.64 b<br />

44.80+3.92 b<br />

24.90+3.47 d<br />

34.61+0.92 c<br />

51.60+1.22 a<br />

12.88+1.24 b<br />

10.03+2.04 c<br />

6.38+1.43 d<br />

0.00+0.00 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

240


ตารางผนวกที่<br />

13 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลอง<br />

ที่<br />

13) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 7.96+1.89 ab<br />

6 7.01+0.20 a<br />

12 6.06+0.73 bc<br />

18 6.78+0.58 b<br />

24 9.08+0.76 a<br />

4 0 7.96+1.89 d<br />

6 8.64+0.12 d<br />

12 28.52+0.78 c<br />

18 54.46+1.03 b<br />

24 58.46+1.20 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

46.68+3.31 b<br />

51.94+1.77 a<br />

36.26+2.61 c<br />

38.21+1.58 c<br />

36.63+1.33 c<br />

46.68+3.31 a<br />

41.19+3.22 b<br />

15.43+3.66 c<br />

8.67+1.79 d<br />

7.73+1.09 d<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

241


ตารางผนวกที่<br />

14 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

14) ที่เก็บ<br />

ในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 5.27+0.28 a<br />

6 4.40+0.40 b<br />

12 5.24+0.36 a<br />

18 4.81+0.18 ab<br />

24 5.10+0.63 ab<br />

4 0 5.27+0.28 d<br />

6 8.33+0.10 d<br />

12 22.91+0.79 c<br />

18 60.66+0.89 b<br />

24 72.98+5.79 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

62.11+0.42 a<br />

60.88+0.55 a<br />

53.59+2.51 b<br />

50.67+2.04 c<br />

48.87+2.11 c<br />

62.11+0.42 a<br />

40.73+4.13 b<br />

23.35+2.07 c<br />

11.55+2.26 d<br />

7.66+1.49 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

242


ตารางผนวกที่<br />

15 คา Young’s modulus และ Degree of elasticity ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่ง<br />

ทดลองที่<br />

15) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Young’s modulus<br />

(kPa)<br />

35 0 4.07+0.10 ab<br />

6 3.47+0.21 c<br />

12 4.46+0.25 a<br />

18 3.82+0.41 bc<br />

24 4.08+0.40 ab<br />

4 0 4.07+0.10 e<br />

6 10.79+0.51 d<br />

12 38.01+0.76 c<br />

18 53.20+3.72 b<br />

24 67.65+5.01 a<br />

Degree of elasticity<br />

(%)<br />

62.32+1.91 a<br />

60.19+0.73 a<br />

53.60+1.52 b<br />

54.72+0.71 b<br />

46.86+2.05 c<br />

62.32+1.91 a<br />

24.96+4.48 b<br />

15.56+0.92 c<br />

10.00+2.82 d<br />

0.00+0.00 e<br />

หมายเหตุ คา Young’s modulus คํ านวณจากความชันของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง<br />

ความเครียดและความเคนที่ชวงคาความเครียด<br />

< 0.2<br />

ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)<br />

243


ภาคผนวก ค<br />

คาคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสที่วัดไดจากวิธี<br />

Texture Profile Analysis (TPA)<br />

ของเจลแปงที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

244


ตารางผนวกที่<br />

1 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงเทายายมอม<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

1)<br />

ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

245<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 15.05+3.53c 0.325+0.02a 7.94+0.15a 4.95+1.58b 6 24.99+1.91a 0.298+0.02ab 7.60+0.25a 7.44+0.42a 12 24.08+3.76a 0.294+0.03ab 7.58+0.16a 7.01+0.60a 18 20.15+0.88b 0.277+0.01ab 7.61+0.45a 5.58+0.12b 24 18.74+1.40bc 0.255+0.04b 6.55+0.46b 4.80+1.08b 4 0 15.05+3.53d 0.325+0.02a 7.94+0.15a 4.95+1.58c 6 60.11+6.44c 0.128+0.01b 3.55+0.07b 7.73+1.18a 12 80.34+4.43b 0.095+0.01c 3.18+0.22b 7.72+1.17a 18 74.89+9.47b 0.088+0.00c 3.58+1.49b 6.62+0.90b 24 120.66+10.85a 0.086+0.01c 3.31+0.87b 6.53+2.58b หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

2 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงทาว<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

2) ที่เก็บใน<br />

เวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

246<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 7.02+0.35b 0.597+0.09a 8.20+0.14a 4.21+0.85a 6 7.32+0.36b 0.577+0.16a 7.84+0.31a 4.21+1.12a 12 11.55+2.51a 0.489+0.05a 6.87+0.65b 5.66+1.51a 18 11.85+1.83a 0.496+0.05a 6.91+0.29b 5.81+0.38a 24 9.08+1.81b 0.510+0.05a 6.98+0.30b 4.57+0.54a 4 0 7.02+0.35d 0.597+0.09a 8.20+0.14a 4.21+0.85ab 6 17.36+0.29c 0.284+0.03b 7.22+0.63a 4.95+0.75a 12 21.98+2.35b 0.147+0.01c 4.15+0.95b 3.26+0.61b 18 16.71+0.75c 0.189+0.02c 4.21+0.92b 3.16+0.46b 24 27.79+1.29a 0.126+0.01c 3.72+1.37b 3.51+0.50b หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกันอยางมี<br />

นัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

3 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงมันสํ<br />

าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

3)<br />

ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

247<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 7.18+1.36c 0.578+0.08a 7.59+0.27a 4.09+0.67d 6 9.31+1.47c 0.496+0.10ab 7.42+0.39a 4.62+1.13cd 12 15.10+1.95ab 0.485+0.04ab 6.24+0.27b 7.28+0.50a 18 13.31+1.64b 0.425+0.02b 6.42+0.36b 5.64+0.67bc 24 16.05+1.25a 0.409+0.02b 6.61+0.65b 6.58+0.80ab 4 0 7.18+1.36c 0.578+0.08a 7.59+0.27a 4.09+0.67d 6 32.94+1.71a 0.320+0.04b 7.401+0.19a 10.53+1.41a 12 29.26+4.22b 0.277+0.03bc 7.50+0.28a 8.03+0.75b 18 31.18+0.46ab 0.198+0.01c 5.62+0.33b 6.19+0.31c 24 27.63+1.57b 0.205+0.07c 5.76+1.13b 5.63+1.74cd หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกันอยางมี<br />

นัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

4 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงขาวเจา<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

4) ที่<br />

เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

248<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 9.52+0.20a 0.310+0.04b 6.93+0.15ab 2.96+0.49a 6 9.39+0.28ab 0.308+0.01b 6.80+0.15ab 2.90+0.18a 12 8.84+0.10c 0.310+0.03b 6.73+0.28b 2.74+0.37a 18 9.13+0.14bc 0.348+0.01ab 7.07+0.15a 3.18+0.21a 24 7.93+0.29d 0.371+0.01a 6.91+0.05ab 2.94+0.11a 4 0 9.52+0.20a 0.310+0.04a 6.93+0.15a 2.96+0.49a 6 9.01+0.31b 0.230+0.02b 5.24+0.50b 2.07+0.19b 12 8.16+0.36c 0.187+0.01bc 4.50+0.25c 1.52+0.06c 18 9.01+0.31b 0.172+0.02c 4.39+0.55cd 1.54+0.22c 24 8.01+0.31c 0.146+0.03c 3.73+0.64d 1.16+0.22c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

5 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอมและแปงทาว (สิ่งทดลองที่<br />

5) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตก<br />

ตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

249<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 11.30+1.90ab 0.423+0.05b 8.14+0.20a 4.80+1.03b 6 13.42+2.44a 0.473+0.03ab 7.53+1.09ab 6.35+1.23a 12 12.84+0.54a 0.470+0.05ab 7.78+0.36ab 6.14+0.65a 18 11.48+1.04b 0.520+0.04a 7.66+0.33ab 4.25+0.33b 24 10.13+1.03c 0.441+0.04b 7.20+0.18b 4.49+0.77b 4 0 11.30+1.90d 0.423+0.05a 8.14+0.20a 4.80+1.03a 6 17.05+0.73c 0.207+0.02b 5.02+0.26b 3.53+0.29b 12 24.65+2.99b 0.115+0.01c 2.84+0.95c 2.86+0.64bc 18 21.81+1.00b 0.105+0.01c 2.97+1.45c 2.28+0.28c 24 31.57+2.42a 0.090+0.02c 2.72+0.91c 2.85+0.79bc หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

6 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

6) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิ<br />

ที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

250<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 9.53+1.40d 0.518+0.09a 7.56+0.38a 4.83+0.28c 6 10.39+0.84cd 0.485+0.01a 6.99+0.89abc 5.05+0.45c 12 11.83+2.45b 0.434+0.05a 6.25+0.57bc 8.74+1.35a 18 13.27+1.87bc 0.488+0.03a 6.20+0.21ab 6.45+0.76b 24 14.49+2.46a 0.463+0.04a 6.15+0.39c 6.67+0.87b 4 0 9.53+1.40b 0.518+0.09a 7.56+0.38b 4.83+0.28b 6 18.04+1.36b 0.332+0.04b 6.10+0.26b 6.01+1.07a 12 19.32+1.97b 0.27+0.03c 4.64+0.72c 4.02+0.76b 18 21.66+0.55a 0.101+0.01d 3.26+0.61d 2.19+0.26c 24 22.83+0.98a 0.077+0.02d 2.20+0.86e 1.77+0.55c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

7 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอมและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

7) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตก<br />

ตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

251<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 9.81+0.67a 0.368+0.03ab 7.28+0.08a 3.60+0.20b 6 7.65+0.12b 0.331+0.01bc 6.96+0.21a 4.69+0.04b 12 7.19+3.04b 0.312+0.01c 6.14+0.42b 5.79+0.80a 18 6.73+0.31cd 0.363+0.03ab 6.49+0.18b 2.44+0.17c 24 5.36+0.33d 0.382+0.04a 6.84+0.41a 2.04+0.10c 4 0 9.81+0.67d 0.368+0.03a 7.28+0.08a 3.60+0.20a 6 12.98+0.46c 0.218+0.05b 5.23+0.96b 2.82+0.68b 12 17.16+0.89b 0.117+0.01c 3.98+2.01b 2.01+0.21c 18 15.52+2.17b 0.091+0.01c 2.03+0.21c 1.42+0.23d 24 20.28+0.75a 0.072+0.00c 1.67+0.12c 1.46+0.08d หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

8 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงทาวและ<br />

แปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

8) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

(mm)<br />

252<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 5.48+0.37c 0.514+0.08a 7.81+0.36a 2.82+0.47c 6 13.11+1.68ab 0.461+0.05a 7.59+0.79a 6.01+0.80ab 12 15.03+2.82a 0.469+0.02a 7.42+0.62a 7.05+1.42a 18 11.72+2.39b 0.446+0.01a 7.26+0.39ab 5.21+0.97b 24 11.22+1.54b 0.438+0.05a 6.63+0.26b 4.92+0.92b 4 0 5.48+0.37e 0.514+0.08a 7.81+0.36a 2.82+0.47b 6 16.73+1.40d 0.350+0.08b 7.75+0.25a 5.92+1.74a 12 20.08+1.05c 0.296+0.02bc 6.53+0.41a 5.98+0.62a 18 23.52+1.69a 0.221+0.03cd 5.32+1.04b 5.25+1.23a 24 24.57+2.83a 0.200+0.01d 4.43+1.62b 4.94+0.66a หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

9 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงทาว<br />

และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

9) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

253<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 12.25+0.47a 0.472+0.03a 7.77+0.05a 5.77+0.33a 6 10.55+0.20b 0.399+0.04b 7.64+0.09a 4.21+0.42b 12 10.15+0.25b 0.340+0.01c 7.00+0.14b 3.45+0.22c 18 7.64+0.16d 0.338+0.03c 6.81+0.38b 2.58+0.23d 24 8.22+0.11c 0.314+0.01c 6.70+0.25b 2.58+0.09d 4 0 12.25+0.47c 0.472+0.03a 7.77+0.05a 5.77+0.33a 6 12.78+0.10c 0.226+0.01b 5.35+0.45b 2.89+0.13b 12 17.67+0.59b 0.121+0.00c 3.51+0.41c 2.15+0.16c 18 19.39+0.20b 0.101+0.01cd 3.01+0.33cd 1.96+0.23c 24 25.18+2.61a 0.092+0.01d 2.58+0.43d 2.31+0.24c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

10 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงมัน<br />

สํ าปะหลังและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

10) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่<br />

แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

254<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 10.66+0.66c 0.426+0.07a 7.74+0.12a 4.54+0.76c 6 10.74+1.70c 0.535+0.07a 7.25+0.83ab 5.78+1.39bc 12 13.52+1.23b 0.530+0.03a 7.60+0.36a 7.15+0.52a 18 12.22+2.00bc 0.517+0.13a 7.39+0.54ab 6.15+0.96bc 24 21.65+0.72a 0.531+0.08a 6.41+0.94b 6.65+1.81a 4 0 10.66+0.66d 0.426+0.07a 7.74+0.12a 4.54+0.76b 6 14.81+0.29c 0.392+0.04a 7.77+0.34a 5.80+0.53a 12 17.96+0.33b 0.251+0.02b 6.22+0.46b 4.51+0.52b 18 17.34+0.44b 0.208+0.02b 5.42+0.17b 3.62+0.43c 24 19.30+1.51a 0.141+0.01c 3.81+0.35c 2.72+0.35d หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

11 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

11) ที่เก็บในเวลา<br />

และอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

255<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 7.68+0.68c 0.577+0.13a 7.80+0.60a 4.41+0.92c 6 11.63+1.98b 0.536+0.05ab 7.91+0.24a 6.24+1.33b 12 7.79+0.53c 0.449+0.03b 7.49+0.40a 7.75+0.30a 18 11.17+3.09b 0.447+0.05b 6.17+0.18b 6.47+2.40ab 24 14.55+3.58a 0.467+0.04ab 6.42+0.51b 6.70+1.20a 4 0 7.68+0.68c 0.577+0.13a 7.80+0.60a 4.41+0.92b 6 17.75+2.24b 0.316+0.03b 8.06+0.65a 5.64+1.15a 12 23.03+1.64a 0.259+0.03b 6.16+0.94b 5.94+0.49a 18 23.93+2.95a 0.111+0.01c 3.06+0.58c 2.67+0.48c 24 22.92+0.76a 0.096+0.02c 2.84+1.50c 2.20+0.56c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

12 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม แปงทาว และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

12) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

256<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 15.42+0.46a 0.390+0.02a 7.70+0.04a 6.02+0.56a 6 15.64+0.35a 0.382+0.01a 7.63+0.11a 5.99+0.25a 12 13.32+0.25b 0.408+0.03a 7.71+0.10a 5.44+0.46a 18 11.82+0.20c 0.373+0.01ab 7.23+0.13b 4.41+0.21b 24 10.97+1.18c 0.340+0.03b 7.26+0.21b 3.71+0.36c 4 0 15.42+0.46e 0.390+0.02a 7.70+0.04a 6.02+0.56a 6 18.21+0.15d 0.227+0.03b 6.11+1.24b 4.13+0.65b 12 21.20+0.54c 0.127+0.01c 3.20+0.56c 2.68+0.23c 18 30.23+2.71b 0.096+0.01cd 2.66+0.38c 2.91+0.44c 24 33.41+1.69a 0.083+0.01d 2.25+0.51c 2.78+0.40c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

13 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

13) ที่เก็บใน<br />

เวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

257<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 12.22+.60b 0.378+0.00a 7.74+0.12a 4.62+0.19a 6 11.43+0.26c 0.358+0.01ab 7.83+0.11a 4.09+0.18b 12 13.35+0.47a 0.312+0.01c 7.31+0.06b 4.17+0.32b 18 8.46+0.29d 0.350+0.02ab 7.22+0.20bc 2.97+0.31c 24 9.01+0.62d 0.343+0.02b 7.03+0.15c 3.09+0.12c 4 0 12.22+0.60d 0.378+0.00a 7.74+0.12a 4.62+0.19b 6 16.59+1.02c 0.335+0.03b 7.66+0.12a 5.54+0.40a 12 21.57+1.01b 0.236+0.01c 6.04+0.35b 5.08+0.31ab 18 20.15+1.48b 0.129+0.03d 4.08+0.98c 3.17+0.42d 24 28.40+0.50a 0.135+0.01d 3.65+0.61c 3.86+0.55c หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

14 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปงทาว<br />

แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

14) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

258<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 10.24+0.81a 0.434+0.04a 7.71+0.12ab 4.42+0.23a 6 8.57+0.31b 0.393+0.03ab 7.79+0.13a 3.37+0.34bc 12 10.99+0.70a 0.332+0.05b 7.58+0.23ab 3.65+0.65bc 18 8.55+0.93b 0.362+0.02b 7.63+0.18ab 3.12+0.54c 24 10.27+0.87a 0.393+0.03ab 7.43+0.23b 4.03+0.28ab 4 0 10.24+0.81d 0.434+0.04a 7.71+0.12a 4.42+0.23b 6 16.91+0.31c 0.366+0.04b 8.28+0.55a 6.19+0.68a 12 21.67+1.63b 0.199+0.02c 5.34+0.81b 4.31+0.64b 18 25.89+0.59a 0.147+0.01d 3.37+1.09c 3.80+0.31b 24 27.01+2.91a 0.146+0.02d 3.34+0.40c 3.93+0.55b หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

15 คาเคาโครงคุณลักษณะทางเนื้อสัมผัสของเจลแปงที่มีสวนผสมของแปง<br />

เทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

15)<br />

ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

Hardness<br />

(N)<br />

Cohesiveness Springiness<br />

index<br />

259<br />

Gumminess<br />

(N)<br />

35 0 11.55+1.57a 0.347+0.02b 7.79+0.10a 4.01+0.54a 6 10.86+0.62a 0.397+0.04b 7.85+0.21a 4.34+0.75a 12 9.12+0.61b 0.463+0.03a 7.90+0.07a 4.21+0.22a 18 7.93+0.59b 0.476+0.04a 7.71+0.24a 3.76+0.33a 24 10.55+0.39a 0.361+0.02b 7.10+0.22b 3.81+0.40a 4 0 11.55+1.57d 0.347+0.02a 7.79+0.10a 4.01+0.54b 6 18.48+0.19c 0.276+0.01b 7.19+0.90a 5.12+0.23a 12 18.74+0.47c 0.262+0.03b 6.90+1.21a 4.91+0.59a 18 22.32+1.51b 0.122+0.01c 3.31+0.30b 2.73+0.19c 24 33.37+4.18a 0.106+0.11c 2.42+0.30b 3.51+0.26b หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตกตางกัน<br />

อยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ภาคผนวก ง<br />

คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปง<br />

ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

260


ตารางผนวกที่<br />

1 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปง<br />

เทายายมอม (สิ่งทดลองที่<br />

1) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 165.16+31.99 c<br />

4 160.74+21.01 c<br />

8 173.48+19.04 b<br />

12 186.23+30.09 ab<br />

16 212.90+30.37 a<br />

20 228.49+30.16 a<br />

4 0 165.16+31.99 c<br />

4 176.48+29.11 c<br />

8 314.58+58.09 b<br />

12 304.25+73.95 b<br />

16 389.11+115.45 b<br />

20 473.97+29.62 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

66.64+10.47 a<br />

60.66+2.56 b<br />

61.24+3.79 ab<br />

60.94+6.75 ab<br />

60.64+3.21 ab<br />

54.76+6.32 b<br />

66.64+10.47 a<br />

44.44+2.27 b<br />

35.02+2.17 bc<br />

25.28+5.72 c<br />

21.91+3.68 d<br />

18.55+1.84 d<br />

261<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

18.11+5.84 b<br />

18.32+1.95 b<br />

18.53+2.67 b<br />

18.96+2.97 b<br />

21.90+4.51 a<br />

20.02+2.60 ab<br />

18.11+5.84 a<br />

18.07+1.37 a<br />

18.04+2.95 a<br />

16.62+6.56a b<br />

14.49+3.73 b<br />

15.21+1.03 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

2 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงทาว<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

2) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 0.094+0.00 a<br />

4 0.052+0.01 c<br />

8 0.051+0.01 c<br />

12 0.067+0.01 b<br />

16 0.069+0.01 b<br />

20 0.066+0.01 b<br />

4 0 0.094+0.00 a<br />

4 0.069+0.01 b<br />

8 0.066+0.01 bc<br />

12 0.063+0.01 bc<br />

16 0.044+0.00 d<br />

20 0.051+0.01 cd<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

48.18+6.70 a<br />

47.95+6.89 a<br />

47.05+4.32 a<br />

39.79+5.22 b<br />

36.24+3.93 bc<br />

32.87+3.37 c<br />

48.18+6.70 a<br />

32.62+2.26 b<br />

22.55+6.98 c<br />

22.25+4.77 c<br />

19.25+6.65 cd<br />

16.25+4.96 d<br />

262<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

8.82+1.24 a<br />

7.07+0.63 b<br />

5.32+0.47 c<br />

5.03+0.92 c<br />

5.45+1.05 c<br />

5.87+0.23 c<br />

8.82+1.24 a<br />

4.22+0.99 b<br />

3.08+0.75 b<br />

2.93+1.31 b<br />

2.38+5.08 b<br />

1.84+0.75 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

3 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

3) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 0.074+0.01 b<br />

4 0.111+0.01 a<br />

8 0.110+0.00 a<br />

12 0.097+0.01 a<br />

16 0.100+0.02 a<br />

20 0.104+0.01 a<br />

4 0 0.074+0.01 b<br />

4 0.095+0.01 c<br />

8 0.158+0.01 b<br />

12 0.179+0.02 b<br />

16 0.233+0.04 a<br />

20 0.189+0.01 b<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

80.01+0.04 a<br />

79.61+0.84 a<br />

80.04+0.01 a<br />

80.02+0.03 a<br />

79.41+5.99 a<br />

80.05+0.02 a<br />

80.01+0.04 a<br />

64.35+9.87 b<br />

54.05+4.91 c<br />

38.77+5.74 d<br />

31.95+4.51 d<br />

34.86+1.98 d<br />

263<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

11.41+1.02 d<br />

15.93+1.36 ab<br />

17.06+1.06 a<br />

14.18+1.81 bc<br />

12.84+2.68 c<br />

14.27+1.82 bc<br />

11.41+1.02 a<br />

12.12+3.28 a<br />

14.79+1.58 a<br />

11.79+2.69 a<br />

13.57+4.49 a<br />

10.93+0.49 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

4 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงขาวเจา<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

4) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 111.56+12.6 a<br />

4 104.10+14.7 a<br />

8 96.64+9.09 ab<br />

12 89.27+7.02 b<br />

16 81.91+5.80 c<br />

20 87.74+14.63 bc<br />

4 0 111.56+12.6 b<br />

4 68.92+2.52 c<br />

8 54.23+14.58 c<br />

12 108.20+19.49 b<br />

16 165.55+19.65 a<br />

20 111.15+27.65 b<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

35.02+4.07 a<br />

29.19+4.69 ab<br />

23.37+2.93 bc<br />

25.05+6.32 b<br />

26.30+2.24 b<br />

24.77+2.57 bc<br />

35.02+4.07 a<br />

36.47+3.55 a<br />

23.85+2.27 b<br />

23.73+4.10 b<br />

23.18+3.74 b<br />

22.63+2.08 b<br />

264<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

7.43+0.80 a<br />

5.84+0.80 b<br />

4.25+0.71 c<br />

4.17+0.58 c<br />

4.10+0.68 c<br />

3.74+0.87 c<br />

7.43+0.80 a<br />

4.78+1.13 b<br />

4.78+1.00 b<br />

4.79+1.27 b<br />

4.71+1.69 b<br />

4.63+1.32 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

5 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอมและแปงทาว(สิ่งทดลองที่<br />

5) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 45.45+11.25 a<br />

4 47.27+4.99 a<br />

8 54.92+3.89 a<br />

12 65.89+21.60 a<br />

16 57.19+15.88 a<br />

20 62.30+12.41 a<br />

4 0 45.45+11.25 b<br />

4 72.96+7.62 b<br />

8 72.77+23.94 b<br />

12 63.10+14.68 b<br />

16 102.65+16.96 b<br />

20 268.54+83.57 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

52.29+3.83 a<br />

42.37+2.42 b<br />

47.18+6.50 ab<br />

49.61+9.90 ab<br />

54.83+3.27 a<br />

51.14+5.76 ab<br />

52.29+3.83 a<br />

29.51+10.29 b<br />

22.30+5.15 bc<br />

15.55+6.25 cd<br />

11.51+2.24 d<br />

11.28+2.57 d<br />

265<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

4.28+1.45 ab<br />

3.85+0.48 b<br />

5.58+1.40 ab<br />

6.25+2.83 ab<br />

6.43+1.11 ab<br />

6.62+1.46 a<br />

4.28+1.45 a<br />

4.07+1.62 a<br />

3.10+1.12 b<br />

3.76+0.58 b<br />

2.11+0.58 bc<br />

1.36+2.57 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


266<br />

ตารางผนวกที่<br />

6 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวนผสม<br />

ของแปงเทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

6) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 78.09+2.41 c<br />

4 84.24+13.84 bc<br />

8 94.89+4.85 b<br />

12 110.04+10.65 ab<br />

16 125.20+8.91 a<br />

20 118.44+18.52 a<br />

4 0 78.09+2.41 d<br />

4 125.74+16.30 c<br />

8 126.12+21.98 c<br />

12 156.41+22.92 b<br />

16 271.06+13.52 a<br />

20 260.29+20.25 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

72.70+3.73 a<br />

72.85+4.77 a<br />

67.46+6.15 b<br />

67.52+9.45 b<br />

67.94+2.20 b<br />

70.40+5.08 ab<br />

72.70+3.73 a<br />

42.73+2.74 b<br />

31.08+7.73 c<br />

27.54+5.28 c<br />

15.66+1.99 d<br />

14.45+1.89 d<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

10.98+1.68 b<br />

11.80+3.02 b<br />

12.77+0.80 b<br />

13.18+2.74a b<br />

14.56+1.11 a<br />

14.74+4.08 a<br />

10.98+1.68 a<br />

8.83+0.87 ab<br />

6.69+1.89 b<br />

7.23+2.41 b<br />

7.17+1.19 b<br />

6.49+1.19 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

7 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอมและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

7) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 85.48+8.43 a<br />

4 81.23+0.63 ab<br />

8 73.71+3.67 ab<br />

12 66.87+13.51 b<br />

16 72.83+4.79 ab<br />

20 78.13+16.67 ab<br />

4 0 85.48+8.43 bc<br />

4 121.63+14.97 b<br />

8 67.22+42.06 c<br />

12 179.62+37.37 a<br />

16 209.72+19.63 a<br />

20 173.03+53.07 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

54.97+7.88 a<br />

52.81+6.08 ab<br />

46.82+4.45 ab<br />

45.47+6.41 b<br />

43.09+1.16 b<br />

36.33+5.84 c<br />

54.97+7.88 a<br />

30.14+4.90 b<br />

17.58+6.91 c<br />

17.83+1.74 c<br />

14.57+2.18 c<br />

10.19+2.57 c<br />

267<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

9.29+2.62 a<br />

8.39+1.37 ab<br />

7.28+0.79 abc<br />

6.32+0.74 bc<br />

7.13+1.49 abc<br />

4.99+1.72 c<br />

9.29+2.62 a<br />

6.74+0.56 b<br />

2.25+1.77 d<br />

5.44+1.34 bc<br />

5.25+0.94 bc<br />

3.24+1.63 cd<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

8 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาวและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

8) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 0.067+0.01 ab<br />

4 0.065+0.01 b<br />

8 0.041+0.00 c<br />

12 0.083+0.01 a<br />

16 0.039+0.00 c<br />

20 0.071+0.01 ab<br />

4 0 0.067+0.01 c<br />

4 0.110+0.01 b<br />

8 0.087+0.01 bc<br />

12 0.178+0.04 a<br />

16 0.087+0.01 bc<br />

20 0.099+0.01 bc<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

71.03+13.51 a<br />

76.33+9.34 a<br />

76.90+3.89 a<br />

69.30+6.50 a<br />

68.98+9.79 a<br />

63.50+8.41 a<br />

71.03+13.51 a<br />

60.44+2.86 b<br />

37.89+2.83 c<br />

32.61+5.71 c<br />

28.02+3.87 c<br />

28.93+2.91 c<br />

268<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

9.39+3.56 a<br />

9.77+2.11 a<br />

5.70+0.57 b<br />

5.47+1.50 b<br />

5.13+0.47 b<br />

8.74+2.26 a<br />

9.39+3.56 b<br />

12.91+0.59 a<br />

11.78+0.82 ab<br />

10.65+2.88 ab<br />

4.55+0.61 c<br />

5.30+1.51 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


269<br />

ตารางผนวกที่<br />

9 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาวและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

9) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่<br />

แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 50.17+4.76 a<br />

4 39.34+7.67 b<br />

8 34.62+5.54 b<br />

12 29.91+4.72 b<br />

16 32.31+9.26 b<br />

20 31.56+7.71 b<br />

4 0 50.17+4.76 b<br />

4 39.17+3.49 c<br />

8 47.36+6.81 b<br />

12 38.59+3.17 c<br />

16 69.26+7.35 a<br />

20 63.69+3.66 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

29.51+0.97 b<br />

31.88+14.49 ab<br />

34.26+4.33 a<br />

29.09+3.42 ab<br />

20.02+2.57 b<br />

23.86+3.29 ab<br />

29.51+0.97 a<br />

27.79+0.92 ab<br />

30.07+4.33 a<br />

21.97+2.91 ab<br />

17.03+3.71 b<br />

23.07+4.10 ab<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

2.91+0.30 a<br />

2.22+0.53 ab<br />

2.72+0.77 a<br />

1.76+0.48 bc<br />

1.31+0.46 c<br />

1.44+0.46 bc<br />

2.91+0.30 a<br />

1.48+0.92 b<br />

2.89+0.38 a<br />

1.62+0.24 b<br />

2.55+0.87 a<br />

2.81+0.58 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

10 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

10) ที่เก็บในเวลา<br />

และอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 67.35+3.99 b<br />

4 53.13+9.03 c<br />

8 63.09+3.79 bc<br />

12 62.38+4.55 bc<br />

16 61.87+4.22 bc<br />

20 91.88+14.20 a<br />

4 0 67.35+3.99 c<br />

4 76.74+14.99 c<br />

8 71.70+18.62 c<br />

12 106.50+6.40 b<br />

16 133.94+37.68 ab<br />

20 153.52+16.37 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

34.09+10.20 bc<br />

31.00+7.68 bc<br />

26.15+7.69 c<br />

26.92+10.36 c<br />

33.09+9.47 bc<br />

45.02+4.00 a<br />

34.09+10.20 a<br />

29.15+6.01 b<br />

24.21+10.22 b<br />

24.95+2.00 b<br />

28.69+3.01 b<br />

29.24+1.91 b<br />

270<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

4.49+1.49 b<br />

2.84+1.21 b<br />

3.29+0.72 b<br />

6.77+1.53 a<br />

4.18+1.24 b<br />

8.51+1.94 a<br />

4.49+1.49 c<br />

7.78+0.82 a<br />

3.66+1.57 c<br />

4.78+0.54 bc<br />

6.66+1.89 ab<br />

7.30+0.78 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

11 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

11) ที่<br />

เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 60.06+8.41 b<br />

4 60.00+14.41 b<br />

8 59.29+12.33 b<br />

12 102.53+12.44 a<br />

16 59.32+16.75 b<br />

20 66.90+19.57 b<br />

4 0 60.06+8.41 c<br />

4 63.04+18.76 c<br />

8 129.49+9.86 b<br />

12 130.40+17.35 b<br />

16 123.46+15.85 b<br />

20 168.63+21.83 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

69.86+10.47 a<br />

68.04+8.27 a<br />

69.30+11.28 a<br />

74.28+4.75 a<br />

66.82+11.38 a<br />

65.83+8.47 a<br />

69.86+10.47 a<br />

42.23+8.54 b<br />

36.66+3.18 bc<br />

28.99+3.03 cd<br />

17.91+3.80 e<br />

21.57+3.53 de<br />

271<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

8.40+1.95 a<br />

7.82+2.74 b<br />

7.70+2.04 b<br />

7.69+3.53 b<br />

7.69+3.51 b<br />

8.16+1.86 a<br />

8.40+1.95 a<br />

5.21+2.50 bc<br />

8.69+0.58 a<br />

6.57+0.98 ab<br />

3.67+0.40 c<br />

6.76+1.30 ab<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

12 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

12) ที่เก็บใน<br />

เวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 57.16+7.14 c<br />

4 71.59+15.53 b<br />

8 89.81+1.14 a<br />

12 75.66+4.05 b<br />

16 68.39+9.79 bc<br />

20 72.02+1.76 b<br />

4 0 57.16+7.14 d<br />

4 113.75+28.32 c<br />

8 175.21+36.69 b<br />

12 236.99+30.74 a<br />

16 242.93+16.65 a<br />

20 248.87+31.14 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

28.96+7.23 a<br />

26.04+3.66 a<br />

28.52+3.70 a<br />

33.70+9.04 a<br />

31.99+2.57 a<br />

26.97+6.39 a<br />

28.96+7.23 a<br />

18.21+3.42 b<br />

27.60+3.92 a<br />

18.92+0.73 b<br />

13.30+2.50 b<br />

18.81+3.07 b<br />

272<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

3.66+1.65 a<br />

3.73+0.98 a<br />

5.04+0.72 a<br />

5.09+1.17 a<br />

4.23+0.69 a<br />

4.17+1.29 a<br />

3.66+1.65 b<br />

3.44+0.78 b<br />

8.89+2.35 a<br />

7.79+1.36 a<br />

2.82+0.83 b<br />

8.41+2.10 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

13 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลอง<br />

ที่<br />

13) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 79.88+6.53 b<br />

4 89.47+5.93 ab<br />

8 102.09+14.12 a<br />

12 90.55+12.38 ab<br />

16 86.51+10.20 b<br />

20 76.23+5.37 b<br />

4 0 79.88+6.53 c<br />

4 140.46+34.71 b<br />

8 96.76+10.97 c<br />

12 136.93+21.02 b<br />

16 187.13+10.31 a<br />

20 125.89+14.21 b<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

32.63+3.36 b<br />

49.12+9.19 a<br />

47.38+1.47 a<br />

48.67+7.99 a<br />

50.36+7.56 a<br />

40.54+7.81 ab<br />

32.63+3.36 a<br />

24.58+8.75 b<br />

23.06+5.34 bc<br />

22.55+3.98 bc<br />

15.34+1.77 cd<br />

13.89+4.32 d<br />

273<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

4.94+0.31 c<br />

7.76+2.16 ab<br />

9.04+1.74 a<br />

8.84+1.85 a<br />

8.50+2.24 a<br />

5.51+1.36 ba<br />

4.94+0.31 ab<br />

6.51+3.19 a<br />

4.31+0.86 ab<br />

5.26+1.61 ab<br />

5.05+0.40 ab<br />

3.14+1.21 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

14 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

14) ที่เก็บ<br />

ในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 65.63+2.08 b<br />

4 64.38+6.45 b<br />

8 76.82+3.07 a<br />

12 65.46+11.72 b<br />

16 65.27+6.32 b<br />

20 59.69+4.38 b<br />

4 0 65.63+2.08 b<br />

4 131.63+14.93 a<br />

8 114.80+13.30 a<br />

12 132.98+32.44 a<br />

16 111.44+8.30 a<br />

20 110.17+13.20 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

52.11+7.29 a<br />

52.25+3.58 a<br />

52.67+2.83 a<br />

48.21+5.17 a<br />

44.82+7.84 a<br />

49.97+6.44 a<br />

52.11+7.29 a<br />

39.90+2.76 b<br />

29.26+2.49 b<br />

29.38+2.76 b<br />

27.28+3.53 b<br />

22.60+6.02 c<br />

274<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

5.82+0.88 b<br />

5.53+1.25 b<br />

7.68+0.10 a<br />

5.91+1.52 b<br />

5.84+1.44 b<br />

5.69+0.41 b<br />

5.82+0.88 bc<br />

9.47+0.53 a<br />

6.47+1.07 b<br />

4.64+1.40 c<br />

4.49+1.08 c<br />

4.35+1.15 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

15 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาแรงดึง(Tensile<br />

test) ของเจลแปงที่มีสวน<br />

ผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่ง<br />

ทดลองที่<br />

15) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 69.27+8.93 abc<br />

4 54.01+10.28 c<br />

8 65.21+14.92 c<br />

12 66.59+5.89 bc<br />

16 81.27+8.14 ab<br />

20 83.28+5.97 a<br />

4 0 69.27+8.93 c<br />

4 58.52+19.43 c<br />

8 92.95+18.98 b<br />

12 97.27+7.87 b<br />

16 127.34+9.08 a<br />

20 126.03+20.80 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

57.22+8.36 b<br />

60.99+12.27 ab<br />

64.76+10.65 a<br />

55.94+8.44 b<br />

54.16+4.01 b<br />

58.16+0.52 b<br />

57.22+8.36 a<br />

29.85+9.52 b<br />

29.45+4.30 b<br />

28.34+6.72 bc<br />

22.12+2.54 c<br />

21.46+3.47 c<br />

275<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

7.80+2.01 ab<br />

5.52+2.47 b<br />

8.83+2.80 ab<br />

7.05+2.21 ab<br />

8.09+1.01 ab<br />

8.96+0.93 a<br />

7.80+2.01 a<br />

3.65+1.87 c<br />

6.26+1.31 ab<br />

4.95+1.26 bc<br />

5.43+1.33 bc<br />

4.74+1.02 bc<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ภาคผนวก จ<br />

คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปง<br />

ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

276


ตารางผนวกที่<br />

1 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปง<br />

เทายายมอม (สิ่งทดลองที่<br />

1) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 224.24+32.52 b<br />

4 229.54+21.65 b<br />

8 236.58+23.42 b<br />

12 239.23+14.43 b<br />

16 242.75+23.04 b<br />

20 248.93+70.30 a<br />

4 0 244.24+32.52 c<br />

4 272.08+64.76 c<br />

8 299.93+51.78 bc<br />

12 371.14+39.34 b<br />

16 381.62+135.02 b<br />

20 392.10+48.74 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

65.03+3.37 a<br />

55.18+4.38 b<br />

50.65+8.01 b<br />

46.12+4.34 c<br />

46.00+5.12 c<br />

45.89+3.04 c<br />

65.03+3.37 a<br />

27.66+3.94 b<br />

23.40+2.92 b<br />

24.55+3.62 b<br />

11.31+1.89 c<br />

9.65+0.91 c<br />

277<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

28.83+4.32 a<br />

20.28+3.06 b<br />

18.73+2.36 c<br />

17.73+2.92 c<br />

17.80+4.04 c<br />

18.73+7.24 c<br />

28.83+4.32 a<br />

18.31+3.17 b<br />

16.91+1.22 b<br />

15.52+2.40 bc<br />

10.85+3.26 c<br />

7.08+0.78 e<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

2 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงทาว<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

2) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 0.124+0.01 a<br />

4 0.084+0.01 bc<br />

8 0.075+0.01 c<br />

12 0.086+0.01 bc<br />

16 0.075+0.01 c<br />

20 0.064+0.02 c<br />

4 0 0.124+0.01 cd<br />

4 0.127+0.02 cd<br />

8 0.131+0.02 c<br />

12 0.149+0.02 bc<br />

16 0.168+0.01 b<br />

20 0.201+0.01 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

38.69+2.84 ab<br />

31.20+16.98 b<br />

31.57+2.44 b<br />

31.95+3.48 b<br />

31.87+3.36 b<br />

31.79+5.33 b<br />

38.69+2.84 a<br />

31.41+3.62 b<br />

26.86+4.34 bc<br />

23.45+4.83 cd<br />

18.87+2.48 d<br />

18.32+1.46 d<br />

278<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

9.09+0.78 a<br />

5.11+3.60 b<br />

5.22+0.91 b<br />

5.34+1.08 b<br />

4.74+1.99 b<br />

4.14+1.76 b<br />

9.09+0.78 a<br />

6.90+2.10 b<br />

6.49+1.72 bc<br />

6.49+1.41 bc<br />

5.70+1.02 c<br />

4.50+0.97 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

3 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงมัน<br />

สํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

3) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 0.085+0.01 c<br />

4 0.135+0.01 ab<br />

8 0.124+0.02 b<br />

12 0.131+0.01 ab<br />

16 0.138+0.01 ab<br />

20 0.153+0.02 a<br />

4 0 0.085+0.01 c<br />

4 0.147+0.04 c<br />

8 0.147+0.02 c<br />

12 0.210+0.02 b<br />

16 0.320+0.06 a<br />

20 0.353+0.04 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

80.03+0.01 a<br />

72.28+5.31 b<br />

77.87+3.19 a<br />

78.79+2.48 a<br />

77.89+4.31 a<br />

70.03+0.00 b<br />

80.03+0.01 a<br />

65.53+6.53 b<br />

47.73+5.14 c<br />

46.17+3.44 c<br />

31.58+1.70 d<br />

27.20+4.50 d<br />

279<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

12.92+0.48 b<br />

17.67+1.58 a<br />

11.04+1.22 b<br />

8.73+1.13 cd<br />

6.43+1.19 d<br />

3.75+1.09 e<br />

12.92+0.48 b<br />

18.50+6.03 a<br />

17.66+3.15 a<br />

16.83+2.18 a<br />

17.34+3.82 a<br />

17.38+5.50 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

4 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงขาว<br />

เจา (สิ่งทดลองที่<br />

4) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 144.13+2.29 a<br />

4 138.80+9.49 a<br />

8 133.48+21.39 a<br />

12 121.24+24.64 a<br />

16 121.08+6.68 a<br />

20 120.93+17.94 a<br />

4 0 144.13+2.29 a<br />

4 137.90+25.11 a<br />

8 128.32+17.35 b<br />

12 126.74+25.54 b<br />

16 125.69+11.41 b<br />

20 124.65+18.94 b<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

28.25+2.93 a<br />

25.02+1.38 ab<br />

23.78+3.37 b<br />

22.55+2.01 b<br />

20.05+1.67 b<br />

17.56+3.91 c<br />

28.25+2.93 a<br />

28.06+1.41 a<br />

27.57+4.09 ab<br />

27.08+4.28 ab<br />

25.41+1.72 b<br />

23.75+5.46 b<br />

280<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

7.20+0.34 a<br />

5.48+0.44 bc<br />

5.30+1.22 bc<br />

5.12+1.13 bc<br />

4.43+1.19 cd<br />

3.75+1.09 d<br />

7.20+0.34 ab<br />

7.03+1.52 ab<br />

6.66+1.19 bc<br />

6.29+1.23 bc<br />

5.74+0.79 c<br />

5.19+1.33 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

5 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอมและแปงทาว (สิ่งทดลองที่<br />

5) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 90.19+29.18 c<br />

4 90.77+12.35 c<br />

8 92.04+24.38 bc<br />

12 100.99+21.43 b<br />

16 124.41+22.42 b<br />

20 154.39+5.78 a<br />

4 0 90.19+29.18 d<br />

4 102.32+14.77 d<br />

8 120.46+14.47 c<br />

12 144.13+53.73 bc<br />

16 178.25+40.83 a<br />

20 211.87+60.97 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

60.60+5.43 a<br />

57.35+6.65 bc<br />

54.23+6.17 bc<br />

52.48+3.28 bc<br />

47.44+4.63 c<br />

41.43+5.58 c<br />

60.60+5.43 a<br />

23.21+8.34 b<br />

18.10+2.61 bc<br />

12.23+2.99 cd<br />

11.84+2.27 d<br />

10.49+1.13 d<br />

281<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

10.42+3.84 c<br />

13.07+1.55 bc<br />

16.08+2.73 a<br />

10.06+2.09 c<br />

7.41+2.11 d<br />

5.20+2.57 d<br />

10.42+3.84 a<br />

4.08+1.16 b<br />

4.92+0.72 b<br />

4.10+1.70 b<br />

4.21+1.60 b<br />

4.21+1.86 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

6 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอมและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

6) ที่เก็บใน<br />

เวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 141.73+10.54 b<br />

4 141.72+24.11 b<br />

8 148.62+14.15 ab<br />

12 155.53+15.19 a<br />

16 150.39+15.79 b<br />

20 150.97+10.40 b<br />

4 0 141.73+10.54 d<br />

4 190.36+27.15 cd<br />

8 267.49+47.97 ab<br />

12 294.22+30.71 a<br />

16 256.25+22.91 ab<br />

20 229.31+92.71 b<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

71.34+1.32 ab<br />

76.89+9.58 a<br />

76.75+4.02 a<br />

62.93+2.88 b<br />

62.75+9.11 b<br />

60.86+3.19 b<br />

71.4+1.32 a<br />

46.75+4.45 b<br />

33.95+2.17 c<br />

26.82+1.01 d<br />

21.84+6.30 d<br />

14.83+2.14 e<br />

282<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

18.41+2.04 a<br />

17.59+4.18 a<br />

16.69+5.28 b<br />

16.92+1.25 b<br />

15.90+2.05 b<br />

15.43+2.20 b<br />

18.41+2.04 a<br />

16.58+2.81 ab<br />

15.62+3.49 ab<br />

13.97+1.18 bc<br />

10.10+3.36 c<br />

11.49+4.00 bc<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

7 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก<br />

(Fracture test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอมและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

7) ที่เก็บในเวลา<br />

และอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 123.56+5.81 ab<br />

4 142.81+15.40 a<br />

8 144.83+10.23 a<br />

12 145.69+9.92 a<br />

16 145.07+16.69 a<br />

20 142.59+21.72 a<br />

4 0 123.56+5.81 e<br />

4 127.22+14.86 e<br />

8 150.10+28.52 de<br />

12 228.17+5.43 c<br />

16 275.79+22.65 b<br />

20 343.28+28.96 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

50.16+3.68 a<br />

40.89+4.08 b<br />

44.75+7.18 b<br />

45.85+6.89 b<br />

46.10+0.53 b<br />

38.44+6.49 b<br />

50.16+3.68 a<br />

23.63+4.77 b<br />

15.06+3.71 c<br />

15.51+1.24 c<br />

12.89+1.73 c<br />

12.18+1.89 c<br />

283<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

11.89+1.01 ab<br />

12.60+0.78 a<br />

12.20+2.33 a<br />

8.10+1.42 b<br />

10.46+0.91 ab<br />

9.81+2.30 ab<br />

11.89+1.01 a<br />

6.80+1.48 b<br />

4.14+1.32 c<br />

5.92+0.53 bc<br />

6.45+1.28 b<br />

7.81+1.78 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

8 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงทาวและแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลองที่<br />

8) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 127.42+12.16 a<br />

4 120.85+15.65 a<br />

8 109.14+12.30 bc<br />

12 96.44+12.25 c<br />

16 87.61+15.16 cd<br />

20 79.96+8.59 d<br />

4 0 127.42+12.16 d<br />

4 178.64+0.02 c<br />

8 183.29+0.01 c<br />

12 249.14+0.01 bc<br />

16 298.49+0.03 b<br />

20 398.11+0.12 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

63.34+8.63 ab<br />

69.50+9.86 a<br />

66.09+1.15 a<br />

65.55+4.99 a<br />

59.40+5.62 ab<br />

53.50+3.36 b<br />

63.34+8.63 a<br />

45.06+2.72 b<br />

29.61+1.69 c<br />

28.15+2.94 c<br />

20.48+1.92 d<br />

18.62+1.44 d<br />

284<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

15.88+3.24 a<br />

15.00+2.82 a<br />

14.01+1.56 a<br />

12.72+2.84 ab<br />

9.61+3.41 bc<br />

8.49+1.42 c<br />

15.88+3.24 a<br />

15.49+0.97 a<br />

13.78+0.44 ab<br />

12.08+1.72 bc<br />

10.68+1.03 bc<br />

9.37+3.15 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

9 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงทาวและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

9) ที่เก็บในเวลาและ<br />

อุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 54.22+14.75 b<br />

4 64.33+11.19 a<br />

8 64.41+17.96 a<br />

12 63.39+10.53 a<br />

16 63.39+8.68 a<br />

20 66.51+11.00 a<br />

4 0 54.22+14.75 d<br />

4 62.94+1.27 cd<br />

8 70.33+14.41 bcd<br />

12 80.42+14.86 bc<br />

16 91.79+27.16 ab<br />

20 104.99+4.39 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

11.36+8.42 d<br />

15.01+2.19 cd<br />

18.98+3.25 bc<br />

28.84+0.74 a<br />

25.17+2.85 ab<br />

22.47+4.65 ab<br />

11.36+8.42 c<br />

14.98+1.18 c<br />

23.86+2.33 a<br />

23.88+3.00 a<br />

19.96+4.49 b<br />

16.05+1.03 bc<br />

285<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

1.66+0.60 c<br />

1.93+0.42 bc<br />

2.15+0.23 abc<br />

2.87+0.67 ab<br />

3.22+0.64 a<br />

3.10+1.09 a<br />

1.66+0.60 c<br />

2.89+0.21 b<br />

3.23+0.60 ab<br />

4.03+1.18 a<br />

3.68+0.99 ab<br />

2.32+0.09 bc<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

10 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงมันสํ าปะหลังและแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

10) ที่เก็บใน<br />

เวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 102.99+10.72 a<br />

4 99.25+10.88 a<br />

8 84.27+9.69 ab<br />

12 73.09+14.20 b<br />

16 71.06+19.05 b<br />

20 57.91+8.01 c<br />

4 0 102.99+10.72 b<br />

4 114.68+9.82 b<br />

8 128.80+17.44 b<br />

12 166.10+22.72 b<br />

16 207.45+31.55 ab<br />

20 248.81+85.93 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

21.08+1.43 c<br />

38.21+9.05 a<br />

39.89+3.98 a<br />

27.27+3.27 bc<br />

25.71+5.64 bc<br />

23.31+5.04 bc<br />

21.08+1.43 bc<br />

36.75+4.22 a<br />

32.28+2.38 ab<br />

28.35+4.06 b<br />

23.29+5.01 bc<br />

18.24+5.39 c<br />

286<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

4.34+0.73 d<br />

7.00+1.10 a<br />

6.72+0.97 ab<br />

5.71+0.78 bc<br />

4.97+1.88 cd<br />

4.72+1.47 cd<br />

4.34+0.73 b<br />

8.53+2.11 a<br />

8.49+1.64 a<br />

8.46+2.48 a<br />

8.69+1.68 a<br />

8.92+6.30 a<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

11 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงมันสํ าปะหลัง (สิ่งทดลอง<br />

ที่<br />

11) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 134.50+8.83 a<br />

4 112.11+11.32 ab<br />

8 107.53+23.74 b<br />

12 96.45+23.84 b<br />

16 95.78+6.09 b<br />

20 95.71+19.92 b<br />

4 0 134.50+8.83 b<br />

4 136.29+20.04 b<br />

8 143.28+15.81 b<br />

12 182.48+31.16 b<br />

16 267.77+50.75 a<br />

20 283.52+45.98 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

68.77+8.67 a<br />

68.61+8.94 a<br />

69.91+4.78 a<br />

64.18+13.26 a<br />

62.61+7.73 a<br />

61.92+8.10 a<br />

68.77+8.67 a<br />

45.15+5.78 b<br />

25.06+4.58 c<br />

24.67+5.06 c<br />

21.87+1.01 c<br />

13.42+2.82 d<br />

287<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

17.30+2.83 a<br />

16.21+3.14 ab<br />

15.13+2.66 ab<br />

11.19+3.14 b<br />

11.71+1.65 b<br />

11.91+1.62 b<br />

17.30+2.83 a<br />

11.21+2.56 b<br />

11.78+1.01 b<br />

7.01+1.09 c<br />

5.62+0.47 c<br />

4.44+1.62 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

12 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

12) ที่<br />

เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 133.13+11.76 ab<br />

4 151.27+30.26 a<br />

8 146.46+9.58 a<br />

12 126.60+12.07 ab<br />

16 110.81+15.86 bc<br />

20 86.32+22.69 c<br />

4 0 133.13+11.76 c<br />

4 247.22+13.09 b<br />

8 253.14+46.47 b<br />

12 258.29+26.10 b<br />

16 253.72+38.02 b<br />

20 279.15+30.61 ab<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

26.16+4.06 c<br />

27.18+4.70 bc<br />

28.31+2.84 bc<br />

27.96+3.84 bc<br />

29.15+4.25 a<br />

30.34+2.82 a<br />

26.16+4.06 a<br />

25.80+2.20 a<br />

24.01+4.84 a<br />

17.44+2.61 b<br />

13.81+1.61 c<br />

10.64+1.47 c<br />

288<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

6.20+0.42 c<br />

6.61+2.42 c<br />

6.58+0.87 c<br />

8.19+1.12 b<br />

9.80+1.24 a<br />

6.49+1.09 c<br />

6.20+0.42 cd<br />

10.64+1.05 ab<br />

14.23+5.99 a<br />

7.63+2.75 bc<br />

6.43+0.91 cd<br />

5.24+1.23 d<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

13 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอม แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลอง<br />

ที่<br />

13) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 138.08+13.65 bc<br />

4 216.03+31.18 a<br />

8 135.64+10.53 bc<br />

12 113.43+10.90 cd<br />

16 114.68+13.30 cd<br />

20 96.18+6.60 d<br />

4 0 138.08+13.65 c<br />

4 184.61+31.77 bc<br />

8 231.15+46.34 b<br />

12 252.93+36.43 ab<br />

16 274.60+18.29 a<br />

20 278.12+19.08 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

45.66+3.68 a<br />

44.21+2.45 a<br />

43.21+6.69 a<br />

43.84+3.72 a<br />

34.73+5.78 ab<br />

25.63+4.94 b<br />

45.66+3.68 a<br />

37.07+4.34 b<br />

28.48+2.68 bc<br />

23.53+1.41 c<br />

15.57+3.33 d<br />

13.54+1.42 d<br />

289<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

10.96+2.11 bc<br />

15.56+2.87 a<br />

10.65+2.01 bc<br />

9.48+0.65 c<br />

5.08+2.45 d<br />

4.80+0.92 d<br />

10.96+2.11 ab<br />

11.86+2.31 ab<br />

13.30+4.23 a<br />

12.93+2.66 a<br />

7.95+2.45 b<br />

6.96+1.26 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

14 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา (สิ่งทดลองที่<br />

14) ที่<br />

เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(mPa)<br />

35 0 81.38+16.04 bc<br />

4 89.98+27.39 b<br />

8 91.53+5.84 b<br />

12 95.67+12.036 b<br />

16 106.83+19.52 ab<br />

20 170.23+24.18 a<br />

4 0 81.38+16.04 c<br />

4 110.77+14.24 b<br />

8 140.16+18.16 ab<br />

12 164.89+28.37 a<br />

16 176.80+31.90 a<br />

20 188.71+28.89 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

52.20+9.94 a<br />

34.82+5.81 b<br />

34.53+6.45 b<br />

33.67+1.00 b<br />

33.47+4.24 b<br />

32.74+2.55 b<br />

52.20+9.94 a<br />

35.42+3.16 b<br />

26.49+2.04 c<br />

26.27+3.86 c<br />

25.94+7.57 cd<br />

22.39+1.25 d<br />

290<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

8.48+3.87 a<br />

5.59+2.23 b<br />

5.71+1.61 b<br />

5.48+0.86 b<br />

5.60+2.47 b<br />

4.82+1.46 b<br />

8.48+3.87 b<br />

15.25+1.58 a<br />

7.48+1.52 b<br />

6.78+0.79 b<br />

6.03+1.92 b<br />

5.04+3.11 b<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ตารางผนวกที่<br />

15 คาพารามิเตอรที่ไดจากการวัดคาการแตกหัก(Fracture<br />

test) ของเจลแปงที่มี<br />

สวนผสมของแปงเทายายมอม แปงทาว แปงมันสํ าปะหลัง และแปงขาวเจา<br />

(สิ่งทดลองที่<br />

15) ที่เก็บในเวลาและอุณหภูมิที่แตกตางกัน<br />

อุณหภูมิ<br />

(องศาเซลเซียส)<br />

เวลา<br />

(ชั่วโมง)<br />

คาความเคน<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

(m Pa)<br />

35 0 105.97+14.37 ab<br />

4 115.36+8.84 a<br />

8 114.34+11.82 a<br />

12 99.47+6.80 bc<br />

16 94.64+5.66 bc<br />

20 89.97+13.09 c<br />

4 0 105.97+14.37 d<br />

4 144.53+7.87 c<br />

8 149.16+13.32 c<br />

12 185.09+7.51 ab<br />

16 192.03+8.88 ab<br />

20 201.70+7.72 a<br />

คารอยละการยืดตัว<br />

ณ แรงสูงสุด<br />

51.49+6.46 b<br />

57.91+5.17 ab<br />

58.42+2.26 a<br />

53.31+3.12 b<br />

51.63+2.62 b<br />

43.83+5.63 c<br />

51.49+6.46 a<br />

36.64+2.04 b<br />

27.36+2.88 c<br />

26.33+2.54 c<br />

20.73+1.80 d<br />

19.42+3.62 d<br />

291<br />

คางานทั้งหมด<br />

(mJ)<br />

10.87+2.80 ab<br />

10.45+1.71 ab<br />

11.95+1.82 a<br />

11.63+1.71 ab<br />

8.52+1.71 bc<br />

7.08+2.22 c<br />

10.87+2.80 a<br />

9.60+1.52 ab<br />

8.68+0.98 abc<br />

7.29+1.35 bc<br />

7.29+1.26 bc<br />

6.50+1.63 c<br />

หมายเหตุ ตัวอักษรที่ตางกันในแตละคอลัมนและแตละอุณหภูมิ<br />

หมายถึง คาเฉลี่ยที่แตก<br />

ตางกันอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ (p < 0.05)


ภาคผนวก ฉ<br />

วิธีการวิเคราะหคุณภาพ และ แบบประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส<br />

292


วิธีการวิเคราะห<br />

1. การศึกษาลักษณะแกรนูลแปงดวยเครื่อง<br />

Scanning Electron Microscope<br />

( Sahai และคณะ, 1996)<br />

เครื่องมือ<br />

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน (Jeol JSM 5310, England)<br />

แทง Aluminium Stub<br />

เทปกาวสองหนา ชนิดบาง<br />

วิธีวิเคราะห<br />

(1) นํ าแปงตัวอยางปริมาณเล็กนอยมากระจายตัวบนเทปกาวสองหนา ที่ติดอยูบนแทง<br />

Aluminium Stub<br />

(2) นํ าแทง Aluminium Stub ที่ติดแปงตัวอยางแลวเขาเครื่องเคลือบทอง<br />

(Coating<br />

gold) ที่ผิวของแปงตัวอยาง<br />

เพื่อชวยในการนํ<br />

าประจุอิเล็กตรอน<br />

(3) นํ าแทง Aluminium Stub ที่ผานการเคลือบทองแลว<br />

เขาสูชองใสแทง<br />

Aluminium Stub ภายในตัวกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน โดยควบคุมสภาวะการทดลองที่คาอัตรา<br />

เรงของความตางศักยไฟฟาที่<br />

10 หรือ 15 kV และใชกํ าลังขยายที่<br />

1,000 หรือ 4,000 เทา<br />

(4) เลือก Field ของแกรนูลแปงที่ตองการ<br />

และบันทึกภาพแกรนูลแปงดังกลาวลงบน<br />

ฟลม AGAFAPAN-APX 100 film<br />

2. การวิเคราะหเปอรเช็นต Size Distribution ของขนาดแกรนูลแปง<br />

(Sahai และคณะ, 1996)<br />

เครื่องมือ<br />

แผนสไลดกระจก (Glass slide)<br />

กระจกปดแผนสไลด (Cover slide)<br />

293


สารเคมี<br />

294<br />

หลอดหยดสารละลาย (Dropper) และแทงแกว<br />

กลองจุลทรรศน (Meiji Techno,Japan) ที่ตอเขากับโปรแกรม<br />

Image Analysis (Image<br />

Pro Plus 3.0, Media Cybemetic,LP,USA)<br />

สารละลายนํ้<br />

าตาลซูโครส ความเขมขน 80 เปอรเซ็นต<br />

สารละลายไอโอดีน ความเขมขน 0.2 เปอรเซ็นต : เตรียมโดยละลายผลึกไอโอดีน 2.0<br />

มิลลิกรัม และโปตัสเซียมไอโอดีน (KI) 20 มิลิกรัมตอ 1 มิลลิลิตร<br />

วิธีวิเคราะห<br />

(1) เตรียมแผนสไลดแปงตัวอยาง โดยใชปเปตดูดสารละลายซูโครส 80 เปอรเซ็นต<br />

ประมาณ 40 ไมโครลิตร และหยดลงบนแผนสไลดทีสะอาด<br />

(2) ใชแปงตัวอยางประมาณ 0.0006 กรัม และนํ ามากระจายลงบนหยดของสารละลาย<br />

ซูโครสบนแผนสไลด ผสมใหแกรนูลแปงกระจายตัวมากที่สุด<br />

(3) ใชปเปตดูดสารละลายไอโอดีน ประมาณ 40 ไมโครลิตร และหยดลงบนหยดของ<br />

สาละลายแปงบนแผนสไลด ผสมใหกระจายตัวอีกครั้งหนึ่งและปดดวยกระจกปดแผน<br />

สไลด<br />

(4) กอนทํ าการวิเคราะหขนาดของแกรนูลแปงตัวอยาง จะตองปรับคา มาตรฐานของ<br />

โปรแกรม Image Analysis กอน โดยใชแผน Stage Micrometer วางภายใตกลองจุลทรรศน และ<br />

บันทึกภาพทั้งในแนวตั้ง<br />

และแนวนอนแลวทํ าการปรับคามารตฐานสํ าหรับการวัดขนาดเสนผาน<br />

ศูนยกลางโดยเฉลี่ยของแกรนูลแปง<br />

(4) นํ าแผนสไลดของแปงตัวอยางที่ตองการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางโดยเฉลี่ย<br />

ของแกร<br />

นูลแปงมาวางภายใตกลองจุลทรรศน และบันทึกภาพแกรนูลแปงไว<br />

(5) วิเคราะหขนาดเสนผาศูนยกลางโดยเฉลี่ยของแกรนูลแปง<br />

โดยการใชโปรแกรม<br />

Image Analysis และควรจะตองวิเคราะหแกรนูลแปงจํ านวนตั้งแต<br />

500 แกรนูลขึ้นไป<br />

หลังจากนั้น<br />

จึงนํ าขอมูลของขนาดเสนผาศูนยกลางโดยเฉลี่ยของแกรนูลแปงสงผานไปยังโปรแกรม<br />

Microsoft<br />

Excel เพื่อคํ<br />

านวณเปนคาการเปอรเซ็นต Size Distribution ของขนาดแกรนูลแปง


3. วัดการเปลี่ยนแปลงความหนืดดวยเครื่อง<br />

RVA รุน<br />

4D<br />

(Newport Scientific Pty, Ltd., 1995)<br />

เครื่องมือ<br />

เครื่อง<br />

RVA (Rapid Visco Analyzer) รุ น 4D พรอมแคนและพาย<br />

เครื่องแฮมเมอรมิลล<br />

ตะแกรงละเอียดขนาด 0.8 มิลลิเมตร<br />

วิธีวิเคราะห<br />

(1) กรณีที่ตัวอยางแปงมีคาความชื้น<br />

14 เปอรเซ็นต ใหตวงนํ้<br />

ากลั่นปริมาตร<br />

25.00<br />

+ 0.05 มิลลิลิตร ใสลงในแคนของเครื่อง<br />

RVA<br />

(2) ชั่งตัวอยางแปงมาจํ<br />

านวนหนึ่งใสลงในแคนที่มีนํ้<br />

าอยู<br />

โดยจํ านวนของตัวอยาง<br />

แปงขึ้นอยูกับชนิดของตัวอยาง<br />

(หมายเหตุ ถาตัวอยางไมละเอียด ใหบดตัวอยางดวยเครื่อง<br />

แฮม<br />

เมอรมิลล แลวรอนดวยตะแกรงละเอียดขนาด 0.8 มิลลิลิตร)<br />

(3) ใสพาย (paddle) ลงในแคน หมุนยายไปมาแรงๆ และดึงขึ้นลงเพื่อกวนตัวอยาง<br />

ไมใหจับเปนกอนที่ผิวนํ้<br />

าหรือติดอยูที่พาย<br />

(4) นํ าแคนที่ใสพายเขาเครื่อง<br />

RVA กดมอเตอรลงเพื่อใหเครื่อง<br />

RVA ทํ างาน<br />

(5) จากกราฟการเปลี่ยนแปลงความหนืดตอเวลาที่ได<br />

เราสามารถหาคาของ<br />

pasting temperature (อุณหภูมิที่เปลี่ยนเปนเพสต),<br />

peak viscosity (ความหนืดสูงสุด),<br />

setback และ final viscosity (ความหนืดสุดทาย)<br />

ขอสังเกต<br />

ในการชั่งตัวอยางและตวงวัดปริมาณนํ้<br />

า เพื่อที่จะใหไดผลถูกตองควรนํ<br />

าคาความชื้น<br />

(moisture content) ของตัวอยางมาคิดดวย ซึ่งจะทํ<br />

าใหเมื่อคิดนํ้<br />

าหนักของตัวอยางเมื่อแหงแลวมี<br />

จํ านวนเทากัน ปกติคาความชื้นจะอยูที่<br />

14 เปอรเซ็นต และมีสูตรที่ใชในการคํ<br />

านวณสํ าหรับ<br />

ความชื้นที่<br />

14 เปอรเซ็นต ดังนี้<br />

295


M 2 = (100 -14) X M 1<br />

(100 – M 1)<br />

W 2 = 25.0 + M 1 – M 2<br />

้<br />

้<br />

้<br />

เมื่อ<br />

M1 = นํ าหนักตัวอยางตามที่แนะนํ<br />

าไวในคูมือ<br />

M2 = นํ าหนักที่ถูกตอง<br />

W2 = ปริมาณนําที่ถูกตอง<br />

4. การวัดคากํ าลังการพองตัวและรอยละการละลายของแปงตัวอยาง<br />

(ดัดแปลงจากวิธีของ Schoch, 1964)<br />

เครื่องมือ<br />

เครื่องปนเหวี่ยงพรอมหลอดแกวปริมาตร<br />

30 มิลลิลิตร<br />

อางนํ้<br />

าไฟฟาที่ปรับและควบคุทอุณหภุมิได<br />

ตู อบไฟฟาที่ปรับและควบคุมอุณหภูมิได<br />

วิธีวิเคราะห<br />

296<br />

(1) อบหลอดแกวที่อุณหภูมิ<br />

100 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง<br />

นํ าออกมาใสในเด<br />

สิกเกเตอร ทิ้งไวใหเย็นที่อุณหภูมิหอง<br />

แลวนํ าไปชั่ง<br />

(2) ตรวจวัดความชื้นแปงกอน<br />

แลวชั่งตัวอยางแปง<br />

0.1000 กรัม (นํ้<br />

าหนักแหง, dry<br />

basis weight) แลวใสลงในหลอดแกว<br />

(3) เติมนํ ากลั ้ ่นปริมาตร 15 มิลลิลิตร บงในหลอดแกวและกวนใหเขากัน<br />

(4) นํ าไปตมในอางนํ้<br />

าไฟาที่ปรับ<br />

และควบคุมอุณหภูมิได ทดสอบที่อุณหภูมิ<br />

55,<br />

65, 75, 85, 95 องศาเซลเซียส เปนเวลา 30 นาที โดยกวนตลอดเวลา อยาใหแปงตกตะกอนเปน<br />

กอน


297<br />

(5) นํ าหลอดแกวออกมาแลวทิ้งหลอดแกวใหเย็นสักครู<br />

ปรับนํ้<br />

าหนักของแตละ<br />

หลอดใหเทากัน ชั่งนํ้<br />

าหนักหลอดแกว<br />

(6) นํ าเขาเครื่องปนเหวี่ยงโดยตั้งความเร็ว<br />

2,200 รอบตอนาที นาน 15 นาที<br />

(7) แยกสวนใสที่เหลือออกจากหลอดแกวใหหมด<br />

ใสลงในจานอะลูมิเนียมอบแหงที่<br />

ทราบนํ าหนักแลว ้ นํ าไปอบในตูไฟฟาที่อุณหภูมิ<br />

100 องศาเซลเซียส ชั่งนํ้<br />

าหนักเพื่อหาปริมาณแปง<br />

ที่ละลายนํ้<br />

า<br />

(8) นํ าหลอดแกวที่เหลือแตสวนของเจลแปง<br />

มาชั่งนํ้<br />

าหนักสวนที่เหลือ<br />

จะทราบนํ้<br />

า<br />

หนักแปงเปยกที่ตกตะกอน<br />

(นํ้<br />

าหนักที่ชั่งไดลบดวยนํ้<br />

าหนักหลอดแกว)<br />

วิธีคํ านวณ<br />

นํ าหนักสวนที ้ ่ละลายนํ า ้ = (นํ้<br />

าหนักจานอะลูมิเนียม+สวนใสหลังอบแหง)–นํ้<br />

าหนักจาน<br />

อะลูมิเนียม<br />

คารอยละของการละลาย = นํ าหนักสวนที ้ ่ละลายนํ้<br />

า x 100<br />

นํ้<br />

าหนักตัวอยางแปง (dry basis)<br />

คากํ าลังการพองตัว = นํ าหนักเจลแปงที ้ ่พองตัวภายหลังแยกสวนใส x 100<br />

นํ าหนักตัวอยางแปง ้ (dry basis) x (100 – รอยละการละลาย)<br />

5. การวิเคราะหสมบัติทางความรอนของแปงตัวอยางดวยเครื่อง<br />

Differential Scanning<br />

Calorimeter (Kim และคณะ, 1995)<br />

เครื่องมือ<br />

เครื่อง<br />

Differential Scanning Calorimeter<br />

Aluminium pan<br />

เครื่องปดผนึก<br />

Aluminium pan


วิธีวิเคราะห<br />

298<br />

(1) เตรียมตัวอยางแปงที่ทราบความชื้น<br />

โดยละลายดวยนํ้<br />

ากลั่นใหมีความเขมขน<br />

30 เปอรเซ็นต (นํ้<br />

าหนัก/นํ้<br />

าหนัก) เขยาใหเขากัน<br />

[หมายเหตุ ในกรณีที่แปงมีการดูดซับนํ้<br />

าไดดี (เชนแปงที่ผานการทํ<br />

า Ball-Mill)<br />

จะทํ าตามวิธีขอ (1) ไมได จึงตองใชวิธีนํ าแปง 30 เปอรเซ็นต (dry basis weight) ใสลงใน<br />

Aluminium pan แลวจึงใสนํ ากลั ้ ่นลงไปอีก 70 เปอรเซ็นต (นํ้<br />

าหนัก/นํ้<br />

าหนัก) ]<br />

(2) ดูดสารละลายแปงขึ้นมา<br />

โดยใหมีปริมาณแปง (นํ้<br />

าหนักแหง) ประมาณ 3.5 ถึง<br />

4.0 มิลลิกรัม ใสลงใน Aluminium pan ของเครื่อง<br />

DSC บมไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เปนเวลา 1 ชั่วโมง<br />

ครึ่ง<br />

(3) นํ า Aluminium pan เขาเครื่อง<br />

DSC และใชอินเดียม (indium) ในการเปรียบ<br />

เทียบ และตั้งคาของเครื่องที่ชวงอุณหภุมิ<br />

25 ถึง 100 องศาเซลเซียส โดยมีอัตราการเพิ่มอุณหภูมิ<br />

เปน 10 องศาเซลเซียสตอนาที<br />

(4) ตรวจวัดคาเทอรโมไดนามิกที่ไดจากการวิเคราะหของเครื่อง<br />

มีดังนี้<br />

T0 = อุณหภูมิที่จุดเริ่มตน<br />

(onset temperature) หนวยเปนองศาเซลเซียส<br />

Tp = อุณหภูมิที่จุดสูงสุด<br />

(peak temperature) หนวยเปนองศาเซลเซียส<br />

Tf = อุณหภูมิที่จุดสุดทาย<br />

(conclusion temperature) หนวยเปนองศาเซลเซียส<br />

∆H = ความรอนทั้งหมดของปฏิกริยา<br />

หนวยเปนจูลตอกรัม<br />

6. การวิเคราะหปริมาณอะมิโลส และขนาดอะมิโลสดวยเครื่อง<br />

HPSEC<br />

(ดัดแปลงจาก Govindasamy และคณะ, 1992)<br />

เครื่องมือ<br />

เครื่อง<br />

High Performance Size Exclusion Chromatography (Shimadzu, Japan)<br />

เครื่อง<br />

Sonicator (Vibra cell TM , Sonics&Materials Inc., USA)<br />

เครื่อง<br />

อุลตราโซนิค (2210 Branson Ultrasonic, USA)<br />

หลอดแกวปริมาตร 30 มิลลิลิตร


สารเคมี<br />

อางนํ้<br />

าเดือด<br />

ชุดกรอง Millipore filter และเยื่อแผนกรองชนิด<br />

Cellulose nitrate ขนาดรูพรุน 8.0<br />

ไมครอน และ 0.45 ไมครอน<br />

299<br />

สารมาตรฐานเด็กซแทรน (Fluka Chemie AG CH-9471 Buchs, Switzerland) ที่<br />

มีขนาดโมเลกุลตางๆ<br />

วิธีวิเคราะห<br />

(1) ชั่งแปงตัวอยาง<br />

0.04 กรัม ใสลงในหลอดแกว เติมนํ้<br />

ากลั่น<br />

10 มิลลิลิตร เขยา<br />

ผสมใหเขากัน นํ าไปตมในอางนํ้<br />

าเดือดเปนเวลา 10 นาที เขยาผสมตลอดเวลาเพื่อไมใหแปงตก<br />

ตะกอน<br />

(2) นํ าหลอดออกมาตั้งทิ้งใหเย็นที่อุณหภูมิหอง<br />

แลวทํ าการ sonicate เปนเวลา 18<br />

วินาทีโดยใช amplitude เทากับ 30 ดวยเครื่อง<br />

Sonicator<br />

(3) กรองตัวอยางที่ไดผานเยื่อแผนกรองชนาดรูพรุน<br />

8.0 ไมครอน นํ าตัวอยางที่<br />

กรองแลวมาวิเคราะหหาโมเลกุลที่เปนองคประกอบภายในอนุภาคแปง<br />

โดยใชเครื่อง<br />

High<br />

Performance Size Exclusion Chromatography ซึ่งประกอบดวยปมรุน<br />

LC-10AT ควบคุมการ<br />

ไหลของวัฏภาคเคลื่อนที่ซึ่งเปนนํ้<br />

าดีไอโอไนซ ที่ผานการกรองดวยเยื่อแผนกรองขนาดรูพรุน<br />

0.45<br />

ไมครอน แลวไลอากาศดวยเครื่องอุลตราโซนิค<br />

อัตราการไหลของวัฏภาคเคลื่อนที่เทากับ<br />

0.8<br />

มิลลิลิตรตอนาที ใช 3 คอลัมนตอกันเปนลํ าดับ ดังนี้<br />

Ultrahydrogel linear, Ultrahydrogel 120<br />

และ Ultrahydrogel 120 โดยควบคุมอุณหภูมิคอลัมนที่<br />

40 องศาเซลเซียส ใชดีเทคเตอรชนิด<br />

RID-10A ใชเวลาในการวิเคราะห 40 นาทีตอตัวอยาง ฉีดตัวอยางปริมาตร 20 ไมโครลิตรควบคุม<br />

ปริมาตรดวยเครื่อง<br />

Autoinjector ชนิด SIL-10A การทํ างานของเครื่องควบคุมโดย<br />

CBM-10A<br />

ผานคอมพิวเตอรที่ติดตั้งโปรแกรม<br />

CLASS-LC10<br />

(4)บันทึกลักษณะ Chromatogram และระยะเวลาที่องคประกอบตางๆ<br />

ถูกชะออก<br />

มาจากคอลัมน (retention time) เพื่อนํ<br />

ามาคํ านวณขนาดของโมเลกุลที่เปนองคประกอบตางๆ<br />

โดย<br />

เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานเด็กซแทรนที่มีขนาดโมเลกุลตางๆ


300<br />

(5) เตรียมสารละลายมาตรฐานเด็กซแทรนในนํ้<br />

าดีไอโอไนซ ใหมีความเขมขน 240-<br />

1,200 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร นํ าสารละลายมากรองผานเยื่อแผนกรองขนาดรูพรุน<br />

0.45 ไมครอน<br />

(6) ฉีดสารละลายมาตรฐานเขาเครื่อง<br />

HPSEC บันทึกระยะเวลาที่สารมาตรฐาน<br />

เด็กซแทรนถูกออกจากคอลัมน และคํ านวณคา log ของคานํ าหนักโมเลกุลโดยเฉลี<br />

้ ่ยของสาร<br />

มาตราฐานเด็กซแทรนที่ใช<br />

(Mn) ดังแสดงในตารางผนวกที่<br />

1 เพื่อนํ<br />

าไปสรางกราฟและสมการดัง<br />

ภาพผนวกที่<br />

1ก เพื่อใชในการหาขนาดของอะมิโลส<br />

นอกจากนี้บันทึกคาพื้นที่ใตกราฟที่แตละ<br />

ความเขมขน แลวนํ ามาสรางกราฟความสัมพันธระหวางพื้นที่ใตกราฟกับความเขมขน<br />

จะไดสม<br />

การนํ ามาคํ านวณหาปริมาณอะมิโลส ดังภาพผนวกที่<br />

1ข<br />

ตารางผนวกที่1<br />

ความสัมพันธระหวางเวลาที่สารมาตรฐานเด็กซแทรนถูกชะออกจากคอลัมนกับคา<br />

นํ าหนักโมเลกุลโดยเฉลี<br />

้ ่ยของสารมาตรฐานเด็กซแทรน (Mn) และคา log ของนํ้<br />

า<br />

หนักโมเลกุลโดยเฉลี่ยของสารมาตรฐานเด็กซแทรน<br />

(log Mn)<br />

เวลา (นาที) Mn Log Mn<br />

26.285 3260 3.513<br />

24.365 8110 3.909<br />

23.920 18300 4.262<br />

23.442 35600 4.551<br />

23.064 55500 4.744<br />

22.613 100300 5.001<br />

22.308 164200 5.215<br />

22.106 236300 5.373<br />

21.805 332800 5.522<br />

21.675 500500 5.699<br />

(7) สรางกราฟมาตรฐานโดยใหคา log ของนํ าหนักโมเลกุลโดยเฉลี<br />

้ ่ยของสารมาตรฐาน<br />

เด็กซแทรน (log Mn) เปนแกน y และเวลาที่สารมาตรฐานเด็กซแทรนถูกชะออกมาจากคอลัมน<br />

เปนแกน x ดังภาพผนวกที่<br />

1ก


log (Mn)<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

y = -0.4956x + 16.257<br />

R 2 = 0.9495<br />

19 20 21 22 23 24 25 26 27<br />

Time (min)<br />

(ก)<br />

Area (mV/min)<br />

600000<br />

400000<br />

200000<br />

0<br />

y = 416.45x - 6611.7<br />

R 2 = 0.9989<br />

0 500 1000 1500<br />

(ข)<br />

Conc (ug/ml)<br />

ภาพผนวกที่<br />

1 (ก) กราฟมาตรฐานระหวางคา log ของขนาดโมเลกุลโดยเฉลี่ยของสารมาตรฐาน<br />

เด็กซแทรน และเวลาที่สารมาตรฐานเด็กซแทรนถูกชะออกจากคอลัมน<br />

(ข) กราฟความสัมพันธระหวางพื้นที่ใตกราฟกับความเขมขนของสารละลาย<br />

มาตรฐานที่มีนํ้<br />

าหนักโมเลกุลเทากับ 500500<br />

301<br />

(8) คํ านวณหาขนาดของโมเลกุลที่เปนองคประกอบตางๆ<br />

ภายในอนุภาคแปงได โดยการ<br />

นํ าระยะเวลาที่องคประกอบตางๆถูกชะออกจากคอลัมนมาเทียบหาคา<br />

logMn ตามสมการที่ได<br />

จากกราฟมาตรฐานในภาพผนวกที่<br />

1 : log Mn = (-0.4956 x เวลา) + 16.257<br />

(9) คํ านวณหาคาขนาดขององคประกอบ (DPn) ของอนุภาคแปงไดจากสูตร :<br />

DPn = Mn<br />

162<br />

(10) คํ านวณปริมาณอะมิโลสไดจากสมการ<br />

ความเขมขน = 416.45 x (พื้นที่ใตกราฟ)<br />

– 6611.7


7. การวิเคราะหปริมาณอะมิโลส (Juliano, 1971)<br />

เครื่องมือ<br />

ขวดแกวพรอมจุก (Volumetric flask) ขนาด 100 มิลลิลิตร (มล.)<br />

สเปคโตรโฟโตมิเตอร (Spectrophotometer)<br />

เครื่องชั่งละเอียด<br />

ถึง 0.0001 กรัม<br />

Water bath (หรือ Magnetic stirrer)<br />

สารละลายที่ใชและวิธีการเตรียม<br />

เอทิลแอกอฮอล (ethyl alcohol) 95%<br />

สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) 1 นอรมัล (NaOH 40 กรัมใน 1 ลิตร)<br />

กรดเกลเชียลอะซิติก (glacial acetic acid) 1 นอรมัล (กรดเกลเชียลอะซิติก 60<br />

มล./ลิตร)<br />

โปเตโตอะมิโลสบริสุทธิ์<br />

(potato amylose)<br />

สารละลายไอโอดีน ชั่ง<br />

0.2 กรัม ไอโอดีน (I) และ 2.0 กรัม โปแตสเซียมไอโอไดด<br />

(KI) ละลายในนํ้<br />

ากลั่นใหมีปริมาตร<br />

100 มล.<br />

วิธีวิเคราะห<br />

302<br />

(1) การละลายแปง ชั่งแปง<br />

0.1000 กรัม ใสในขวดแกวขนาด 100 มล. ปเปตเอ<br />

ทธิลแอลกอฮอล 1 มล. เติมในตัวอยาง เขยาเบาๆ เพื่อเกลี่ยแปงใหกระจายออก<br />

ระวังอยาใหแปง<br />

ขึ้นมาเกาะตามผนังขวด<br />

ปเปตแบงสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด 1 นอรมัล เติมลงไป 9 มล.<br />

พรอมทั้งลางแปงที่เกาะอยูตามผนังขวด<br />

ตมใน water bath นาน 10 นาที เติมนํ้<br />

ากลั่นใหได<br />

ปริมาตร 100 มล. เขยาขวด ตั้งทิ้งไวคางคืน<br />

(2) ปเปตแบงสารละลายแปง จํ านวน 5 มล. ลงในขวดแกวขนาด 100 มล. เติมนํ้<br />

า<br />

กลั่นประมาณ<br />

70 มล. เติมกรดเกลเชียลอะซิติก 1 นอรมัล 1มล. แลวเติมสารละลายไอโอดีน 2<br />

มล. เติมนํ ากลั ้ ่นใหไดปริมาตร 100 มล. เขยาและตั้งทิ้งไวนาน<br />

10 นาที


303<br />

(3) ทํ าเชนเดียวกับขอ (2) แตไมใสสารตัวอยาง เพื่อใชเปนแบลงค<br />

(blank)<br />

(4)วัดความเขมของสีของสารละลาย โดยใชสเปคโตรโฟโตมิเตอรที่คลื่นแสง<br />

610<br />

นาโนมิเตอร (nm) อานคาเปนแอบซอรแบนซ (absorbance) โดยปรับคาของแบลงคเปน 0 (ศูนย)<br />

(5) การเขียนกราฟมาตรฐาน (standard curve)<br />

- ชั่งโปเตโตอะมิโลส<br />

0.0400 กรัม ใสในขวดแกวมีจุกขนาดจุ 100 มล. และ<br />

ดํ าเนินการเชนเดียวกับขอ (1) เปนสารละลายมาตรฐาน<br />

- ปเปตแบงสารละลายมาตรฐาน 1,2,3 และ 4 มล. ใสในขวด แกวขนาดจุ 100<br />

มล. เติมนํ้<br />

าประมาณ 70 มล. เติมกรดเกลเชียลอะซิติก 1 นอรมัล ปริมาณ 0.2,0.4,0.6 และ 0.8<br />

มล. ลงในขวดแกวที่มีสารละลายมาตรฐาน<br />

ตามลํ าดับ แลวเติมสารละลายไอโอดีน 2.0 มล. เติม<br />

นํ ากลั ้ ่นใหครบ 100 มล.<br />

- วัดคาแอบซอรแบนซ (absorbance) ตามขอ (4)<br />

- เขียนกราฟระหวางคาปริมาณอะมิโลสและคาแอบซอรแบนซ และหาสมการ<br />

ความสัมพันธระหวางปริมาณอะมิโลสและคาแอบซอรแบนซ ดังภาพผนวกที่<br />

2<br />

absorbance at 610 nm<br />

0.4<br />

0.3<br />

0.2<br />

0.1<br />

0<br />

y = 0.0215x + 0.001<br />

R 2 = 0.999<br />

0 4 8 12 16 20<br />

Conc (ug/ml)<br />

ภาพผนวกที่<br />

2 กราฟระหวางคาปริมาณอะมิโลสและคาแอบซอรแบนซของสารละลายมาตรฐาน


แบบทดสอบทางประสาทสัมผัส<br />

ขอแนะนํ า :<br />

(1) ทานจะไดรับตัวอยางควบคุม (Control) และตัวอยางที่มี่รหัสที่แตกตางกันจํ<br />

านวน 4 รหัส โดยแตละ<br />

รหัสจะมีตัวอยางจํ านวน 2 ชิ้น<br />

(2) กรุณาใหคะแนนตัวอยางที่ทดสอบตามแตละคุณลักษณะ<br />

โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม<br />

(Control)<br />

(3) ในการทดสอบตัวอยางแตละคุณลักษณะ ทานสามารถตอบ มากกวา หรือ เหมือน หรือ นอยกวา ได<br />

(4) ทานสามารถตอบ มั่นใจ<br />

หรือ ไมแนใจ เกี่ยวกับคํ<br />

าตอบในขอ (2) ได<br />

ผูทดสอบ Ο เพศชาย Ο เพศหญิง<br />

ตัวอยางชิ้นที่<br />

1 (นํ ามาทดสอบคุณลักษณะดาน ความงายในการลอกชั้น<br />

และ ความเหนียว)<br />

(1) ความงายในการลอกชั้น<br />

วิธีการประเมิน : ทํ าการลอกชั้นของขนมชั้น<br />

โดยลอกชั้นที่<br />

1 ทิ้ง<br />

และประเมินความงายในการลอกชั้นที่<br />

2 ให<br />

หลุด โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม (Control)<br />

ตัวอยาง<br />

342<br />

121<br />

916<br />

438<br />

304<br />

ลอกงายกวา ลอกงายเทากัน ลอกยากกวา<br />

มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ<br />

(2) ความเหนียว<br />

วิธีการประเมิน : นํ าขนมชั้นที่ลอกมาดึงใหขาดออกจากกัน<br />

และประเมินแรงที่ใชในการดึงใหขาดออกจากกัน<br />

โดยเปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม (Control)<br />

ตัวอยาง<br />

342<br />

121<br />

916<br />

438<br />

ใชแรงมากกวา ใชแรงเทากัน ใชแรงนอยกวา<br />

มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ


ตัวอยางชิ้นที่<br />

2 (นํ ามาทดสอบคุณลักษณะดาน แรงกัดขาด และ ความยากงายในการเคี้ยว)<br />

(1) แรงกัดขาด<br />

วิธีการประเมิน : ทํ าการกัดตัวอยางขนมชั้นใหขาดโดยใชฟนหนา<br />

ประเมินแรงที่ใชในการกัดตัวอยางใหขาด<br />

ออกจากกัน โดย เปรียบเทียบกับตัวอยางควบคุม (control)<br />

ตัวอยาง<br />

342<br />

121<br />

916<br />

438<br />

305<br />

ใชแรงมากกวา ใชแรงเทากัน ใชแรงนอยกวา<br />

มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ<br />

(2) ความยากงายในการเคี้ยว<br />

วิธีการประเมิน : นับจํ านวนครั้งที่ใชในการเคี้ยวตัวอยางจนสามารถกลืนได<br />

โดยเปรียบเทียบกับตัวอยาง<br />

ควบคุม (control) อัตราเร็วในการเคี้ยวแตละตัวอยางควรเทากัน<br />

(จํ านวนครั้งมาก<br />

แสดง<br />

วาตัวอยางเคี้ยวยาก)<br />

ตัวอยาง<br />

342<br />

121<br />

916<br />

438<br />

จํ านวนครั้งมากกวา<br />

จํ านวนครั้งเทากัน<br />

จํ านวนครั้งนอยกวา<br />

มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ มั่นใจ<br />

ไมแนใจ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!