30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การใชประโยชนสารเมตาโบไลทที่มีพิษของเชื้อรานํ<br />

าโรค จากอํ าเภอทองผาภูมิ<br />

ในการกํ าจัดหนอนกระทูผัก<br />

Spodoptera litura (Fabricius)<br />

Utilization of Toxic Metabolites of Pathogenic Fungi from Amphoe Thong Pha Phum to<br />

Control the Cutworm, Spodoptera litura (Fabricius)<br />

โดย<br />

นางสาวนวรัตน นุศาสตรเลิศ<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(เกษตรศาสตร)<br />

พ.ศ. 2547<br />

ISBN 974-274-284-7


คํ านิยม<br />

วิทยานิพนธฉบับนี้สํ<br />

าเร็จลงไดดวยดี โดยความกรุณาจาก ศาสตราจารย ดร. อังศุมาลย<br />

จันทราปตย ประธานกรรมการที่ปรึกษา<br />

รองศาสตราจารย ดร. ประภารัจ หอมจันทน กรรมการ<br />

สาขาวิชาเอก ผู ชวยศาสตราจารย พูนพิไล สุวรรณฤทธิ์<br />

กรรมการสาขาวิชารอง ซึ่งกรุณาใหคํ<br />

า<br />

แนะนํ าเพิ่มเติมซึ่งเปนประโยชนแกผูวิจัยและตรวจแกไขวิทยานิพนธจนเปนที่เรียบรอย<br />

ตลอดจน<br />

ผู ชวยศาสตราจารย ดร. เลิศลักษณ เงินศิริ ผู แทนบัณฑิตวิทยาลัย ที่ชวยแกไขขอบกพรอง<br />

ทํ าให<br />

วิทยานิพนธเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบพระคุณ คุณนุชนาถ วารีสมบูรณ ที่กรุณาชวยเหลือในดานตางๆ<br />

และใหคํ าแนะ<br />

นํ าผูวิจัยดวยดี<br />

ผลงานวิจัยนี้ไดรับทุนสนับสนุนจากโครงการพัฒนาองคความรูและศึกษานโยบายการจัด<br />

การทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย ซึ่งรวมจัดตั้งโดยสํ<br />

านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย และ<br />

ศูนยพันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหงชาติ รหัสโครงการ BRT R_644004<br />

ทายสุดนี้ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ<br />

คุณพอ คุณแม และขอบคุณ พี่<br />

นอง และเพื่อนที่<br />

ใหกํ าลังใจในการเรียนและสนับสนุนในการศึกษาจนประสบความสํ าเร็จ และผูวิจัยหวังเปนอยาง<br />

ยิ่งวางานวิจัยในครั้งนี้จะเปนประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของ<br />

และขอมอบคุณความดีของการ<br />

วิจัยในครั้งนี้ใหแกคุณพอ<br />

คุณแม คุณครูบาอาจารย และขอใหเปนวิทยาทานเพื่อการศึกษาตอไป<br />

นวรัตน นุศาสตรเลิศ<br />

พฤษภาคม 2547


สารบัญ<br />

์<br />

สารบัญ (1)<br />

สารบัญตาราง (4)<br />

สารบัญภาพ (7)<br />

คํ านํ า 1<br />

วัตถุประสงค 4<br />

การตรวจเอกสาร 5<br />

แมลงศัตรูพืช 5<br />

ไรศัตรูพืช 7<br />

การควบคุมแมลงและไรศัตรูพืช 9<br />

เชื้อราทํ<br />

าลายแมลงและไรศัตรูพืช 11<br />

เชื้อรากับการกอใหเกิดโรค<br />

11<br />

เชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii 14<br />

ประวัติและความสํ าคัญ 14<br />

อนุกรมวิธานของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii 15<br />

สัณฐานภายนอกของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii 15<br />

สัณฐานภายในของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii 16<br />

การเจริญเติบโตของเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

17<br />

ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

18<br />

ลักษณะการทํ าลายไรศัตรูพืช 19<br />

การผลิตสารพิษของเชื้อรา<br />

21<br />

ความปลอดภัยของเชื้อราตอสัตวเลือดอุน<br />

22<br />

อุปกรณและวิธีการ 24<br />

การสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช 24<br />

การเก็บตัวอยางเชื้อรา<br />

24<br />

การแยกเชื้อราใหบริสุทธิ<br />

24<br />

การเตรียมตัวอยางไรศัตรูพืชเพื่อวิเคราะหชนิดของไร<br />

27<br />

การเก็บตัวอยางพืชอาศัยของไร 29<br />

(1)<br />

หนา


สารบัญ (ตอ)<br />

การเจริญเติบโตและลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

30<br />

การเจริญเติบโตของเชื้อราบนวุนอาหาร<br />

การศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count<br />

30<br />

และ viable plate count 30<br />

การศึกษาโครงสรางของเสนใยและ conidia 31<br />

การเจริญเติบโตของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

32<br />

การศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

34<br />

ประสิทธิภาพของ crude filtrate 34<br />

ประสิทธิภาพของ crude filtrate เขมขน 37<br />

ผลการทดลองและวิจารณ 39<br />

การสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช 39<br />

การเก็บตัวอยางเชื้อรา<br />

39<br />

การแยกและวิเคราะหชนิดของเชื้อรา<br />

42<br />

การวิเคราะหชนิดของไรศัตรูพืช 44<br />

การวิเคราะหชนิดของพืชอาศัย 46<br />

การเจริญเติบโตและลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

54<br />

การเจริญเติบโตของเชื้อราบนวุนอาหาร<br />

การศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count<br />

54<br />

และ viable plate count 70<br />

การศึกษาโครงสรางของเสนใยและ conidia 74<br />

การเจริญเติบโตของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

82<br />

การศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

85<br />

ประสิทธิภาพของ crude filtrate 85<br />

ประสิทธิภาพของ crude filtrate เขมขน 98<br />

สรุปผลการทดลอง 101<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

103<br />

(2)<br />

หนา


สารบัญ (ตอ)<br />

ภาคผนวก 123<br />

ภาคผนวก ก 124<br />

ภาคผนวก ข 146<br />

ภาคผนวก ค 151<br />

ภาคผนวก ง 159<br />

(3)<br />

หนา


สารบัญตาราง<br />

(4)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 Trade names of commercial or experimental preparations of fungi<br />

formulated as microbial insecticides 13<br />

2 Number of dead mite samples collected at Amphoe Thong Pha Phum,<br />

Kanchanaburi Province during November 2001-November 2002 41<br />

3 Mites and host plants collected at Amphoe Thong Pha Phum,<br />

Kanchanaburi Province during November 2001-November 2002 47<br />

4 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 7 days 56<br />

5 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 14 days 56<br />

6 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 21 days 57<br />

7 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days 57<br />

8 Growth rate overall periods of H. thompsonii colony (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days 58<br />

9 Formation of H. thompsonii colony (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days 68<br />

10 Special characteristics of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days 68<br />

11 Color of H. thompsonii colony (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days 69<br />

12 Number of conidia (direct count) from 1 cm 2 of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days 73<br />

13 Number of conidia (plate count) from 1 cm 2 of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days 73<br />

14 Conidia of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on 0.5x0.5 cm malt extract agar placed on<br />

microscopic slide and incubated at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days 80


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

(5)<br />

15 Length of phialide of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on 0.5x0.5 cm malt extract agar placed on<br />

microscopic slide and incubated at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days 80<br />

16 Distance between phialides of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on 0.5x0.5 cm malt extract agar placed on<br />

microscopic slide and incubated at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days 81<br />

17 Dry weight of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract broth at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 days 84<br />

18 pH of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract broth at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 days 84<br />

19 Symptoms of Spodoptera litura (Fabricius) larvae<br />

after treated with 20 µl crude extracts of H. thompsonii 93<br />

20 Symptoms of Spodoptera litura (Fabricius) larvae<br />

after treated with 20 µl crude extracts and concentrated<br />

crude extracts of H. thompsonii 100<br />

ตารางผนวกที่<br />

ก1 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 weeks 125<br />

ก2 Characteristics of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 weeks 129<br />

ก3 Area of colony, number of conidia from direct count and<br />

plate count of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt<br />

extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days 133<br />

ก4 Parameters (mean±SD) of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days 138


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

(6)<br />

ตารางผนวกที่<br />

หนา<br />

ก5 Dry weight of fungal biomass and pH of malt extract broth<br />

after each H. thompsonii (114 isolates) was cultured at<br />

27±1 o C, 65±3% RH for 4 days 143


สารบัญภาพ<br />

(7)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

์<br />

1 การเก็บตัวอยางไรศัตรูพืช 25<br />

2 การแยกไรศัตรูพืชออกจากใบพืช 25<br />

3 การแยกเชื้อราใหบริสุทธิ<br />

26<br />

4 การทํ าสไลดไรสี่ขา<br />

28<br />

5 การจัดเรียงชิ้นสวนของพืชเพื่อเก็บแหง<br />

29<br />

6 การเก็บตัวอยางแหงของพืชใน Herbarium 29<br />

7 การทํ า slide culture เพื่อศึกษาโครงสรางของเสนใยและ<br />

conidia 32<br />

8 การเลี้ยงเชื้อราบนตูเขยา<br />

(rotary shaker) 33<br />

9 การกรองมวลชีวภาพออกจากอาหารเหลวโดยใชกรวยกรอง (Buchner funnel) 33<br />

10 การกรอง crude filtrate ผานกระดาษกรองชนิดพิเศษ 34<br />

11 การทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อรา<br />

35<br />

12 การเลี้ยงหนอนที่ไดรับสารทดสอบในอาหารเทียม<br />

36<br />

13 สภาพการเลี้ยงหนอนที่ไดรับสารทดสอบในหองทดลอง<br />

36<br />

14 การเพิ่มความเขมขนของ<br />

crude filtrate 37<br />

15 การเก็บเชื้อราแบบ<br />

subculture ในหลอดอาหารผิวลาดเอียง 43<br />

16 การเก็บเชื้อราดวยวิธีการตางๆ<br />

43<br />

17 ไรสี่ขาในวงศ<br />

Eriophyidae และ Diptiomiopidae 45<br />

18 โคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii บนอาหาร MEA อายุ 28 วัน 59<br />

19 ลักษณะโคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii 67<br />

20 ลักษณะพิเศษที่เชื้อรา<br />

H. thompsonii สรางขึ้นเมื่อเลี้ยงบนอาหาร<br />

MEA 67<br />

21 ลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

76<br />

22 ลักษณะของ phialide ที่มีการแตกเปนวงรอบเสนใย<br />

77<br />

23 ลักษณะการเกิด polyblastic conidiogenous cell (holoblastic) 78<br />

24 ระยะหางระหวาง phialide ที่ยาวและสั้น<br />

79<br />

25 การสราง chlamydospore ภายในเสนใยของเชื้อรา<br />

79<br />

26 ลักษณะการตายของหนอนหลังจากไดรับการฉีดสารพิษ 88<br />

27 ภาพขยายเปรียบเทียบหนอนปกติและหนอนที่ไดรับสารพิษ<br />

89


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

(8)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

28 เปรียบเทียบหนอนปกติและหนอนที่ไดรับสารพิษซึ่งมีขนาด<br />

ลํ าตัวเล็กเนื่องจากไมกินอาหาร<br />

89<br />

29 ลักษณะการเขาดักแดไมสมบูรณของหนอนกระทูผัก<br />

90<br />

30 ตัวเต็มวัยปกติและตัวเต็มวัยผิดปกติเนื่องจากไดรับสารพิษ<br />

91<br />

31 ดักแดซึ่งมีอายุ<br />

1 เดือนไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได 92


การใชประโยชนสารเมตาโบไลทที่มีพิษของเชื้อรานํ<br />

าโรค จากอํ าเภอทองผาภูมิ<br />

ในการกํ าจัดหนอนกระทูผัก<br />

Spodoptera litura (Fabricius)<br />

Utilization of Toxic Metabolites of Pathogenic Fungi from Amphoe Thong Pha<br />

Phum to Control the Cutworm, Spodoptera litura (Fabricius)<br />

คํ านํ า<br />

ประเทศไทยเปนประเทศที่ตั้งอยูในเขตรอนชื้น<br />

ลักษณะภูมิอากาศแบบนี้เหมาะสมตอ<br />

การทํ าเกษตรกรรมเปนอยางยิ่ง<br />

เพราะสามารถปลูกพืชไดตลอดทั้งป<br />

ประเทศไทยจึงอุดมไปดวย<br />

พืช ผัก ผลไมนานาชนิด ขณะเดียวกันสภาพแวดลอมดังกลาวก็เหมาะกับการแพรระบาดของศัตรู<br />

พืชเชนกัน การระบาดของศัตรูพืชมักเปนไปอยางตอเนื่อง<br />

เพราะผลผลิตทางการเกษตรมีติดตอ<br />

กันเกือบตลอดทั้งป<br />

แมลงและไรนับเปนศัตรูพืชที่สํ<br />

าคัญและสามารถทํ าความเสียหายแกพืชได<br />

อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะการทํ าการเกษตรในเชิงธุรกิจมักไดรับความเสียหายจากศัตรูพืชเปนอยาง<br />

มาก<br />

ในการแกปญหาการระบาดของแมลงและไรที่เปนศัตรูพืชที่สํ<br />

าคัญนั้น<br />

ก็คงจะหนีไมพน<br />

การใชสารเคมี เพราะสามารถแกปญหาการระบาดไดอยางรวดเร็วและทันทวงที การใชสารเคมีใน<br />

ปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆ<br />

ทํ าใหเกิดผลเสีย และกอใหเกิดปญหาตางๆ ตามมามากมาย เชน แมลง<br />

สรางความตานทาน เกิดปญหาสารพิษตกคางในผลผลิต ซึ่งกอใหเกิดอันตรายแกเกษตรกรและ<br />

ผู บริโภค รวมทั้งสงผลกระทบตอการสงออกผลิตผลเกษตร<br />

เกิดการปนเปอนของสารพิษในสภาพ<br />

แวดลอม ดิน นํ้<br />

า อากาศ และทํ าใหเกิดการระบาดของแมลงศัตรูพืชชนิดใหมขึ้นได<br />

(Meyer,<br />

1981; Howarth, 1992; Kogan, 1998) นอกจากนั้นสารเคมียังทํ<br />

าลายศัตรูธรรมชาติ เชน แมลง<br />

ชางปกใส ดวงปกแข็ง เพลี้ยไฟ<br />

ไสเดือนฝอย รวมทั้งไรตัวหํ้<br />

า ตลอดทั้งเชื้อจุลินทรียตางๆ<br />

เชน<br />

ไวรัส แบคทีเรีย และเชื้อรา<br />

ซึ่งทํ<br />

าหนาที่ควบคุมปริมาณประชากรของแมลงและไรศัตรูพืชใหอยูใน<br />

ภาวะสมดุลอีกดวย (Jeppson et al., 1975; Perkins, 1982; McCoy, 1985; Howarth, 1991;<br />

Lockwood, 2000)<br />

เชื้อจุลินทรียทํ<br />

าลายแมลงและไร นับวาเปนทรัพยากรธรรมชาติและวัตถุดิบที่สํ<br />

าคัญทาง<br />

เทคโนโลยีชีวภาพ และเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่จะชวยลดประชากรแมลงและไรศัตรูพืช<br />

ทั้งที่เกิดขึ้น<br />

เองตามธรรมชาติและในระบบนิเวศที่มนุษยสรางขึ้น<br />

จุลินทรียที่สามารถนํ<br />

ามาใชกํ าจัดศัตรูพืชได<br />

มีอยู หลายชนิด แตก็ยังไมแพรหลายเทากับการใชสารเคมี เชื้อจุลินทรียที่ทํ<br />

าใหเกิดโรคกับแมลง


สวนใหญไมเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตอื่นๆ<br />

ที่ไมตองการควบคุม<br />

และไมกอใหเกิดความเปนพิษตอ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

(Harris, 1990; Howarth, 1991; van Halteren, 1997; van Lenteren, 1997<br />

Wagge, 1997; Goldson et al., 1998) เชื้อจุลินทรียสวนใหญสามารถนํ<br />

ามาใชและเขากันไดกับ<br />

ศัตรูธรรมชาติอื่นๆ<br />

รวมทั้งชวยสงเสริมประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติใหสูงขึ้น<br />

โดยเฉพาะในชวง<br />

เวลาที่แมลงศัตรูธรรมชาติมีจํ<br />

านวนนอย เชื้อจุลินทรียก็อาจมีบทบาทแทนได<br />

ปจจุบันไดมีการแยก<br />

เชื้อจุลินทรียจากแมลงชนิดตางๆ<br />

และไรศัตรูพืชมากกวา 1,000 ชนิด ในจํ านวนนี้เปนเชื้อ<br />

ไวรัส<br />

หลายรอยชนิด เชื้อราเปนจุลินทรียที่พบรองลงมา<br />

นอกจากนั้นเปนเชื้อโปรโตซัว<br />

แบคทีเรีย และริก<br />

เคทเซีย ตามลํ าดับ (Poinar and Thomas, 1978)<br />

การนํ าเชื้อรามาใชควบคุมแมลงศัตรูพืชนั้น<br />

เปนหนึ่งในวิธีการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี<br />

เชื้อราหลายชนิดสามารถควบคุมระดับประชากรของแมลงและไรศัตรูพืชใหอยูในระดับสมดุลได<br />

โดยเชื้อราที่กอโรคจะมีความเปนอยูแบบปรสิต<br />

(parasite) อาศัยอยูภายในลํ<br />

าตัวของสัตวอาศัย ใช<br />

เนื้อเยื่อภายในรางกายเพื่อการดํ<br />

ารงชีวิตและขยายพันธุ<br />

(Carner, 1976; Hajek and Leger,<br />

1994) เชื้อราที่เปนสาเหตุทํ<br />

าใหแมลงและไรศัตรูพืชตายมีหลายสกุล (genus) เชน<br />

Entomophthora, Verticillium, Beauveria, Hirsutella, Metarhizium, Cordyceps,<br />

Culicinomyces และ Paecilomyces เปนตน (Lewis et al., 1981; Samson et al., 1988; Ferron<br />

et al., 1991; Vey et al., 1993; Humber, 1997; Fuka, 1998; Inglis et al., 2001) นอกจาก<br />

นี้เชื้อราบางชนิดสามารถสรางสารพิษ<br />

(toxic metabolite) ที่มีฤทธิ์รุนแรงและใชฆาแมลงได<br />

เชน<br />

Beauveria bassiana (Balsamo) Vuillemin, Metarhizium anisophiae (Metschnikoff),<br />

Verticillium lecanii (Zimmerman) Viegas และ Hirsutella thompsonii Fisher เปนตน<br />

(Roberts, 1996; Boucias and Pendlan, 1998; Vey et al., 2001) จึงไดมีการศึกษาและวิจัย<br />

เพื่อนํ<br />

าสารพิษจากเชื้อราเหลานี้มาใชในการควบคุมแมลงดวย<br />

พื้นที่ปาโครงการทองผาภูมิ<br />

72 พรรษามหาราช ยังคงสภาพปาที่มีความสมบูรณเปน<br />

อยางมาก มีปริมาณนํ้<br />

าฝนตั้งแต<br />

1,000–4,000 มิลลิลิตรตอป เปนแหลงรวมตนไมใหญนอยที่<br />

เปนตนกํ าเนิดของระบบนิเวศทั้งหลาย<br />

มีแหลงนํ้<br />

านอยใหญที่ใหความชุมชื้นแกปาไดตลอดทั้งป<br />

ปาแหงนี้จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพมากมาย<br />

มีสิ่งชีวิตหลากชนิดที่อาศัยอยูในผืนปาแหงนี้<br />

รวมถึงแมลงและไรดวย ในธรรมชาติที่อุดมสมบูรณและระบบนิเวศยังไมถูกทํ<br />

าลายนั้น<br />

จะมีศัตรู<br />

ธรรมชาติหลากหลายชนิดที่คอยควบคุมสิ่งมีชีวิตใหอยูในระดับที่สมดุล<br />

รวมทั้งจุลินทรียโดยเฉพาะ<br />

เชื้อราที่ชวยควบคุมประชากรของแมลงและไรเพื่อไมใหมีการแพรพันธุมากจนเกินไป<br />

จากการสํ ารวจพื้นที่ปาทองผาภูมิในเบื้องตนพบวา<br />

พืชหลายชนิดมีไรศัตรูพืชในวงศ<br />

Eriophyidae, Diptilomiopidae และ Tetranychidae ลงทํ าลายอยูมาก<br />

นอกจากนั้นยังพบซากไรที่มี<br />

2


เชื้อราเขาทํ<br />

าลายอีกดวย การวิเคราะหชนิดของเชื้อราที่พบอยูบนซากไร<br />

พบวาเปนเชื้อ<br />

Hirsutella thompsonii ซึ่งมีรายงานวาเปนศัตรูธรรมชาติที่สํ<br />

าคัญของไรศัตรูพืชหลายชนิด และเชื้อ<br />

นี้ก็เคยมีบริษัท<br />

Abbott Laboratories แหงประเทศสหรัฐอเมริกา ผลิตเปนการคาเพื่อใชควบคุมไร<br />

ศัตรูพืชอีกดวย เชื้อราชนิดนี้หลั่งสารพิษลงในอาหารเหลว<br />

สารพิษของเชื้อราชนิดนี้ทํ<br />

าใหแมลง<br />

และไรเจริญเติบโตผิดปกติ จึงไดรับความสนใจนํ ามาใชกํ าจัดศัตรูพืชในปจจุบัน<br />

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคที่จะรวบรวมสายพันธุของเชื้อราที่พบในธรรมชาติ<br />

เพื่อนํ<br />

า<br />

มาศึกษาประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในเชื้อรา<br />

สํ าหรับนํ ามาใชกํ าจัดศัตรูพืช ตัวแทน<br />

ของแมลงที่ใชในการศึกษาครั้งนี้คือ<br />

หนอนกระทูผัก<br />

(Spodoptera litura (Fabricius)) ซึ่งถาพบ<br />

เชื้อราที่สรางสารพิษและสามารถนํ<br />

ามาใชกํ าจัดศัตรูพืชไดดี จะกอใหเกิดประโยชนตอเกษตรกร<br />

ไทยเปนอยางยิ่ง<br />

เพราะจะชวยลดปริมาณการใชสารเคมีที่กํ<br />

าลังเปนปญหาอยูในปจจุบัน<br />

และสงผล<br />

ใหผู บริโภคมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น<br />

อีกทั้งยังชวยรักษาสภาพแวดลอมไดอีกดวย<br />

3


วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อเก็บรวบรวมชนิดของเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช ในพื้นที่ปาเขตอํ<br />

าเภอทองผาภูมิ<br />

จังหวัดกาญจนบุรี<br />

2. เพื่อศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและการเจริญเติบโตของเชื้อราในวุนอาหาร<br />

และในอาหารเหลว<br />

3. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพหรือสารพิษในเชื้อราที่มีตอศัตรู<br />

พืช<br />

4


การตรวจเอกสาร<br />

ศัตรูพืชเปนปญหาสํ าคัญที่ทํ<br />

าใหเกิดความสูญเสียกับผลผลิตทางการเกษตร ทั้งในสภาพ<br />

ไรและโรงเก็บ รวมทั้งทํ<br />

าใหคุณภาพของสินคาลดลง (Kogan, 1998) จากขอมูลการสํ ารวจของ<br />

องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติเมื่อป<br />

ค.ศ. 1982 พบวาประมาณ 34% ของผลผลิต<br />

เกษตรไดรับความเสียหายจากโรค แมลง และวัชพืช เมื่อประเมินความเสียหายที่เกิดจากสาเหตุ<br />

ตางๆ แลว พบวาแมลงและไรทํ าความเสียหายใหผลผลิตเกษตร 12.3% สวนโรคและวัชพืชนั้น<br />

กอใหเกิดความเสียหายตอผลผลิต 11.9% และ 9.8% ตามลํ าดับ (FAO, 1982) สาเหตุที่แมลง<br />

และไรศัตรูพืชทํ าความเสียหายใหแกผลผลิตทางการเกษตรไดมากเนื่องจากมีขนาดลํ<br />

าตัวเล็ก เปน<br />

สัตวที่มีศักยภาพในการขยายพันธุไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

สามารถเพิ่มประชากรไดมากภายใน<br />

ระยะเวลาอันสั้น<br />

มีความสามารถในการปรับตัวไดดี สามารถอาศัยไดทุกแหงทั่วโลก<br />

และมีพืช<br />

อาหารกวาง (Richards and Davies, 1977; Botrell, 1979; New, 1991; Letourneau, 1998)<br />

แมลงศัตรูพืช<br />

แมลงทํ าลายพืชไดเกือบทุกชนิดทั้งโดยการกัดกินสวนตางๆ<br />

ของพืช หรือดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยง<br />

และการเปนพาหะนํ าเชื้อโรคตางๆ<br />

เขาสูพืช<br />

ทํ าใหพืชจํ านวนมากลมตายจากการเขาทํ าลายโดย<br />

ตรงและจากเชื้อโรคพืชที่มีแมลงเปนพาหะ<br />

ศานิต (2546); Pedigo (2002) กลาววา การ<br />

ทํ าลายของแมลงเปนสาเหตุใหผลผลิตของพืชทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพลดลง<br />

แมลงหลาย<br />

ชนิดชอบเจาะเขาไปกินอยูภายในใบ<br />

ลํ าตน ราก รวมทั้งผล<br />

เชน แมลงวันหนอนชอนใบ ผีเสื้อ<br />

หนอนชอนใบ ดวงหนวดยาว ผีเสื้อหนอนกอ<br />

ผีเสื้อหนอนเจาะสัก<br />

แมลงวันเจาะโคนกลาถั่ว<br />

ผีเสื้อ<br />

หนอนเจาะผลไม และแมลงวันผลไม (Howse et al., 1998; Landolt and Averill, 1999)<br />

แมลงที่ชอบกัดทํ<br />

าลายใบพืช ไดแก ตั๊กแตน<br />

หนอนผีเสื้อ<br />

หนอนตอฟนเลื่อย<br />

และหนอนดวง<br />

(Samways, 1994) แมลงที่เปนพาหะนํ<br />

าโรคพืชที่สํ<br />

าคัญทางเศรษฐกิจ ไดแก เพลี้ยออนและ<br />

เพลี้ยจักจั่นหลายชนิดรวมทั้งแมลงหวี่ขาว<br />

สวนแมลงที่ทํ<br />

าลายพืชโดยดูดนํ้<br />

าเลี้ยงจากใบ<br />

กิ่งกาน<br />

ลํ า<br />

ตนรวมทั้งผล<br />

เปนเหตุใหพืชเหี่ยวเฉา<br />

แคระแกรน การเจริญเติบโตผิดปกติและอาจตายไดในที่สุด<br />

ไดแก เพลี้ยหอย<br />

เพลี้ยแปง<br />

เพลี้ยออน<br />

เพลี้ยกระโดด<br />

เพลี้ยจักจั่นและมวนหลายชนิด<br />

5


ความเสียหายของพืชที่เกิดจากแมลงนั้น<br />

มีสาเหตุมาจากการกัดกินของหนอนผีเสื้อถึง<br />

80% ผีเสื้อซึ่งเปนศัตรูพืชมีทั้งผีเสื้อกลางวัน<br />

(butterfiles) และผีเสื้อกลางคืน<br />

(moths) โดยผีเสื้อ<br />

กลางวันมีประมาณ 15,000 ชนิด สวนผีเสื้อกลางคืนมีมากถึง<br />

200,000 ชนิด (องุน,<br />

2544)<br />

ผีเสื้อสวนใหญไดรับการวิเคราะหชนิดแลว<br />

และมีเพียง 10% เทานั้นที่ยังไมไดรับการจํ<br />

าแนกชนิด<br />

(Holloway et al., 1987) หนอนผีเสื้อเปนระยะที่ทํ<br />

าลายพืชตางๆ ทั้งพืชไร<br />

พืชสวน ไมดอกไม<br />

ประดับ และพืชผักตางๆ (van Emden, 1990; Barbosa, 1993) โดยเฉพาะพืชผักจะถูกหนอน<br />

ผีเสื้อลงทํ<br />

าลายมาก เชน พืชตระกูลกะหลํ่<br />

า ตระกูลแตง มะเขือเทศ พริก ถั่วฝกยาว<br />

หนอไมฝรั่ง<br />

มันฝรั่ง<br />

และหอมหัวใหญ เปนตน (Kuroko and Lewvanich, 1993) สวนตัวเต็มวัยหรือผีเสื้อนั้น<br />

ไมทํ าลายพืชเนื่องจากไมกินอาหาร<br />

แตจะดูดกินนํ้<br />

า เกลือแรจากดิน หรือนํ้<br />

าหวานจากดอกไมเปน<br />

อาหาร องุน<br />

(2544) กลาววา มีเพียงผีเสื้อมวนหวานเทานั้นที่เปนศัตรูพืชทั้งระยะหนอนและ<br />

ระยะตัวเต็มวัย โดยตัวเต็มวัยจะออกหากินตอนกลางคืน ใชปากซึ่งยาวเปนงวงเจาะกินผลไมสุก<br />

เกิดเปนรอยแผลซึ่งจะเปนทางเขาของเชื้อโรค<br />

ทํ าใหผลเนาและรวงหลนไป<br />

หนอนผีเสื้อซึ่งเปนศัตรูสํ<br />

าคัญของพืชเศรษฐกิจมีหลายชนิด เชน หนอนเจาะสมอฝาย<br />

หนอนกระทูผัก<br />

หนอนกระทูหอม<br />

หนอนคืบกะหลํ่<br />

า และหนอนชอนใบ เปนตน หนอนผีเสื้อ<br />

ทํ าลายพืชไดหลายแบบ เชน กัดกินใบ (วงศ Papilionidae), มวนใบ หอใบหรือพับใบ (วงศ<br />

Tortricidae), ชอนใบ (วงศ Phyllocnistidae), เจาะกิ่งและลํ<br />

าตน (วงศ Cossidae), กินรากหรือ<br />

หัวใตดิน (วงศ Noctuidae), กินดอกหรือชอดอก (วงศ Geometridae) และเจาะผลหรือเมล็ด<br />

(วงศ Pyralidae) (Banziger, 1982; Roesler, 1983; Kawabe, 1989; Kuroko and<br />

Lewvanich, 1993; Bin-Cheng Zhang, 1994)<br />

หนอนกระทูผัก (Common cutworm) มีชื่อวิทยาศาสตรวา<br />

Spodoptera litura<br />

(Fabricius) จัดอยูในวงศ<br />

Noctuidae เปนศัตรูสํ าคัญของพืชผัก ไมดอก ไมประดับ ฝาย และ<br />

ยาสูบ (Kuroko and Lewvanich, 1993; Bin-Cheng Zhang, 1994; Howse et al., 1998)<br />

ดวยเหตุนี้จึงทํ<br />

าใหมีชื่อสามัญไดหลายชื่อ<br />

เชน หนอนกระทูยาสูบ<br />

(Tobacco cutworm), หนอน<br />

กระทูฝาย<br />

(Cotton leafworm) และหนอนรัง (Cluster caterpillar) เปนตน (Kononenko, 1990;<br />

Kuroko and Lewvanich, 1993) หนอนชนิดนี้จะระบาดอยูทั่วทุกภาคของประเทศไทยและ<br />

ระบาดตลอดทั้งป<br />

แมผีเสื้อวางไขเปนกลุมใตใบ<br />

โดยไขแตละกลุมจะมีจํ<br />

านวน 250-350 ฟอง<br />

ตลอดอายุขัยของตัวเมียหนึ่งตัวสามารถวางไขได<br />

1,000-2,000 ฟอง ไขใชเวลาฟก 3-4 วัน<br />

หนอนผีเสื้อซึ่งฟกออกจากไขจะอยูรวมกันเปนกลุมและเริ่มแทะกินใบพืช<br />

เมื่อหนอนโตขึ้นจะแยก<br />

ออกจากกลุ มและทํ าความเสียหายโดยการกัดกินใบ ดอก และฝกออน หนอนกระทูผักมีลํ<br />

าตัวอวน<br />

ผิวเรียบ มีลวดลายสีเทาดํ า บริเวณดานขางของลํ าตัวจะมีแถบสีนํ้<br />

าตาลแดงขนาดคอนขางใหญอยู<br />

ขางละ 1 แถบ หนอนซึ่งโตเต็มที่จะเคลื่อนไหวชาและมีขนาดยาว<br />

3-4 เซนติเมตร หนอนมีการ<br />

6


เจริญเติบโต 5 ระยะ ระยะหนอน 10-14 วัน เมื่อหนอนโตเต็มที่แลวจะเขาดักแดในดิน<br />

ดักแดมี<br />

สีนํ าตาลเขม ้ ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ระยะดักแด 7-10 วัน ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อขนาดกลาง<br />

เมื่อกางปกออกจะมีความกวางประมาณ<br />

3-3.5 เซนติเมตร ปกสีนํ้<br />

าตาล ปกคูหนามีเสนสีเหลือง<br />

พาดหลายเสน อายุของตัวเต็มวัยประมาณ 7-10 วัน วงจรชีวิตตั้งแตไขจนเปนตัวเต็มวัยประมาณ<br />

20-28 วัน<br />

ไรศัตรูพืช<br />

ไรหลายชนิดเปนศัตรูพืชที่สํ<br />

าคัญ เพราะนอกจากจะระบาดทํ าความเสียหายแกพืชใน<br />

สภาพไรแลว ไรบางชนิดยังสามารถปนเปอนไปกับผลผลิตทางการเกษตร<br />

ดอก หรือตนของพืชที่<br />

สงออก อันอาจเปนผลทํ าใหเกิดการกีดกันทางการคา และกระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจของ<br />

ประเทศโดยรวมได (วัฒนา, 2544ก) นับวันปญหาไรศัตรูพืชจะทวีความสํ าคัญมากขึ้นเปนลํ<br />

าดับ<br />

เนื่องจากไรเปนศัตรูพืชที่มีขนาดเล็ก<br />

จึงยากแกการสังเกตไดดวยตาเปลา นอกจากนั้นไรยังมีความ<br />

สามารถในการขยายพันธุไดอยางรวดเร็วและแพรระบาดไดงาย<br />

(Chazeau, 1985) อาการที่เกิด<br />

จากการทํ าลายของไรในระยะเริ่มแรกมักจะไมปรากฏชัด<br />

เกษตรกรสวนใหญจะรูวามีไรศัตรูพืชลง<br />

ทํ าลาย ก็ตอเมื่อพืชแสดงอาการผิดปกติแลวเทานั้น<br />

(อังศุมาลย, 2530) ผลเสียที่เกิดขึ้นจากการ<br />

ดูดกินของไรศัตรูพืชมีหลายประการ เชน ผลผลิตดอยคุณภาพ ผลผลิตลดลง ใบดาง ใบหงิกงอ<br />

ใบรวง หรือทํ าใหพืชตาย เปนตน<br />

ไรศัตรูพืชที่สํ<br />

าคัญมี 4 วงศ คือ วงศ Tetranychidae ไดแก ไรแดงหรือไรแมงมุม (spider<br />

mite), วงศ Tenuipalpidae ไดแก ไรแดงเทียม (false spider mite), วงศ Tarsonemidae ไดแก<br />

ไรขาว (broad mite) และวงศ Eriophyidae ไดแก ไรสี่ขา<br />

(eriophyoid mites) (อังศุมาลย, 2528;<br />

Manson, 1963; Krantz, 1978; Gillott, 1980) ไรศัตรูพืชทั้ง<br />

4 วงศนี้สวนใหญมีความเฉพาะ<br />

เจาะจงตอชนิดของพืชอาศัย (host specificity) สํ าหรับไรศัตรูพืชในประเทศไทยที่ไดรับการตั้งชื่อ<br />

แลว มีประมาณ 300 กวาชนิด (อังศุมาลย, 2543ก; Baker, 1975; Ehara and Wongsiri,<br />

1975) แตที่ระบาดทํ<br />

าความเสียหายแกพืชเศรษฐกิจมีประมาณ 10% ของจํ านวนชนิดไรที่ไดมีการ<br />

รายงานไวเทานั้น<br />

(เทวินทร และ พิเชษฐ, 2544) ไรศัตรูพืชทํ าความเสียหายใหแกพืชเศรษฐกิจ<br />

หลายชนิด โดยเปนศัตรูของไมผล เชน มะละกอ สมเขียวหวาน สมโอ ขนุน สาเก ศัตรูของพืชไร<br />

เชน ฝาย ถั่วเหลือง<br />

มันสํ าปะหลัง ละหุง<br />

ศัตรูของไมดอกไมประดับ เชน กุหลาบ บานชื่น<br />

เบญจมาศ ลั่นทม<br />

นอกจากนั้นยังเปนศัตรูสํ<br />

าคัญของพืชผักตางๆ อีกดวย (อังศุมาลย, 2528ก;<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, 2544; Jeppson et al., 1975; Charanasri et al., 1977) ไรศัตรูพืชบาง<br />

ชนิดนอกจากจะทํ าความเสียหายใหแกพืชแลวยังเปนพาหะนํ าเชื้อโรคของพืช<br />

โดยเฉพาะโรคที่เกิด<br />

จากไวรัสโดยมีไรสี่ขาเปนพาหะที่สํ<br />

าคัญ (Oldfield, 1960; Slykhuis, 1960, 1972)<br />

7


ไรศัตรูพืชที่ระบาดและทํ<br />

าความเสียหายใหกับพืชเศรษฐกิจในประเทศไทยสวนใหญคือ<br />

ไรแมงมุมและไรสี่ขา<br />

ไรแมงมุมเปนไรซึ่งมีขนาดใหญที่สุดในบรรดาไรศัตรูพืชดวยกัน<br />

ไรชนิดนี้<br />

ทํ าลายพืชดวยการดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยงที่ใบหรือผล<br />

โดยใชอวัยวะจับอาหาร (chelicerae) ซึ่งดัดแปลง<br />

เปนเข็มแหลม (stylets) แทงเขาไปในเนื้อเยื่อพืชและดูดกินของเหลวที่อยูภายในเซลลทํ<br />

าใหพืช<br />

สูญเสียคลอโรฟลล (Zaher and Osman, 1970; Jeppson et al., 1975; Evans, 1992) บริเวณที่<br />

ถูกไรดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยงจะเปนจุดสีขาวซีดและตอมาจะเปลี่ยนเปนสีนํ้<br />

าตาล แหงและรวงหลนจากตน<br />

ไรแมงมุมหลายชนิดชอบดูดกินเฉพาะที่<br />

เชน ดานหนาใบ หลังใบ ยอดออน หรือบนผล การดูด<br />

กินของไรแมงมุมจะทํ าใหพืชชะงักการเจริญเติบโต พืชที่ยังเล็กหรือออนแออาจตายได<br />

ดอกที่ถูก<br />

ทํ าลายจะไมติดผล ใบที่ถูกทํ<br />

าลายจะมีสีซีดเหลืองและรวงหลนไป สวนผลที่ถูกทํ<br />

าลายจะมีขนาด<br />

เล็กลงและดอยคุณภาพ พืชอาศัยที่สํ<br />

าคัญของไรแมงมุม เชน มะละกอ ออย สมเขียวหวาน<br />

มะนาว ทุเรียน มันสํ าปะหลัง มะพราว ถั่วตางๆ<br />

และกุหลาบ เปนตน<br />

ไรแมงมุมสองจุด (two-spotted spider mite) มีชื่อวิทยาศาสตรวา<br />

Tetranychus urticae<br />

Koch เปนไรแมงมุมชนิดหนึ่งซึ่งแพรระบาดมากในทวีปอเมริกา<br />

ยุโรป และแถบอบอุน<br />

ไรชนิดนี้<br />

เปนศัตรูที่สํ<br />

าคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด และมีพืชอาศัยกวา 900 ชนิด (Oatman, 1965;<br />

Jeppson et al., 1975; Helle and Sabelis, 1985; Kerban et al., 1987; Messing, 2000) ใน<br />

ประเทศไทยจะพบไรแมงมุมสองจุดระบาดอยูในบริเวณที่มีภูมิอากาศหนาวเย็น<br />

เชน เชียงใหม<br />

และเชียงราย ไรชนิดนี้สามารถทํ<br />

าลายพืชไดหลายชนิด เชน สตรอเบอรี่<br />

พืชตระกูลถั่ว<br />

กุหลาบ<br />

เบญจมาศ ไมดอก ไมประดับและพืชผักเมืองหนาว ตัวออนและตัวเต็มวัยของไรดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยง<br />

และชักใยบริเวณใตใบ ทํ าใหผิวใบกราน ใตใบมีสีนํ้<br />

าตาลแดง ดานบนใบเปนจุดดางขาวกระจายทั่ว<br />

ไป ใบสีเหลืองซีด ใบหลุดรวง ในกุหลาบถาการระบาดรุนแรงจะพบวาไรชักใยคลุมและดูดกินนํ้<br />

า<br />

เลี้ยงที่ดอกดวย<br />

ไรทํ าใหสตรอเบอรี่ชะงักการแตกชอดอกและผลชะงักการเจริญเติบโต<br />

(Oatman,<br />

1965) มานิตา และคณะ (2532) กลาววา ไรแมงมุมสองจุดใชเวลาเจริญเติบโตจากไขเปนตัว<br />

เต็มวัยประมาณ 8-9 วัน ตลอดชั่วอายุของไรเพศเมีย<br />

1 ตัว สามารถวางไขได 122.3 ใบ เฉลี่ย<br />

8.6 ใบ/วัน ซึ่งนับวามีอัตราการวางไขคอนขางสูง<br />

ไรสี่ขาเปนไรศัตรูพืชที่มีความสํ<br />

าคัญไมนอยไปกวาไรแมงมุม ไรสี่ขาที่พบบนพืชใน<br />

ประเทศไทยมี 2 วงศดวยกันคือ วงศ Eriophyidae และ Diptilomiopidae ไรเหลานี้มีขนาดเล็กที่<br />

สุดในบรรดาไรศัตรูพืชดวยกัน โดยมีความยาวของลํ าตัวประมาณ 100-270 ไมครอน จึงไม<br />

สามารถมองเห็นไดดวยตาเปลานอกจากจะเปนผูที่คุนเคยกับไรชนิดนี้มากอน<br />

ไรสี่ขาดํ<br />

ารงชีวิตดวย<br />

การดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยงจากใบพืช<br />

(Lipa, 1971) ไรในกลุมนี้มีประมาณ<br />

5,000 ชนิดที่ไดรับการตั้งชื่อ<br />

แลว อาศัยอยูในเขตหนาว<br />

เขตรอน และเขตอบอุน<br />

(Amrine et al., 2003) สํ าหรับในประเทศ<br />

ไทยมีไรสี่ขาประมาณ<br />

98 สกุล 217 ชนิด (อังศุมาลย, 2543ก) ไรสี่ขาจัดเปนศัตรูของพืช<br />

8


เศรษฐกิจหลายชนิด เชน ขาวสาลี สม มะพราว มะนาว ทับทิม ปาลมนํ้<br />

ามัน และยังเปนพาหะนํ า<br />

โรคซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสในพืชสํ<br />

าคัญ เชน โรค Peach mosaic virus ในขาวโพด และโรค Wheat<br />

spot mosaic virus ในขาวสาลี เปนตน (Slykhuis, 1960; Jeppson et al., 1975; Keifer et al.,<br />

1982) โดยทั่วไปไรเพศเมียจะวางไขเดี่ยวๆ<br />

หรือเปนกลุมเล็กๆ<br />

2-3 ใบ ตัวเมีย 1 ตัวจะวางไข<br />

ไดประมาณ 1-5 ใบ โดยเฉลี่ย<br />

ระยะเวลาในการเจริญเติบโตตั้งแตไขจนถึงตัวเต็มวัยใชเวลา<br />

ประมาณ 6-21 วันขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศของแตละประเทศ<br />

(วัฒนา, 2544ข)<br />

อาการของพืชที่เกิดจากไรสี่ขาลงทํ<br />

าลายมีหลากหลาย เชน ทํ าใหเกิดสีสนิม (rust) ตาม<br />

ผิวของใบและผลเนื่องจากเซลลที่ถูกดูดกินแหงตายไป<br />

การเกิดแผงขนอัดแนนเหมือนผากํ ามะหยี่<br />

(erineum) ตามใตใบหรือบนใบพืช เชน ใบลิ้นจี่<br />

และกระทอน การเกิดปม (gall) ซึ่งเกิดจากใบที่<br />

ถูกทํ าลายเจริญเขามารวมกันเปนปุมปม<br />

เชน ปมของชะอม ภายในมีไรสี่ขาอาศัยอยูเปนจํ<br />

านวน<br />

มาก และไรสี่ขาบางชนิดทํ<br />

าใหเกิดอาการใบบิดเบี้ยว<br />

เชน ใบสะเดา นอกจากนั้นยังมีอาการใบบวง<br />

หรือใบพันกัน เชน ใบกระเทียม โดยใบที่ถูกดูดกินจะมีอาการดางขาวและเหลืองเปนหยอมๆ<br />

และ<br />

ปลายใบจะมวนงอลงพับกัน เปนตน (วัฒนา, 2544ข; Jeppson et al., 1975)<br />

การควบคุมแมลงและไรศัตรูพืช<br />

การควบคุมแมลงและไรศัตรูพืชที่ไดผลมีหลายวิธี<br />

เชน การควบคุมโดยวิธีเขตกรรม วิธี<br />

กล ใชกับดักลอแมลง ใชพืชพันธุตานทานแมลง<br />

ใชสารฆาแมลง และการควบคุมโดยชีววิธี เชน<br />

การใชตัวหํ้<br />

า ตัวเบียน หรือเชื้อจุลินทรีย<br />

(McMurtry et al., 1970; Heinz and Nelson, 1996;<br />

Knutson and Coulson, 1997; Hough-Goldstein, 1998; Letourneau, 1998; Duan and<br />

Messing, 2000) โดยอาจจะนํ าวิธีใดวิธีหนึ่งมาใช<br />

หรือใชการควบคุมโดยผสมผสานหลายวิธีเขา<br />

ดวยกัน แตวิธีที่เปนที่นิยมอยางกวางขวางในหมูเกษตรกรก็คือการใชสารเคมี<br />

เนื่องจากใชได<br />

สะดวกและเห็นผลรวดเร็ว ดังจะเห็นไดจากสถิติการนํ าเขาสารเคมีเพื่อใชภายในประเทศซึ่งเพิ่ม<br />

มากขึ้นทุกป<br />

เชนในป พ.ศ. 2500 มีการนํ าเขาสารเคมีเปนมูลคา 25 ลานบาท และเมื่อป<br />

2543 มี<br />

การนํ าเขาสารเคมีเพื่อใชกํ<br />

าจัดแมลงและไรเปนมูลคาสูงถึง 3,605 ลานบาท (อภิญญา, 2543)<br />

จะเห็นไดวาอัตราการนํ าเขาเพิ่มขึ้นอยางมาก<br />

จึงเปนเรื่องที่นาวิตกถึงพิษภัยและอันตรายของสาร<br />

เคมีดังกลาว โดยเฉพาะอยางยิ่งถาหากมีการใชในปริมาณมากและไมถูกตองตามเวลา<br />

จะทํ าใหเกิด<br />

ผลเสียมากกวาผลดี โดยไรและแมลงศัตรูพืชบางชนิดเกิดความตานทานยาในเวลาอันรวดเร็ว นอก<br />

จากนั้นสารเคมียังอาจทํ<br />

าลายศัตรูธรรมชาติของแมลงและไรศัตรูพืชอีกดวย (Helle, 1965;<br />

Cranham and Helle, 1985; Jepson, 1989; Follett, 2000) Meyer (1981) กลาววา สารเคมี<br />

ที่ใชในไรสมจะทํ<br />

าลายศัตรูธรรมชาติของไรแดงสม และทํ าใหไรแดงสมเกิดการระบาดอยางรุนแรง<br />

9


การใชศัตรูธรรมชาติควบคุมศัตรูพืชทางการเกษตร (biological control) เปนวิธีการ<br />

หนึ่งที่ไดรับความสนใจจากนักวิชาการกํ<br />

าจัดศัตรูพืชในหลายประเทศ ศัตรูธรรมชาติประเภทตัวหํ้<br />

า<br />

ไดแก มวนพิฆาต แมลงปอ แมลงชางปกใส แมลงวันหัวบุบ ดวงเตาลาย ดวงดิน ตั๊กแตนตํ<br />

าขาว<br />

และหนอนแมลงวันดอกไม เปนตน (Whitcomb and Godfrey, 1991; Raffa and Dahlsten,<br />

1995; Evans and England, 1996; Yasuda, 1998; Yeargan, 1998) แมลงธรรมชาติอีกกลุมที่<br />

นิยมนํ ามาใชมาก ไดแก แมลงเบียน เชน แมลงวันกนขน ตอเบียน แตนเบียน แตนเบียนไข และ<br />

แตนเบียนฝอย (Greany et al., 1977; Saxena, 1977; Sithananthan and Solayappan, 1980;<br />

Wharton, 1989; Follett et al., 2000)<br />

ในประเทศไทยไดมีการนํ าแมลงตัวหํ้<br />

าและแมลงตัวเบียนมาใชควบคุมแมลงศัตรูพืช เชน<br />

การใชแมลงวันตัวหํ้<br />

าสกุล Coenosia ควบคุมแมลงวันหนอนชอนใบ Liriomyze huidobrensis<br />

(Blanchard) (อัมพร, 2544) การใชตัวออนและตัวเต็มวัยของมวนพิฆาต Eocanthecona<br />

furcellata (Woff) ทํ าลายหนอนกระทูหอมและหนอนกระทูผัก การใชแตนเบียนไข<br />

Trichogramma confusum Viggiani ควบคุมหนอนกอลายเล็กและหนอนกอลายใหญศัตรูออย<br />

และการใชแตนเบียน Diachasmimorpha longicaudata Ashmead ควบคุมแมลงวันผลไม เปนตน<br />

(รัตนา, 2544)<br />

การควบคุมหนอนกระทูผัก<br />

(S. litura) มีหลายวิธี เชน การใชแตนเบียนหนอน Cotesia<br />

sp. หรือใชตัวเต็มวัยของมวนพิฆาต E. furcellata (Martin et al., 1981; Yasuda, 1997) หรือ<br />

การใชเชื้อจุลินทรีย<br />

เชน การใชเชื้อรา<br />

Nomuraea rileyi (Farlow) Samson (Devi, 1995) หรือใช<br />

เชื้อไวรัส<br />

NPV ในอัตรา 30 มิลลิลิตร/นํ้<br />

า 20 ลิตร ฉีดพนในชวงเวลาเย็นทุก 5 วันเมื่อพบวามี<br />

หนอนลงทํ าลายพืช (อุทัย, 2544) นอกจากนี้ยังมีการใชสารระงับการลอกคราบ<br />

เชน คลอรฟูอา<br />

ซูรอน อัตรา 20 มิลลิลิตร/นํ้<br />

า 20 ลิตร ฉีดพนเมื่อแมลงมีการระบาดมากๆ<br />

โดยกํ าหนดชวงพน<br />

5-7 วันติดตอกันจนกวาการระบาดจะลดลง (ปยรัตน, 2542) หรืออาจจะมีการนํ าวิธีกลมาใชรวม<br />

ดวย โดยการเก็บกลุมไขและหนอนนํ<br />

าไปทํ าลาย ซึ่งพบวาไดผลดีและลดการระบาดลงไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

การใชไรตัวหํ้<br />

าควบคุมไรศัตรูพืชนั้น<br />

เปนที่นิยมมากในแถบยุโรปและอเมริกา<br />

จนกระทั่ง<br />

มีการผลิตไรตัวหํ้<br />

าหลายชนิดเปนการคา ไรตัวหํ้<br />

าที่มีการผลิตเปนการคา<br />

ไดแก Phytoseiulus<br />

persimilis Athias-Henriot, Amblyseius californicus (McGregor) และ Metaseiulus<br />

occidentalis Nesbitt เปนตน (Oatman, 1969; Oatman et al., 1977; Goodwin and Schicha,<br />

1979; Messing, 2000) ไรตัวหํ้<br />

าจับไรศัตรูพืช เชน ไรแมงมุม ไรขาว และไรสี่ขาเปนอาหาร<br />

นอกจากนั้นยังสามารถกินไขของแมลงเล็กๆ<br />

เชน เพลี้ยหอยและแมลงหางดีดอีกดวย<br />

(อังศุมาลย,<br />

10


2534) ไรตัวหํ้<br />

ามีหลายชนิดแตที่นิยมใชสวนใหญเปนไรตัวหํ้<br />

าในวงศ Phytoseiidae ไรตัวหํ้<br />

าที่พบ<br />

มากในประเทศไทยคือ Amblyseius longispinosus (Evans) ซึ่งสามารถนํ<br />

ามาใชควบคุมไรแมงมุม<br />

สองจุดศัตรูของสตรอเบอรี่ได<br />

โดยไรตัวหํ้<br />

าสามารถควบคุมไรแมงมุมชนิดนี้ไดเปนเวลานาน<br />

10-<br />

12 สัปดาหติดตอกัน (มานิตา, 2544)<br />

นอกจากตัวหํ้<br />

าและตัวเบียนแลว เชื้อจุลินทรียหลายชนิดก็มีประสิทธิภาพในการควบคุม<br />

แมลงและไรศัตรูพืช เชน เชื้อรา<br />

ไวรัส แบคทีเรีย โปรโตซัว และริกเคทเซีย (Hoyt, 1969;<br />

Jeppson et al., 1975; McCoy, 1985; McCoy et al., 1988; Boucias and Pendlan, 1998;<br />

Fuka, 1998) ปจจุบันเชื้อจุลินทรียไดรับความสนใจในการนํ<br />

ามาใชกํ าจัดศัตรูพืชอยางกวางขวาง<br />

เนื่องจากเปนวิธีกํ<br />

าจัดแมลงและไรที่ดีที่สุดอีกวิธีหนึ่ง<br />

จึงไดมีการนํ าเชื้อจุลินทรียเหลานี้มาพัฒนา<br />

ขีดความสามารถ เพื่อนํ<br />

ามาใชควบคุมแมลงและไรศัตรูพืชตอไป นอกจากการใชเชื้อจุลินทรียโดย<br />

ตรงแลว จุลินทรียบางชนิดจะสรางสารพิษซึ่งทํ<br />

าลายแมลงและไรศัตรูพืชไดอีกดวย<br />

เชื้อราทํ<br />

าลายแมลงและไรศัตรูพืช<br />

เชื้อราเปนจุลินทรียที่พบมากในธรรมชาติ<br />

เชื้อราหลายชนิดมีความสัมพันธกับแมลงโดย<br />

ทํ าใหแมลงเกิดโรค หรือสรางสารพิษที่ทํ<br />

าใหแมลงตายได เชื้อราที่นิยมใชในการกํ<br />

าจัดแมลงมี<br />

หลายชนิด เชน B. bassiana กอโรคกับเพลี้ยกระโดดสีนํ้<br />

าตาล เพลี้ยออน<br />

และมีรายงานวาสามารถ<br />

กอโรคกับตัวออนแมลงทุกระยะรวมทั้งตัวเต็มวัยดวย<br />

(Khetan, 2001; Hajek and Butler,<br />

2000) เชื้อ<br />

Verticillium sp. ทํ าใหเพลี้ยออน<br />

เพลี้ยแปง<br />

และเพลี้ยหอยเปนโรคได<br />

(Hall, 1981)<br />

และเชื้อ<br />

Cordyceps sp. กอโรคกับแมลงในอันดับ Hymenoptera, Coleoptera, Lepidoptera,<br />

Hemiptera, Isoptera และ Orthoptera เปนตน ในป ค.ศ. 1978 McCoy and Couch รายงานวา<br />

มีเชื้อราหลายชนิด<br />

เชน Entomophthora spp., Triplosporium tetranychi Lipa, Triplosporium<br />

floridanum Lipa, Paecilomyces eriophytes (Massee) และ H. thompsonii ซึ่งสามารถนํ<br />

ามาใช<br />

กํ าจัดไรศัตรูพืชได โดยเฉพาะไรสี่ขาและไรแมงมุม<br />

เชื้อรากับการกอใหเกิดโรค<br />

การสัมผัสระหวางสปอรของเชื้อรากับสิ่งมีชีวิตที่เชื้อราอาศัยอยู<br />

เปนขั้นตอนเริ่มตนของ<br />

การกอใหเกิดโรค ในกรณีของเชื้อราที่กอโรคกับแมลงสวนใหญ<br />

จะมีลมเปนตัวพัดพาสปอรมาตก<br />

ในที่ตางๆ<br />

การสัมผัสระหวางสปอรของเชื้อรากับผิวแมลงเกิดขึ้นแบบสุม<br />

โอกาสที่เชื้อจะเจริญจน<br />

กอใหเกิดโรคกับแมลงไดขึ้นอยูกับลักษณะของเชื้อ<br />

การแพรกระจาย สภาวะอากาศ จํ านวนสปอรที่<br />

ปลิวมาติดตามผนังลํ าตัว และคุณสมบัติของผนังลํ าตัวของสัตวอาศัย (Locke, 1984; Dillon and<br />

11


Charnley, 1991; Eisemann และ Binnington, 1994) Robert (1970) รายงานวา infective<br />

unit ของเชื้อราที่กอโรคมีทั้งชนิดที่เคลื่อนที่ได<br />

(zoospore) และเคลื่อนที่ไมได<br />

(spore) สปอรของ<br />

เชื้อราบางชนิดที่เคลื่อนได<br />

(motile spore) จะเคลื่อนที่เขาหาตัวสัตวอาศัยไดเอง<br />

เชน zoospore<br />

ของ Ahanomyces หรือ zygote ของ Coelomomyces เชื้อราจะถูกดึงดูดเขาหาสัตวอาศัยโดยการ<br />

เหนี่ยวนํ<br />

าของสารเคมีที่ปลอยออกมาจากลํ<br />

าตัวของสัตวอาศัยโดยตรง<br />

การงอกของสปอรเปนขั้นตอนสํ<br />

าคัญในการกอโรค สปอรจะงอกไดดีเพียงใดขึ้นอยูกับ<br />

ชนิดของเชื้อราและปจจัยภายนอก<br />

เชน ความเปนกรด-ดาง อุณหภูมิ ความชื้น<br />

และแสง เมื่อ<br />

สปอรของเชื้อรางอก<br />

germ tube จะแทงทะลุเขาสูผิวหนังของสัตวอาศัย<br />

(Fuka, 1998) Miller<br />

(1995) รายงานวา สปอรของ Erynia neoaphidis Remaudiere & Hennebert สามารถงอกและทํ า<br />

ใหเพลี้ยไฟตายได<br />

การที่สปอรจะเขาไปภายในรางกายของสัตวอาศัยไดนั้น<br />

ขึ้นอยูกับความสามารถ<br />

ของ germ tube ที่จะแทงทะลุผานผนังลํ<br />

าตัวชั้นนอกสุดเขาไปภายใน<br />

เนื่องจากผนังลํ<br />

าตัวชั้นนอก<br />

สุดจะแข็งและหนา เปนเกราะปองกันการเขาทํ าลายของเชื้อรา<br />

ดังนั้นแมลงที่ไดรับบาดเจ็บหรือมี<br />

บาดแผลจะถูกไรเขาทํ าลายไดงายขึ้น<br />

โดยทั่วไปแมลงจะมีระบบคุมกันการเขาทํ<br />

าลายจากเชื้อจุลินทรียอยูภายในลํ<br />

าตัว แตก็มี<br />

บางสวนบกพรองทํ าใหเชื้อราสามารถเขาไปกอโรคภายในชองวางของลํ<br />

าตัวได เชน หนอนผีเสื้อ<br />

หลายชนิดจะมีปฏิกิริยาปองกันการเขาทํ าลายของเชื้อรากอโรค<br />

(Ignoffo et al., 1973) ดังนั้นเชื้อ<br />

ราจึงตองมีการพัฒนาหลายขั้นตอน<br />

เพื่อหลีกเลี่ยงปฏิกิริยาการตอบโตของแมลง<br />

ซึ่งปฏิกิริยาตอบ<br />

โตของแมลงนี้สามารถเกิดขึ้นไดเองจากสวนของโปรโตพลาสซึมในนํ้<br />

าเลือดของแมลง และ<br />

ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นไดทั้งในสิ่งมีชีวิตและในหลอดทดลอง<br />

(Latge et al., 1988)<br />

เชื้อราหลายชนิดสามารถผลิตสารพิษ<br />

ซึ่งเกิดจาก<br />

secondary metabolites และใชทํ าลาย<br />

แมลงได เชื้อราบางสายพันธุสรางสารพิษ<br />

ไดมากกวา 1 ชนิด เชน B. bassiana สรางสารพิษชื่อ<br />

Beauvericin, Bassianolide และ Oosporein (Suzuki et al., 1977; Kanaoka et al., 1978;<br />

Qudri et al., 1989; Zizka and Weiser, 1993; Gupta et al., 1995) เชื้อ<br />

M. anisopliae สราง<br />

สารพิษชื่อ<br />

Destruxins (A-E), Cytochalasins และ Swainsonine (Suzuki et al., 1970; James<br />

et al., 1993; Sloman and Reynolds, 1993; Wahlman and Davidson, 1993) สวนเชื้อ<br />

Verticillium และ Fusarium สรางสารพิษชนิดเดียว คือ Cyclosporin A และเชื้อ<br />

H. thompsonii<br />

สรางสารพิษชื่อ<br />

Hirsutellin A และ Hirsutellin B เปนตน (Mazet and Vey, 1995; Liu et al.,<br />

1995; Omoto and McCoy, 1998)<br />

12


เชื้อราหลายชนิดสามารถกํ<br />

าจัดศัตรูพืชไดผลดี จึงทํ าใหมีผูประกอบการหลายบริษัทผลิต<br />

เชื้อราออกจํ<br />

าหนายในทองตลาด ปจจุบันเชื้อราหลายชนิดยังคงใชกันอยางแพรหลายในหลาย<br />

ประเทศ (ตารางที่<br />

1)<br />

ตารางที่<br />

1 Trade names of commercial or experimental preparations of fungi formulated<br />

as microbial insecticides<br />

Fungal species Trade name Producer<br />

Aschersonia aleyrodis Aseronija All Union Inst. (USSR)<br />

Beauveria bassiana Biotrol FBB Nutrilite Products (US)<br />

Boverin Glavmikrobioprom (USSR)<br />

ABG-6178 Abbott Laboratories (US)<br />

Hirsutella thompsonii Mycar Abbott Laboratories (US)<br />

Metarhizium anisopliae Biotrol FMA Nutrilite Products (US)<br />

Metaquino CODECAP (Brazil)<br />

Verticillium lecanii Vertalec Tate and Lyle (England)<br />

Mycotol Tate and Lyle (England)<br />

ที่มา:<br />

(Falcon, 1985)<br />

13


เชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii<br />

ประวัติและความสํ าคัญ<br />

Speare and Yothers ทํ าการแยกเชื้อราชนิดนี้จากซากของไรสนิมสม<br />

Phyllocoptruta<br />

oleivora (Ashmead) ในมลรัฐ Florida ประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อป<br />

ค.ศ. 1924 โดยซากของไร<br />

สนิมสมที่มีเชื้อราเขาทํ<br />

าลายจะมีสีนํ้<br />

าตาลออน แหงติดอยูตามผิวใบและผลสม<br />

เมื่อนํ<br />

ามาศึกษาดวย<br />

กลองจุลทรรศนพบเสนใยของเชื้อราอยูภายในลํ<br />

าตัว เสนใยบางสวนแทงทะลุผนังลํ าตัวออกสูภาย<br />

นอก เชื่อกันวาเชื้อรานี้มีความเปนอยูแบบปรสิต<br />

(parasite) เจริญเติบโตไดโดยรับอาหารจากไร<br />

แลวทํ าใหไรตาย ตอมา Fisher (1950) ไดตั้งชื่อเชื้อราชนิดนี้วา<br />

Hirsutella thompsonii หลังจาก<br />

นั้น<br />

McCoy and Kanavel (1969a); McCoy et al. (1971) สามารถแยกเชื้อราชนิดนี้และทํ<br />

าการ<br />

ขยายพันธุ โดยเลี้ยงบนอาหารเทียมไดสํ<br />

าเร็จ และเมื่อนํ<br />

ากลับมาใชในสภาพธรรมชาติก็สามารถชัก<br />

นํ าใหไรเปนโรคไดอีก<br />

H. thompsonii เปนเชื้อราศัตรูธรรมชาติที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช โดยเฉพาะไรในวงศ<br />

Eriophyidae, Diptilomiopidae และ Tetranychidae (Baker and Neunzig, 1968; McCoy and<br />

Selhime, 1977; Gerson et al., 1979; Samson and McCoy, 1982) ไรสี่ขาซึ่งเปนสัตวอาศัย<br />

ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีหลายชนิด เชน Citrus rust mites (P. oleivora), citrus bud mite<br />

(Eriophyes sheldonii (Ewing)), blueberry bud mite (Acalitus vaccinii (Keifer)) และ<br />

coconut mites (Eriophyes guerreronis (Keifer)) เปนตน (Baker and Neunzig, 1968; McCoy<br />

and Kanavel, 1969b; McCoy and Selhime, 1977; McCoy and Couch, 1978; Hall et al.,<br />

1980) นอกจากเชื้อราจะเปนศัตรูที่สํ<br />

าคัญของไรสี่ขาแลว<br />

ยังทํ าลายไรแมงมุมซึ่งเปนศัตรูที่สํ<br />

าคัญ<br />

ของพืชอีกหลายชนิด เชน Eutetranychus banksi (McGregor), Eutetranychus sexmaculatus<br />

(Riley), Panonychus citri (McGregor), Tetranychus cinnabarinus (Boisduval) และ<br />

Eutetranychus mietolis (Klein) เปนตน (McCoy and Selhime, 1977)<br />

อังศุมาลย (2528ข) พบเชื้อรา<br />

H. thompsonii ในประเทศไทยเปนครั้งแรก<br />

โดยแยก<br />

เชื้อไดจากซากของไรสนิมสมซึ่งระบาดอยูในสวนสมที่ไมไดรับการพนยาปราบศัตรูพืช<br />

ในอํ าเภอลํ า<br />

ลูกกา จังหวัดปทุมธานี เมื่อนํ<br />

าเชื้อรามาแยกใหบริสุทธิ์แลวพบวามีอยู<br />

2 สายพันธุ<br />

คือ H.<br />

thompsonii var. thompsonii และ H. thompsonii var. synnematosa นอกจากนี้ยังพบเชื้อราชนิด<br />

นี้ทํ<br />

าลายไรสี่ขาบนขนุนและมะกอกฝรั่ง<br />

รวมทั้งไรแมงมุมของถั่วเหลืองและถั่วเขียวอีกดวย<br />

เชื้อ<br />

ราชนิดนี้แพรระบาดมากในชวงที่มีอากาศเย็น<br />

(เดือนกันยายน-กุมภาพันธ) การสํ ารวจไรศัตรูพืช<br />

ในบริเวณที่มีการใชสารเคมีกันมาก<br />

พบวาไมมีเชื้อราชนิดนี้ลงทํ<br />

าลายไรเลย<br />

14


อนุกรมวิธานของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii<br />

Speare and Yothers (1924); Mains (1951); Hughes (1953); Muller and von<br />

Arx (1973); Minter and Brady (1980); Samson et al. (1980) ไดจัดเชื้อรา<br />

H. thompsonii<br />

ไวในกลุม<br />

fungi Imperfecti โดยมีลํ าดับทางอนุกรมวิธาน ดังนี้<br />

Kingdom Plant<br />

Subdivision Deuteromycetes<br />

Class Hyphomycetes<br />

Order Moniliales (Hyphales)<br />

Family Moniliaceae<br />

Genus Hirsutella<br />

Species thompsonii<br />

Samson et al. (1980) ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ซึ่ง<br />

เก็บรวบรวมไดจากสถานที่ตางๆ<br />

หลายแหง พบวาเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีอยู<br />

3 สายพันธุดวยกัน<br />

คือ สายพันธุ<br />

thompsonii, vinacea, และ synnematosa โดยสายพันธุ<br />

thompsonii มีถิ่นกํ<br />

าเนิดและ<br />

ระบาดอยูในแถบอบอุนกึ่งรอน<br />

สวนสายพันธุ<br />

vinacea ซึ่งพบอยูในซากของไร<br />

Acalitus vaccinii<br />

(Keifer) ระบาดอยูในมลรัฐ<br />

North Carolina ประเทศสหรัฐอเมริกา และสายพันธุ<br />

synnematosa<br />

พบเฉพาะในเขตรอนเทานั้น<br />

ในป ค ศ. 1981 McCoy สามารถแยกเชื้อราสายพันธุ<br />

synnematosa<br />

ไดจากไรสี่ขา<br />

3 ชนิดคือ E. sheldoni, E. guerreronis และ Colomerus novahebridensis Keifer<br />

อังศุมาลย (2543ข) แยกเชื้อสายพันธุเดียวกันนี้จากซากไรสี่ขาในประเทศไทยไดมากกวา<br />

113 ไอ<br />

โซเลท<br />

สัณฐานภายนอกของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii<br />

อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532); Samson et al. (1980) รายงานสัณฐานภายนอก<br />

ของเชื้อ<br />

H. thompsonii var. synnematosa ไววา โคโลนีมีลักษณะพองฟูเล็กนอย สีเขียวอมเทา<br />

เสนใยมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.7–3.5 ไมครอน และมีผนังกั้น<br />

บริเวณดานขางมี phialidelike<br />

structure (conidiogeneus cell) ลักษณะของ phialide รูปรางคลายขวดคอคอดงอกตั้งฉากกับ<br />

เสนใยโดยมีสวนฐานเปนรูปกรวยหรือรูปไข ตอนปลายคอดลงเปนคอขวดเล็กๆ และมี sterigma<br />

เปนกานสั้นๆ<br />

ใชเปนที่ยึดเกาะของเซลลสืบพันธุหรือ<br />

conidia phialide มีความยาวโดยเฉลี่ย<br />

7.75<br />

ไมครอน แตละ phialide จะหางกันประมาณ 51.88 ไมครอน โดยทั่วไป<br />

phialide แตละอันจะ<br />

15


ผลิต conidia ที่เรียกวา<br />

primary conidia จํ านวน 1-2 อัน ซึ่งมีรูปรางกลม<br />

และมีผิวเรียบจนถึง<br />

ขรุขระ ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2.5-4.5 ไมครอน (van Winkelhoff and McCoy, 1984) นอก<br />

จากนั้นเชื้อราสายพันธุนี้ยังสราง<br />

polyblastic conidiogenous cell ซึ่งผลิต<br />

polyblastic conidia รูป<br />

รางเปนวงรีไดหลายอัน conidia ชนิดนี้มีขนาด<br />

5.0-8.0x2.0-2.5 ไมครอน<br />

เมื่อเชื้อรามีอายุประมาณ<br />

2 อาทิตยจะพบกลุมของเสนใยเกิดการมัดรวมกันเปนจํ<br />

านวน<br />

มากเรียกวา synnemata ซึ่งมีรูปทรงกระบอก<br />

ลักษณะคลายเขาสีชมพูออนหรือสีครีม ยาวประมาณ<br />

7 เซนติเมตร เสนใยบน synnemata จะสราง phiailde และ conidia ไดเชนเดียวกับเสนใยปกติ<br />

แตรูปรางและความหนาแนนของ conidia จะขึ้นอยูกับตํ<br />

าแหนงที่พบ<br />

นอกจากนั้นพื้นผิวของ<br />

conidia ที่เกิดบน<br />

synnemata จะขรุขระเชนเดียวกับ conidia ที่พบทั่วไป<br />

เสนใยที่มีอายุมากจะ<br />

สราง chlamydoconidia ลักษณะเปนกระเปาะๆ อยูภายในเสนใย<br />

ซึ่งมีสาเหตุมาจากอาหารเริ่มขาด<br />

แคลน ดังนั้นการสราง<br />

chlamydoconidia จึงเปนวิธีการหนึ่งที่จะชวยใหเชื้อราอยูรอดในสภาพที่อด<br />

อาหาร และพรอมที่จะขยายพันธุตอไปไดเมื่อสภาวะแวดลอมเหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง<br />

เสนใยของเชื้อราที่เลี้ยงในอาหารเหลวจะมีผิวเรียบกวาเสนใยของเชื้อราที่เลี้ยงบนวุน<br />

อาหาร และมีการสราง chlamydoconidia เชนเดียวกับเสนใยที่เลี้ยงบนวุนอาหาร<br />

เชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii สายพันธุ<br />

synnematosa อาจสราง conidia เมื่อเลี้ยงในอาหารเหลวได<br />

คุณสมบัตินี้จะ<br />

แตกตางจากสายพันธุ<br />

thompsonii ที่ไมสามารถสราง<br />

conidia ในอาหารเหลว (McCoy et al.,<br />

1972) conidia ที่เชื้อราสรางในอาหารเหลวจะมีผนังเรียบจนถึงคอนขางขรุขระ<br />

ซึ่งตางกับ<br />

conidia ที่เชื้อราสรางบนอาหารแข็งอยางเห็นไดชัด<br />

conidia ที่ผลิตในอาหารเหลวมีอัตราการงอก<br />

5.2–12.9%<br />

สัณฐานภายในของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii<br />

อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ศึกษาลักษณะภายในของเชื้อรา<br />

H. thompsonii var.<br />

synnematosa ภายใตกลอง Transmission electron microscope พบวาภายในเสนใยมีองค<br />

ประกอบที่สํ<br />

าคัญตอการดํ ารงชีวิตของเซลลคือ nucleus, nuclear membrane และ mytochondria<br />

ผนังของ phialide และ conidia จะหนาและมี peg-like structure ซึ่งเกิดจาก<br />

gelatinous layer<br />

ปรากฏอยู ชัดเจน นอกจากนั้นภาพตัดตามยาวและตามขวางของ<br />

synnemata ยังแสดงใหเห็นวา<br />

โครงสรางนี้ประกอบดวยเสนใยที่มีผนังหนาและเรียงตัวกันตามยาวอยางมีระเบียบ<br />

16


การเจริญเติบโตของเชื้อราบนอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

McCoy et al. (1972) ศึกษาสูตรอาหารเหลวสํ าหรับเลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii var.<br />

thompsonii พบวา สูตรอาหารที่เหมาะสมซึ่งจะใหผลดีตอการเจริญเติบโตของเสนใยในอาหาร<br />

เหลวประกอบดวยแหลงของคารบอน คือ dextrose 5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร หรือ sucrose 10<br />

มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และแหลงของไนโตรเจน คือ yeast extract 5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และ<br />

peptone 0.5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และยังพบอีกวาเชื้อราไมสราง<br />

conidia เมื่อทํ<br />

าการเพาะเลี้ยงใน<br />

อาหารเหลว ตอมาในป ค.ศ. 1978 McCoy et al. ไดศึกษาสูตรอาหารเหลวที่เหมาะกับการผลิต<br />

เชื้อ<br />

H. thompsonii var. thompsonii ในระดับอุตสาหกรรม โดยทดลองใชสูตรอาหารที่ประกอบ<br />

ดวยกากนํ าตาลโมลาสและถั ้ ่วเหลืองในการผลิตเสนใย พบวา อาหารที่ประกอบดวยกากนํ้<br />

าตาลโม<br />

ลาส 2% และถั่วเหลือง<br />

8% เปนแหลงของคารบอนและไนโตรเจน และปรับคาความเปนกรด-ดาง<br />

ของอาหารเหลวที่<br />

7.5 จะใหนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพของเสนใย (fungal biomass) สูงสุด<br />

Samson et al. (1980) เลี้ยงเชื้อราสายพันธุ<br />

synnematosa บน Malt extract agar<br />

(MEA) ที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส เปนเวลา 14 วัน พบวาเชื้อราเจริญเติบโตไดดี<br />

โดยมีเสน<br />

ผานศูนยกลางของโคโลนี 20-25 มิลลิเมตร<br />

อังศุมาลย (2530) ทดลองเลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii 2 สายพันธุคือ<br />

synnematosa<br />

และ thompsonii บนวุนอาหาร<br />

MEA และรายงานวา โคโลนีของสายพันธุ<br />

synnematosa มีลักษณะ<br />

คอนขางฟู สีขาวอมเทา กลุมของเสนใยสีขาวจะเกิดการมัดรวมกันของเสนใยจํ<br />

านวนมากกลายเปน<br />

แทงยาวรูปทรงกระบอก เรียกวา synnemata ซึ่งมีสีชมพูออนหรือสีครีม<br />

synnemata มักขึ้นตาม<br />

ขอบของโคโลนี มีความยาวประมาณ 7 เซนติเมตร และกวาง 0.5-1.5 มิลลิเมตร (Samson et<br />

al., 1980) phialide ที่บริเวณ<br />

synnemata จะเรียวเล็กลง สวนสายพันธุ<br />

thompsonii ลักษณะโค<br />

โลนีจะพองฟู สีเทาเขมจมเกือบดํ า และไมสราง synnemata<br />

synnemata ที่สรางบนวุนอาหารแตละชนิด<br />

จะมีจํ านวน รูปรางลักษณะ และระยะเวลา<br />

การสรางที่แตกตางกัน<br />

เชื้อราจะเริ่มสราง<br />

synnemata ในอาหาร MEA เมื่อโคโลนีมีอายุประมาณ<br />

2 อาทิตย อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) กลาววา การสราง synnemata อาจหายไปเมื่อเลี้ยง<br />

เชื้อราบนวุนอาหารเปนเวลานาน<br />

พื้นผิวภายนอกของ<br />

synnemata ประกอบดวยเสนใยที่เรียงตัว<br />

กันตามแนวยาว เบียดชิดกันและคอนขางมีระเบียบตลอดความยาว<br />

17


อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ไดทดลองเลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii var.<br />

synnematosa บนวุ นอาหาร 4 ชนิดพบวา Sabourand dextrose agar (SDA) เปนอาหารที่เหมาะ<br />

สํ าหรับเลี้ยงเชื้อราชนิดนี้มากที่สุด<br />

รองลงมาคือ Malt extract agar (MEA), Potato dextrose<br />

agar (PDA) และ modified V-8 juice agar (V-8) ตามลํ าดับ เมื่อเชื้อรามีอายุมากขึ้นจะเริ่ม<br />

สราง chlamydoconidia ไวสํ าหรับสืบพันธุ<br />

การเลี้ยงเชื้อราในอาหารธรรมชาติ<br />

คือ เมล็ดขาวโพด,<br />

เมล็ดขาวโพด+นํ้<br />

าขาว, เมล็ดขาวโพด+นํ้<br />

าขาว+วิตามิน B-complex, เมล็ดขาวโพดบดหยาบ,<br />

เมล็ดขาวฟาง และขาวเปลือก จะใหจํ านวน conidia มากกวาเมื่อเลี้ยงดวยเมล็ดขาวโพดผสมดิน<br />

รวนอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ และปริมาณ conidia ที่ไดจากการเลี้ยงในอาหารธรรมชาติจะสูงกวา<br />

เมื่อเลี้ยงดวยวุนอาหาร<br />

MEA, SDA, PDA หรือ V-8<br />

ปจจัยที่มีผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

อุณหภูมิและความชื้นเปนปจจัยที่มีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของเชื้อราและปริมาณ<br />

การสราง conidia เชื้อรา<br />

H. thompsonii เปนพวกที่ชอบอุณหภูมิระดับกลาง<br />

(mesothermophile)<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตอยูระหวาง<br />

25-30 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย<br />

27 องศาเซลเซียส Kenneth et al. (1979) พบวา H. thompsonii var. thompsonii จะเจริญเติบ<br />

โตไดในชวงอุณหภูมิระหวาง 5-37 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธในบรรยากาศ<br />

90-100%<br />

Gerson et al. (1979) รายงานวา เชื้อรา<br />

H. thompsonii var. thompsonii สามารถสราง conidia<br />

ไดมากที่สุดที่อุณหภูมิ<br />

27 องศาเซลเซียส สวนเชื้อราที่เลี้ยงในอุณหภูมิ<br />

13 และ 35 องศา<br />

เซลเซียสจะสราง conidia ไดนอย นอกจากนั้นยังพบวา<br />

germ tube สามารถมีชีวิตอยูไดในชวง<br />

ความชื้นระหวาง<br />

5-100% McCoy and Selhime (1977) พบวาปริมาณความชื้นในบรรยากาศ<br />

มีความสํ าคัญตออัตราการงอกของสปอรเมื่อกระทบกับผนังลํ<br />

าตัวไร สปอรจะงอกไดดีที่ระดับ<br />

ความชื้น<br />

90-100%<br />

อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) พบวา H. thompsonii var. synematosa ใชเวลา<br />

ประมาณ 2-3 วันในการเจริญเติบโตตั้งแตเริ่มงอก<br />

germ tube จนถึงระยะสราง conidia ขึ้นมาอีก<br />

ครั้งหนึ่ง<br />

เชื้อราสายพันธุนี้เจริญเติบโตไดดีในชวงอุณหภูมิ<br />

18-35 องศาเซลเซียส และหยุดการ<br />

เจริญเติบโตเมื่อเลี้ยงที่อุณหภูมิ<br />

37 องศาเซลเซียส อุณภูมิที่เหมาะสมตอการเลี้ยงเชื้อราแตละสาย<br />

พันธุ จะแตกตางกัน (อังศุมาลย และ อุไรวรรณ, 2532)<br />

18


ลักษณะการทํ าลายไรศัตรูพืช<br />

เชื้อราทํ<br />

าลายไรศัตรูพืชโดย conidia ของเชื้อราจะเกาะติดกับผนังลํ<br />

าตัวสวนใดสวนหนึ่ง<br />

ของไร และงอกเสนใยแทงทะลุผานผนังลํ าตัวเขาไปในชองวางภายในลํ าตัว เมื่อเชื้อราไดรับอาหาร<br />

จากภายในลํ าตัวไร จะเจริญเติบโตแตกกิ่งกานสาขาอยูภายในชองวางของลํ<br />

าตัว และทํ าลายเนื้อเยื่อ<br />

ตางๆ เชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรสี่ขานั้นมักจะเขาไปอยูในบริเวณสวนกลางของชองวางลํ<br />

าตัวกอน หลังจาก<br />

นั้นจึงจะเริ่มพัฒนาจากบริเวณสวนกลางลํ<br />

าตัวเขาไปยังสวนหนา คือ ขาและปาก ตอมาจะเจริญไป<br />

ทางสวนทายของลํ าตัวจนถึงทวารหนัก เสนใยของเชื้อราที่เจริญอยูภายในลํ<br />

าตัวไรมีลักษณะเปนขอ<br />

ปลอง ภายในเวลา 2-3 วันเสนใยจะสราง chlamydospore รูปรางกลม เสนผานศูนยกลาง 13-<br />

22 ไมครอนอยูภายในลํ<br />

าตัวไร หลังจากที่ไรตายแลวเชื้อราจะงอกเสนใยออกสูภายนอกตามชอง<br />

เปดตางๆ หรือแทงทะลุผนังลํ าตัวออกมาเพื่อสราง<br />

conidia ตอไป conidia ที่ติดอยูกับซากไรจะมี<br />

เพียง primary conidia เทานั้น<br />

(McCoy, 1981)<br />

primary conidia มีพื้นผิวขรุขระและมี<br />

gelatinous mixture ซึ่งเปนองคประกอบสํ<br />

าคัญใน<br />

การเกาะติดผนังลํ าตัวไร และเมื่อสภาพแวดลอมมีความชื้นเพียงพอจะทํ<br />

าใหสภาพการยึดเกาะกับ<br />

ผนังลํ าตัวไรเกิดขึ้นไดดีขึ้น<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อความชื้นสัมพัทธในอากาศสูงหรือมีนํ้<br />

าอยูบนผิว<br />

ใบ เนื่องจาก<br />

conidia จะเริ่มงอก<br />

germ tube ไดอยางรวดเร็ว (McCoy, 1985) เชื้อราจะเขา<br />

ทํ าลายไรไดสูงสุดเมื่อ<br />

conidia สัมผัสกับผนังลํ าตัวไรในสภาวะที่มีนํ้<br />

าอิสระ (free water) และใน<br />

สภาพธรรมชาติเชื้อราจะเกิดการระบาดไดมากขึ้นเมื่อมีความชื้นในรูปของนํ้<br />

าคางประมาณ 10-12<br />

ชั่วโมงตอวัน<br />

(McCoy et al., 1971; McCoy, 1978a)<br />

ไรศัตรูพืชเปนสัตวที่เคลื่อนที่ชาเมื่อเทียบกับแมลง<br />

นอกจากนั้นไรหลายชนิดโดยเฉพาะ<br />

ไรแมงมุมยังมีเสนขนตามลํ าตัวและระยางคเปนจํ านวนมาก ทํ าใหโอกาสที่<br />

conidia จะเขาไปเกาะ<br />

ติดตามผนังลํ าตัวมีคอนขางนอย ไรสี่ขามีลํ<br />

าตัวเกลี้ยง<br />

เสนขนนอย เคลื่อนไหวชากวาไรชนิดอื่นๆ<br />

และสวนมากจะจมอยูใตนํ้<br />

าคางเปนเวลานานพอที่<br />

conidia ของเชื้อราจะลอยไปเกาะกับผนังลํ<br />

าตัว<br />

ของไรไดสะดวก McCoy and Couch (1978) กลาววาผนังลํ าตัวของไรไมเปนอุปสรรคตอการ<br />

งอกของ conidia ของเชื้อรา<br />

Hirsutella แตอยางใด โดยทั่วไป<br />

conidia จะใชเวลาประมาณ 30<br />

นาทีตั้งแตเริ่มเกาะที่ผนังลํ<br />

าตัวของไรจนกระทั่งงอก<br />

germ tube McCoy et al. (1972) รายงานวา<br />

conidia จะใชเวลาประมาณ 4 ชั่วโมงหลังจากสัมผัสและแทงทะลุผานผนังลํ<br />

าตัวไร และใชเวลา<br />

เฉลี่ย<br />

72 ชั่วโมง<br />

นับแตการเขาทํ าลายจนกระทั่งเสนใยสราง<br />

conidia ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง<br />

และเมื่อ<br />

เชื้อราเขาสูภายในลํ<br />

าตัวไรแลว เชื้อราสามารถทํ<br />

าลายเนื้อเยื่อภายในลํ<br />

าตัวโดยไมเลือกชนิด สวน<br />

ใหญจะใชเวลาเพียง 2-3 วันที่จะเจริญจนเต็มลํ<br />

าตัวและทํ าใหไรตาย จากนั้นจึงแทงทะลุออกสูภาย<br />

19


นอกทางชองเปดตางๆ เชน ทวารหนัก อวัยวะสืบพันธุ<br />

หรือแมแตแทงทะลุผานผนังลํ าตัวไรออก<br />

มาโดยตรง<br />

ลักษณะอาการของไรซึ่งถูกเชื้อรา<br />

H. thompsonii เขาทํ าลายในระยะแรกจะสังเกตไดยาก<br />

เนื่องจากขนาดลํ<br />

าตัวของไรเล็กมาก ไรบางชนิดจะมีสีของลํ าตัวเขมขึ้นเมื่อถูกเชื้อราชนิดนี้เขา<br />

ทํ าลาย เชน ไรสนิมสม (P. oleivora) มักมีการเปลี่ยนสีของลํ<br />

าตัวจากสีเหลืองไปเปนสีเหลืองเขม<br />

จนถึงสีนํ้<br />

าตาล (Muma et al., 1961) และไรที่ตาของบลูเบอรี่<br />

(blueberry bud mite) จะเปลี่ยนสี<br />

ลํ าตัวจากสีขาวเปนสีคลํ้<br />

าลง (Baker and Neunzig, 1968) อยางไรก็ตามการเปลี่ยนสีของผนังลํ<br />

า<br />

ตัวเพียงอยางเดียวไมเพียงพอสํ าหรับการวินิจฉัยโรค เนื่องจากไรสี่ขาหลายชนิดจะมีสีคลํ้<br />

าเมื่ออายุ<br />

มากขึ้น<br />

(McCoy, 1981)<br />

McCoy (1981) พบวา H. thompsonii var. thompsonii เปนเชื้อราที่มีประสิทธิภาพ<br />

และเปนปจจัยสํ าคัญในการลดปริมาณการทํ าลายของไรสนิมสม ในบริเวณที่มีประชากรของไรหนา<br />

แนนจนถึงระดับเศรษฐกิจ<br />

Gerson et al. (1979) พบวาเชื้อรา<br />

H. thompsonii สามารถทํ าใหไรแมงมุม<br />

Tetranychus cinnabarinus Boisduval และ Eutetranychus orientalis (Klein) เปนโรคได โดยเมื่อ<br />

ปลอยใหไรแมงมุมเดินบนกลุมของเสนใยเชื้อราเปนเวลา<br />

30-60 นาที กอนที่จะนํ<br />

าไปเลี้ยงที่<br />

อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

100% จะทํ าใหไรเปนโรคถึง 84%<br />

ในป 1976 บริษัท Abbott Laboratories ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดคัดเลือกสายพันธุ<br />

H.<br />

thompsonii var. thompsonii นํ ามาผลิตในรูปผง conidia แหง เพื่อใชกํ<br />

าจัดไรศัตรูพืชชนิดตางๆ<br />

จนกระทั่งป<br />

ค.ศ. 1981 จึงไดนํ าออกสูตลาดโดยใชชื่อผลิตภัณฑวา<br />

‘Mycar’ (McCoy, 1978b;<br />

McCoy and Couch, 1982) ผลิตภัณฑนี้เปนที่นิยมใชอยางแพรหลายอยูชวงระยะเวลาหนึ่งกอนที่<br />

จะยกเลิกการผลิตไปในป ค.ศ.1985 เนื่องจากปญหาดานการเก็บรักษาเชื้อรา<br />

ซึ่งจะตองเก็บภาย<br />

ในตู เย็นที่อุณหภูมิ<br />

4 องศาเซลเซียส ตอมาในป ค.ศ.1989 เชื้อราชนิดนี้ก็ไดรับความสนใจจาก<br />

บริษัทที่ผลิต<br />

“Mycoacaricide” อีกครั้ง<br />

โดยมีบริษัทในประเทศจีนและสหรัฐอเมริกา ทํ าการ<br />

ทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อรา<br />

ตลอดจนหา formulation ที่เหมาะสมสํ<br />

าหรับใชกํ าจัดไรศัตรูพืชใน<br />

สภาพไร<br />

ในประเทศไทยอังศุมาลย และคณะ (2540) ไดพัฒนารูปแบบของเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii var. synnematosa ที่เหมาะสมสํ<br />

าหรับนํ าไปใชในสภาพไรคือรูปแบบผง โดยพบวา<br />

อัตราความเขมขนของผงเชื้อที่เหมาะสมคือ<br />

2-4% และพัฒนารูปแบบการหมักเชื้อราในอาหาร<br />

20


ธรรมชาติ เชน ขาว ปลายขาว ขาวโพดบดหยาบและขาวซอมมือ และรายงานวาปลายขาวเปน<br />

อาหารที่เหมาะสมที่สุด<br />

เมื่อนํ<br />

าไปทดสอบในสภาพไรโดยใชมวลชีวภาพเขมขน 2-4% พบวา ไร<br />

สนิมสมแสดงอาการเปนโรค 30-35% ภายหลังการฉีดพน 10 วัน และอัตราการเกิดโรคจะสูงขึ้น<br />

ถึง 83-86% ในเวลา 30 วันหลังจากฉีดพน การเติมรํ าหยาบ ปุยหมักและวิตามิน<br />

ลงในปลาย<br />

ขาวที่ใชเลี้ยงเชื้อรา<br />

จะชวยใหปริมาณ CFU ของมวลชีวภาพสูงขึ้นดวย<br />

การผลิตสารพิษของเชื้อรา<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii สามารถผลิตสารพิษไดเมื่อเลี้ยงดวยอาหารเหลว<br />

และสารพิษนี้<br />

สามารถเกิดพิษกับแมลงและไรศัตรูพืชได Vey et al. (1989) ศึกษาการสรางสารพิษของเชื้อรา<br />

Hirsutella 3 species (7 pathotypes) โดยเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลวสูตรตางๆ<br />

เปนเวลา 10 วัน<br />

จากนั้นนํ<br />

า crude filtrate ไปทดสอบอาการเกิดพิษกับหนอนผีเสื้อกินไขผึ้งวัยสุดทาย<br />

(Galleria<br />

mellonella (Linnaeus)) พบวาใน crude filtrate มีสารพิษที่จัดเปน<br />

toxic exocellular metabolite<br />

ซึ่งทํ<br />

าใหหนอนไมสามารถเจริญเติบโตไดตามปกติ นอกจากนั้นยังมี<br />

cytotoxic effect ตอเนื้อเยื่อ<br />

และเซลลของแมลงอีกดวย อยางไรก็ตามยังไมมีรายงานที่แนนอนเกี่ยวกับสารพิษที่เชื้อราชนิดนี้<br />

สรางขึ้นในชวงนั้น<br />

แตพบวาเปนสารประกอบโปรตีนโมเลกุลใหญ ซึ่งแตกตางจากสารพิษที่ผลิต<br />

โดย entomopathogenic fungi อื่นๆ<br />

ที่เปนสารประกอบโปรตีนโมเลกุลเล็ก<br />

Vey et al. (1989)<br />

รายงานวา H. thompsonii ทั้ง<br />

7 pathotypes มีความสามารถในการทํ าใหเกิดอาการเปนพิษขึ้นใน<br />

แมลงที่ใชทดสอบไดใกลเคียงกัน<br />

โดยทํ าใหเกิดการตายในระยะหนอน ผนังลํ าตัวของหนอนที่<br />

ตายจะมีจุดสีนํ้<br />

าตาลดํ าเปนจุดๆ กระจายอยูทั่วไป<br />

ในป ค.ศ. 1993 McCoy et al. ศึกษาการสรางสารพิษของเชื้อรา<br />

H. thompsonii โดย<br />

การหาสูตรอาหารเหลวที่เหมาะสม<br />

พรอมทั้งศึกษาชวงเวลาที่เชื้อราปลดปลอยสารพิษออกมามาก<br />

ที่สุด<br />

นอกจากนั้นยังไดทํ<br />

าการศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษซึ่งอยูในอาหารเหลวดวยการฉีด<br />

crude filtrate จํ านวน 8 ไมโครลิตรเขาไปในหนอนผีเสื้อกินไขผึ้งวัยสุดทาย<br />

โดยใชความเขมขน<br />

25, 50 และ 100 ไมโครกรัม/ไมโครลิตร พบวา crude filtrate ทุกความเขมขนทํ าใหหนอนตาย<br />

100% ในขณะที่ไมมีหนอนตายในชุดควบคุมซึ่งไดรับ<br />

tris buffer solution ในปริมาตรที่เทากัน<br />

นอกจากนั้นยังไดทดสอบพิษกับแมลงหวี่<br />

(Drosophila melanogaster (Meigen)) โดยการใหกิน<br />

อีกดวย ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษพบวาการเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลวที่มี<br />

glucose<br />

20 กรัม/ลิตร และ yeast extract 40 กรัม/ลิตร บนเครื่องเขยาที่ความเร็ว<br />

100 รอบ/นาที เปน<br />

เวลา 10 วัน ทํ าใหตัวเต็มวัยของแมลงหวี่ตาย<br />

67.6% อาหารที่มี<br />

glucose 30 กรัม/ลิตร และ<br />

yeast extract 30 กรัม/ลิตร ทํ าใหแมลงหวี่ตายเพิ่มขึ้นถึง<br />

78.8% สวนอาหารเลี้ยงเชื้อที่มี<br />

21


glucose 40 กรัม/ลิตร และ yeast extract 20 กรัม/ลิตร ทํ าใหแมลงหวี่ตายเพียง<br />

6.0% ในขณะ<br />

ที่แมลงหวี่ในชุดควบคุมซึ่งไดรับอาหารเลี้ยงเชื้อที่ไมมีเชื้อรามีอัตราการตายเพียง<br />

2.0%<br />

Mazet (1992) แยกสารพิษที่ผลิตโดย<br />

H. thompsonii สายพันธุ<br />

HTF-87 ได 2 ชนิด<br />

และตั้งชื่อวา<br />

Hirsutellin A (HtA) และ Hirsutellin B (HtB) Mazet and Vey (1995) ทํ าการ<br />

ทดสอบประสิทธิภาพของสาร Hirsutellin A พบวาสามารถทํ าใหหนอนกินไขผึ้งวัยสุดทายตาย<br />

100% ที่ระดับความเขมขน<br />

25, 50 และ 100 ไมโครกรัม/ไมโครลิตร หลังไดรับการฉีดสารพิษ<br />

เขาภายในลํ าตัวหนอนเปนเวลา 30, 25 และ 15 ชั่วโมง<br />

ตามลํ าดับ สวนลูกนํ้<br />

ายุง Aedes aegypti<br />

Linneaus ที่ไดรับสาร<br />

Hirsutellin A ที่ระดับความเขมขน<br />

20 ไมโครกรัม/ไมโครลิตร จะตาย<br />

100% ภายหลังการทดสอบ 72 ชั่วโมง<br />

Liu et al. (1996) กลาววา Hirsutellin A ยังยั้งการเจริญเติบโตของเซลลแมลง<br />

โดยจะ<br />

ยังยั้งการสังเคราะหโปรตีนและควบคุมเอ็นไซม<br />

RNase ซึ่งเปนเอ็นไซมยับยั้งการสรางโปรตีน<br />

Liu<br />

et al. (1996) ทํ าการทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษ HtA โดยฉีด HtA จํ านวน 50 นาโนกรัม<br />

เขาไปภายในลํ าตัวของหนอนกินไขผึ้งวัยสุดทาย<br />

และรายงานวา HtA ทํ าใหหนอนตาย 80% นอก<br />

จากนั้นยังไดรายงานวา<br />

HtA ที่ระดับความเขมขน<br />

5 ไมโครโมล จะเกิดพิษสูงกับเซลลแมลงโดยจะ<br />

ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลอีกดวย<br />

ความปลอดภัยของเชื้อราตอสัตวเลือดอุน<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii มีความปลอดภัยตอสัตวเลือดอุนมาก<br />

McCoy and Heimpel<br />

(1980) ทํ าการทดสอบความเปนพิษของ H. thompsonii ตามขอบังคับของ EPA<br />

(Environmental Protection Agency) โดยทดสอบการกอใหเกิดการระคายเคืองกับตา (eye<br />

irritation) ในกระตาย และพบวาเชื้อราชนิดนี้ไมกอใหเกิดการระคายเคืองในสวนของแกวตาหรือ<br />

อันตรายใดๆ เกี่ยวกับดวงตา<br />

การทดสอบความเปนพิษตอระบบหายใจ (acute inhalation) โดย<br />

ใชหนูเปนสัตวทดลอง พบวาในชวง 14 วันหลังการทดลองหนูยังมีพฤติกรรมปกติ ไมพบการตาย<br />

และไมพบการกอโรคในปอด แตจะมีนํ าหนักตัวลดลงเล็กนอย ้ การทดสอบการระคายเคืองตอผิว<br />

หนัง (primary skin test), การเปนพิษตอผิวหนัง (acute dermal test) และการเปนพิษโดยการกิน<br />

(acute oral test) โดยใชหนูและกระตายเปนสัตวทดลอง พบวาหนูไมมีอาการระคายเคืองและไม<br />

แสดงอาการเปนพิษอันเนื่องมาจากการกินหรือจากการสัมผัสทางผิวหนัง<br />

Ignoffo et al. (1973)<br />

รายงานวาเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีความปลอดภัยตอสัตวเลี้ยงลูกดวยนม<br />

ในป ค.ศ. 1989 Mier<br />

et al. ยืนยันผลของความปลอดภัยตอสัตวเลี้ยงลูกดวยนมโดยทํ<br />

าการทดลองกับหนูและหนูตะเภา<br />

22


นอกจากนั้นยังมีรายงานวาคณะผูทํ<br />

างานวิจัยเกี่ยวกับเชื้อรา<br />

H. thompsonii เปนเวลาติดตอกัน 3 ป<br />

ไมมีความเจ็บปวยใดๆ ที่มีสาเหตุมาจากเชื้อราชนิดนี้<br />

(McCoy et al., 1975)<br />

23


อุปกรณและวิธีการ<br />

1. การสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช<br />

1.1 การเก็บตัวอยางเชื้อรา<br />

ออกสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืชในอํ าเภอทองผาภูมิ จังหวัด<br />

กาญจนบุรี โดยแบงพื้นที่สํ<br />

ารวจออกเปนเขตปา บริเวณภูเขา หมูบานที่อยูติดภูเขา<br />

และในเขตที่<br />

อยู อาศัย จุดที่เก็บตัวอยางในแตละจุดจะทํ<br />

าการวัดพิกัด UTM โดยใชเครื่อง<br />

GPS การเก็บตัว<br />

อยางกระทํ าเดือนละ 1 ครั้งเปนเวลา<br />

12 เดือน เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน<br />

2544-พฤศจิกายน<br />

2545 เนนที่ไรแมงมุมและไรสี่ขาซึ่งเปนศัตรูสํ<br />

าคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด วิธีการเก็บตัว<br />

อยางกระทํ าโดยใชแวนขยาย (hand lens) ที่มีกํ<br />

าลังขยาย 15-20 เทา ตรวจดูตามสวนตางๆ ของ<br />

พืชที่คาดวามีไรอาศัยอยู<br />

(ภาพที่<br />

1) เมื่อพบไรหรือคราบของไรอยูบนใบพืชจะทํ<br />

าการรวบรวมใบ<br />

พืชหรือสวนของพืชที่มีไรใสในถุงพลาสติก<br />

รัดปากถุง และใชกรรไกรตัดถุงพลาสติกใหเปนรูเล็กๆ<br />

รอบถุง เพื่อใหอากาศผานเขาออกได<br />

พรอมทั้งเขียนชื่อพืช<br />

สถานที่เก็บ<br />

และวันที่เก็บบนถุงตัว<br />

อยางใหชัดเจน นํ าไปเก็บไวในถังนํ้<br />

าแข็งแหง หลังจากนั้นจึงนํ<br />

าใบที่มีไรมาตรวจหาเชื้อราที่เขา<br />

ทํ าลายไรภายใตกลองจุลทรรศน (stereo microscope) ที่กํ<br />

าลังขยาย 40 เทา (ภาพที่<br />

2) และนํ า<br />

ตัวอยางไรไปแยกเชื้อราสาเหตุที่ทํ<br />

าใหไรตายในหองปฏิบัติการตอไป<br />

1.2 การแยกเชื้อราใหบริสุทธิ์<br />

นํ าซากไรสี่ขาและไรแมงมุมที่มีเสนใยของเชื้อรางอกออกมาจากผนังลํ<br />

าตัว มาวางลงบน<br />

จานเลี้ยงเชื้อที่มีอาหาร<br />

Potato dextrose agar (PDA) บรรจุอยู<br />

โดยใชเข็มเขี่ยตัวไรวางบนจาน<br />

เลี้ยงเชื้อจานละ<br />

3-4 จุด จุดละ 1 ตัว นํ าจานเลี้ยงเชื้อไปบมในตูควบคุมอุณหภูมิ<br />

(incubator) ที่<br />

27-28 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

63-65% เปนเวลา 1-2 วัน เมื่อเสนใยของเชื้อราเริ่ม<br />

เจริญยืดยาวออกมาที่ผิวอาหาร<br />

จึงใชเข็มขนาดเล็ก (minuten pin) ติดกับปลายไมตัดสวนของเสน<br />

ใยเพื่อนํ<br />

ามาวางลงในจานลี้ยงเชื้อบรรจุอาหาร<br />

PDA และนํ าไปบมเชื้อตอในตูควบคุมอุณหภูมิอีก<br />

3 วัน จากนั้นทํ<br />

าการแยกเชื้อราที่ไดโดยการ<br />

streak ลงบนจานวุนอาหาร<br />

จนไดสายพันธุที่บริสุทธิ์<br />

(ภาพที่<br />

3) นํ าสายพันธุของเชื้อราที่แยกไดเก็บรักษาไวในหลอดอาหารผิวลาดเอียง<br />

(slant<br />

culture), เก็บภายใต paraffin oil และเก็บโดยวิธี lyophilization เพื่อทํ<br />

าการศึกษาตอไป<br />

24


ภาพที่<br />

1 การเก็บตัวอยางไรศัตรูพืช<br />

ภาพที่<br />

2 การแยกไรศัตรูพืชออกจากใบพืช<br />

25


ก<br />

ค<br />

ภาพที่<br />

3 การแยกเชื้อราใหบริสุทธิ์<br />

ก) ซากไรสี่ขาวางอยูบน<br />

PDA อายุ 2 วัน ข) ตัดสวนของเสนใยมาเลี้ยงใหม<br />

ค) โคโลนีที่ไดจากการยายเสนใยมาเลี้ยง<br />

อายุ 7 วัน และ ง) streak เชื้อจน<br />

บริสุทธิ์<br />

ข<br />

ง<br />

26


1.3 การเตรียมตัวอยางไรศัตรูพืชเพื่อวิเคราะหชนิดของไร<br />

การทํ าสไลดไรสี่ขากระทํ<br />

าโดยนํ าไรสี่ขาที่พบบนสวนตางๆ<br />

ของพืชมาทํ าสไลด โดยหยด<br />

นํ ายา ้ Heinze ลงตรงกลางแผนสไลด 1 หยด จากนั้นจึงใชขนตาติดปลายไมเขี่ยไรสี่ขาเพศเมียมา<br />

วางลงในหยดนํ้<br />

ายา พรอม ทั้งจัดตัวอยางใหอยูในทาทางที่ตองการ<br />

จากนั้นจึงใชกระจกปดสไลด<br />

(cover glass) ปดทับลงบนหยดนํ้<br />

ายา และนํ าสไลดไปวางบน hot plate ที่อุณหภูมิ<br />

60 องศา<br />

เซลเซียส จนกระทั่งสไลดแหงสนิทจึงทํ<br />

าการผนึกขอบสไลดดวยนํ้<br />

ายา Glyptal ® และตากสไลดให<br />

แหงที่อุณหภูมิหอง<br />

เมื่อสไลดแหงสนิทแลวจึงทํ<br />

าการติดหมายเลขสไลด วันที่เก็บ<br />

สถานที่เก็บ<br />

ชื่อ<br />

ผู เก็บ ไวบริเวณดานขางของแผนสไลด กอนที่จะนํ<br />

าเขาเก็บไวในตูเก็บสไลดเพื่อรอการวิเคราะห<br />

ชนิดของไรตอไป (ภาพที่<br />

4)<br />

ตัวอยางไรที่เหลือจากการทํ<br />

าสไลด จะนํ ามาเก็บรักษาไวในขวดเก็บตัวอยางบรรจุนํ้<br />

ายา<br />

sorbitol syrup ซึ่งเปนนํ้<br />

ายาที่เหมาะกับการเก็บรักษาไรในกลุม<br />

eriophyoid โดยไมตองผานการ<br />

ดองใน alcohol 70% และสามารถเก็บรักษาไรไวไดเปนเวลานานหลายป<br />

การทํ าสไลดไรแมงมุมกระทํ าโดยเขี่ยไรแมงมุมทั้งเพศเมียและเพศผูใสในถวยแกวขนาด<br />

เล็ก (syracuse dish) บรรจุ lactophenol และนํ าไปวางบน hot plate ที่อุณหภูมิ<br />

60 องศา<br />

เซลเซียสเปนเวลา 7-14 วันหรือจนกวาอวัยวะภายในของไรจะใส จากนั้นจึงนํ<br />

าไรมาวางบนแผน<br />

สไลดที่มีนํ้<br />

ายา Hoyer , s อยู ตรงกลางแผนสไลด 1 หยด ใชเข็มเขี่ยปลายแหลมจัดวางไรใหอยูใน<br />

ทาทางที่ตองการ<br />

จากนั้นจึงใชกระจกปดสไลดปดทับลงบนหยดนํ้<br />

ายานั้น<br />

และนํ าแผนสไลดไปอบ<br />

บนเครื่องอุนสไลด<br />

(slide warmer) ที่อุณหภูมิ<br />

50-60 องศาเซลเซียส เปนเวลา 7 วันหรือจน<br />

กวาสไลดจะแหงสนิทกอนที่จะทํ<br />

าการผนึกขอบสไลดดวยนํ้<br />

ายา Glyptal ® และตากสไลดใหแหง<br />

ประมาณ 7-10 วัน ทํ าการติดหมายเลขสไลด วันที่เก็บ<br />

สถานที่เก็บ<br />

ชื่อผูเก็บ<br />

ไวบริเวณดานขาง<br />

ของแผนสไลด และเก็บสไลดไวในตูเก็บสไลดเพื่อทํ<br />

าการวิเคราะหชนิดของไรตอไป<br />

27


ก ข<br />

ค<br />

จ<br />

ภาพที่<br />

4 การทํ าสไลดไรสี่ขา<br />

ก) อุปกรณสํ าหรับทํ าสไลด ข) hot plate ค) ตากสไลดบนแผนตากสไลด<br />

ง) แผนสไลดไรที่บันทึกขอมูลตางๆ<br />

จ) ถาดเก็บสไลด และ ฉ) ตูเก็บสไลด<br />

28<br />

ง<br />


1.4 การเก็บตัวอยางพืชอาศัยของไร<br />

ไรศัตรูพืชสวนใหญโดยเฉพาะไรในวงศ Eriophyidae และ Diptilomiopidae มีความ<br />

เฉพาะเจาะจง (host specificity) กับพืชอาศัยมาก ดังนั้นการวิเคราะหชนิดของไรจึงตองทราบ<br />

ชนิดของพืชอาศัยดวยเสมอ เมื่อเก็บตัวอยางไรจึงตองนํ<br />

าสวนตางๆ ของพืชอาศัย ไดแก ใบ ดอก<br />

ผล มาเก็บแหงใน herbarium ดวย (ภาพที่<br />

5 และ 6) รวมทั้งทํ<br />

าการบันทึกวัน-เดือน-ป ที่เก็บ<br />

และใหรหัสพืชอาศัย โดยรหัสที่ใหนี้จะตรงกับรหัสของเชื้อราที่เก็บได<br />

และตรงกับไรซึ่งเปนสัตว<br />

อาศัยของเชื้อราดวย<br />

พืชที่ทํ<br />

าแหงเรียบรอยแลวจะเก็บรักษาไวในพิพิทธภัณฑเพื่อรอการวิเคราะห<br />

ชนิดของพืชตอไป<br />

ภาพที่<br />

5 การจัดเรียงชิ้นสวนของพืชเพื่อเก็บแหง<br />

ภาพที่<br />

6 การเก็บตัวอยางแหงของพืชใน Herbarium<br />

29


2. การเจริญเติบโตและลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

2.1 การเจริญเติบโตของเชื้อราบนวุนอาหาร<br />

ทํ าการเลี้ยงเชื้อราที่รวบรวมได<br />

ในจานเลี้ยงเชื้อบรรจุอาหาร<br />

MEA ผสมสารปฏิชีวนะกัน<br />

แบคทีเรีย (ภาคผนวก ง) ในอัตรา 10 มิลลิลิตร/อาหาร 400 มิลลิลิตร เปนเวลา 7 วัน จากนั้น<br />

จึงขูดเสนใยเชื้อราใสลงในนํ้<br />

ากลั่นซึ่งฆาเชื้อแลวจํ<br />

านวน 3 มิลลิลิตร และนํ าไปเขยาบนเครื่องเขยา<br />

(Vortex mixer) เปนเวลา 2 นาที กอนทํ าการนับจํ านวน conidia โดยใช Haemacytometer นับ<br />

ภายใตกลองจุลทรรศน (phase contrast microscope) ที่กํ<br />

าลังขยาย 400 เทา และปรับระดับ<br />

ความเขมขนของนํ้<br />

า conidia ใหได 1.0x10 7 conidia/ลูกบาศกมิลลิลิตร กอนที่จะใช<br />

micropipette ดูดนํ้<br />

า conidia จํ านวน 100 ไมโครลิตรลงบนจานเลี้ยงเชื้อบรรจุอาหาร<br />

MEA และ<br />

เกลี่ยใหทั่ว<br />

นํ าจานเลี้ยงเชื้อไปบมในตูควบคุมอุณหภูมิที่<br />

27±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3% เปนเวลา 7 วัน เมื่อครบกํ<br />

าหนดจึงใช cork borer ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 เซนติเมตร<br />

เจาะชิ้นวุ<br />

น และนํ าชิ้นวุนซึ่งมีเสนใยเชื้อราเจริญเต็มแผนมาควํ่<br />

าลงบริเวณกึ่งกลางของจานเลี้ยงเชื้อ<br />

ที่บรรจุอาหาร<br />

MEA จํ านวน 30 มิลลิลิตร จานละ 1 แผน และนํ าจานเลี้ยงเชื้อไปบมในตูควบคุม<br />

อุณหภูมิที่<br />

27±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3% (ทํ าการทดลอง 15 จาน/สายพันธุ)<br />

วัดขนาดเสนผานศูนยกลางของโคโลนีเมื่อครบกํ<br />

าหนด 7, 14, 21 และ 28 วัน พรอมทั้งจด<br />

บันทึกขอมูลเกี่ยวกับลักษณะของเชื้อ<br />

เชน สีของโคโลนี, รูปรางลักษณะของโคโลนี, การเกิด clear<br />

zone, การเกิดหยดนํ้<br />

าบนโคโลนี, และการสราง synnemata เปนตน นํ าขอมูลที่ไดมาจัดกลุมเสน<br />

ผานศูนยกลางของโคโลนีเพื่อหาความสัมพันธ<br />

ตามคา Quantiles โดยใชโปรแกรม SAS<br />

2.2 การศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count และ viable plate count<br />

ศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count และ viable plate count ของเชื้อราที่รวบ<br />

รวมได โดยทํ าการเลี้ยงเชื้อราเหมือนขอ<br />

2.1 เปนเวลา 7 วัน จากนั้นจึงใช<br />

cork borer เจาะชิ้นวุน<br />

ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 เซนติเมตร นํ าไปวางควํ่<br />

าหนาลงบนจานเลี้ยงเชื้อที่มีอาหาร<br />

MEA<br />

จํ านวน 30 มิลลิลิตร และนํ าไปบมในตูที่อุณหภูมิ<br />

27±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3%<br />

เปนเวลา 10 วัน (ทํ าการทดลอง 3 จาน/สายพันธุ)<br />

เมื่อครบกํ<br />

าหนด 10 วัน ทํ าการวัดขนาดเสน<br />

ผานศูนยกลางเพื่อหาพื้นที่โคโลนี<br />

และศึกษาจํ านวน conidia โดยนํ าโคโลนีจากแตละจานเลี้ยงเชื้อ<br />

มาแยกใสในหลอดทดสอบพลาสติกขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 เซนติเมตร ยาว 11.5 เซนติเมตร<br />

บรรจุนํ ากลั ้ ่นบริสุทธิ์ซึ่งผานการฆาเชื้อแลวจํ<br />

านวน 5 มิลลิลิตร ผสม 0.05% Tween 80 ในอัตรา<br />

6 หยด/นํ้<br />

า 100 มิลลิลิตร และนํ าไปเขยาบนเครื่องเขยาเปนเวลา<br />

2 นาที กอนที่จะทํ<br />

าการนับ<br />

จํ านวน conidia โดยใช Haemacytometer นับภายใตกลองจุลทรรศนชนิด phase contrast ที่กํ<br />

าลัง<br />

30


ขยาย 400 เทา (direct count) และบันทึกจํ านวน conidia เริ่มตน<br />

จากนั้นทํ<br />

าการเจือจางนํ้<br />

า<br />

conidia ลงเปนลํ าดับ (serial dilution) ทํ าการทดสอบการงอกของ conidia โดยใชนํ้<br />

า conidia ที่<br />

ทราบลํ าดับของการเจือจางที่แนนอน<br />

จํ านวน 100 ไมโครลิตร เกลี่ยบนจานเลี้ยงเชื้อที่บรรจุ<br />

อาหาร MEA และนํ าไปบมในตูที่อุณหภูมิ<br />

27±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3% เปน<br />

เวลา 3 วัน (ทํ าการทดลอง 6 จาน/สายพันธุ)<br />

ตรวจนับจํ านวนโคโลนีที่ขึ้นบนจานเลี้ยงเชื้อ<br />

(viable plate count) โดยใชปากกานับโคโลนี (Manostat ® colony counter) รุน<br />

81-520-000<br />

นับภายใตกลองจุลทรรศน (stereo microscope) และคํ า นวนจํ านวนโคโลนีตอหนวยพื้นที่<br />

1 ตา<br />

รางเซนติเมตร เพื่อเปรียบเทียบกับจํ<br />

านวน conidia เริ่มตน<br />

ซึ่งนับโดยใช<br />

Haemacytometer และ<br />

นับจากโคโลนีที่สามารถเจริญในอาหาร<br />

MEB อายุ 3 วัน นํ าขอมูลมาทํ าการจัดกลุมเพื่อหาความ<br />

สัมพันธของพื้นที่โคโลนี,<br />

จํ านวน conidia ที่ไดจากทั้งสองวิธี<br />

ตามคา Quantiles โดยใชโปรแกรม<br />

SAS<br />

2.3 การศึกษาโครงสรางของเสนใยและ conidia<br />

นํ าเชื้อราที่รวบรวมไดมาเลี้ยงบนแผนสไลด<br />

(slide culture) เพื่อศึกษาลักษณะโครง<br />

สรางของเสนใยและ conidia โดยเตรียมวุนอาหาร<br />

MEA ใหมีความหนาไมเกิน 1 มิลลิเมตร ตัด<br />

ใหไดขนาด 0.5x0.5 เซนติเมตร วางบนกึ่งกลางของแผนสไลด<br />

จากนั้นใชเข็มเขี่ยเชื้อสะกิดเอา<br />

เสนใยมาวางบริเวณกึ่งกลางแผนวุนแตละดานจนครบทั้ง<br />

4 ดาน กอนที่จะนํ<br />

าแผนกระจกปดสไลด<br />

มาวางทับลงบนแผนวุนอาหาร<br />

นํ าแผนสไลดไปวางในจานเลี้ยงเชื้อซึ่งมีกระดาษฟางชุมนํ้<br />

ารองอยู<br />

กนจาน โดยมีไมจิ้มฟนที่ผานการฆาเชื้อแลวรองใตแผนสไลดเพื่อปองกันไมใหนํ้<br />

าในจานเลี้ยงเชื้อ<br />

ทวมแผนสไลด (ภาพที่<br />

7) นํ าจานดังกลาวไปบมในตูเลี้ยงเชื้อที่อุณหภูมิ<br />

27±1 องศาเซลเซียส<br />

ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3% และทํ าการเก็บเสนใยของเชื้อราในวันที่<br />

4 และ 7 โดยนํ าแผนกระจก<br />

ปดสไลดมาวางควํ่<br />

าลงบนแผน สไลดสะอาดซึ่งมี<br />

lactophenol ผสม methylene blue 0.1% เปน<br />

mounting media จากนั้นนํ<br />

าแผนสไลดใสถาดไปตากไวที่อุณหภูมิหอง<br />

เมื่อตัวอยางแหงดีแลวจึง<br />

นํ าเชื้อราที่ไดมาศึกษาลักษณะโครงสรางของเสนใยภายใตกลองจุลทรรศนชนิด<br />

phase contrast ที่<br />

กํ าลังขยาย 400 เทา ทํ าการวัดระยะหางระหวาง phialide, ความยาวของ phialide และขนาดของ<br />

conidia โดยใชโปรแกรม Scion Image และนํ าขอมูลที่ไดมาทํ<br />

าการจัดกลุมเพื่อหาความสัมพันธ<br />

ตามคา Quantiles โดยใชโปรแกรม SAS ในการวิเคราะห<br />

31


ภาพที่<br />

7 การทํ า slide culture เพื่อศึกษาโครงสรางของเสนใยและ<br />

conidia<br />

3. การเจริญเติบโตของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

นํ าเชื้อราที่รวบรวมไดมาเลี้ยงในจานเลี้ยงเชื้อโดยเกลี่ยใหทั่วจาน<br />

ตามวิธีการในขอ 2.1<br />

เปนเวลา 7 วัน (เชื้อละ<br />

3 จาน) จากนั้นจึงขูดเอาสวนของเสนใยจากทั้ง<br />

3 จานเลี้ยงเชื้อ<br />

ใสลงใน<br />

หลอดทดสอบพลาสติกขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 เชนติเมตร ยาว 11.5 เซนติเมตร บรรจุนํ้<br />

า<br />

กลั่นบริสุทธิ์ซึ่งผานการฆาเชื้อแลวจํ<br />

านวน 10 มิลลิลิตร ผสม 0.05% Tween 80 ในอัตรา 6<br />

หยด/นํ า ้ 100 มิลลิลิตร เขยาบนเครื่องเขยาเปนเวลา<br />

1 นาที จากนั้นจึงดูดนํ้<br />

า conidia ผสมเสน<br />

ใยจํ านวน 5 มิลลิลิตรใสลงในขวดกนชมพู<br />

(erlenmeyer flask) ขนาด 250 มิลลิลิตร ซึ่งบรรจุ<br />

อาหาร Malt extract broth (MEB) จํ านวน 50 มิลลิลิตร ปรับคาความเปนกรด-ดาง (pH) ของ<br />

อาหารเหลวเทากับ 6.5 กอนที่จะนํ<br />

าไปนึ่งฆาเชื้อในหมอนึ่งความดันดวยความดันไอนํ้<br />

าที่<br />

15<br />

ปอนด/ตารางนิ้ว<br />

อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส เปนเวลา 15 นาที และนํ าไปบมบนตูเขยา<br />

(rotary shaker) ซึ่งควบคุมอุณหภูมิไวที่<br />

27±1 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ<br />

65±3% เขยา<br />

ดวยความเร็ว 150 รอบตอนาทีเปนเวลา 4 วัน (ภาพที่<br />

8) เมื่อครบกํ<br />

าหนดจึงทํ าการกรองมวล<br />

ชีวภาพ (fungal biomass) ออกจากอาหารเหลวโดยใชกรวยกรอง (Buchner funnel) ซึ่งมี<br />

กระดาษกรอง Whatman ® เบอร 1 ที่ชั่งนํ้<br />

าหนักแลวรองรับมวลชีวภาพ (ภาพที่<br />

9) กอนที่จะนํ<br />

าไป<br />

อบในตูอบแหง<br />

(hot air oven) ที่อุณหภูมิ<br />

40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 24 ชั่วโมง<br />

เพื่อนํ<br />

ามาชั่ง<br />

นํ าหนักแหง ้ และทํ าการวัดความเปนกรด-ดางของอาหารเหลวภายหลังการเลี้ยงเชื้อรา<br />

32


ภาพที่<br />

8 การเลี้ยงเชื้อราบนตูเขยา<br />

(rotary shaker)<br />

ภาพที่<br />

9 การกรองมวลชีวภาพออกจากอาหารเหลวโดยใชกรวยกรอง (Buchner funnel)<br />

33


4. การศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

4.1 ประสิทธิภาพของ crude filtrate<br />

นํ า crude filtrate ที่ไดจากการเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลวและผานการกรองเอามวลชีว<br />

ภาพออกหมดแลว ซึ่งเก็บไวในตูแชแข็งที่อุณหภูมิ<br />

–20 องศาเซลเซียส (ขอ 3) มากรองอีกรอบ<br />

ดวยกระดาษกรองชนิดพิเศษ (cellulose acetate) ขนาด 0.45 ไมครอน เสนผานศูนยกลาง 2.5<br />

เซนติเมตร เพื่อปองกันไมใหมีเสนใยและ<br />

conidia ปะปนอยูใน<br />

crude filtrate (ภาพที่<br />

10) จาก<br />

นั้นจึงนํ<br />

า crude filtrate ที่ผานการกรองละเอียดแลวจํ<br />

านวน 20 ไมโครลิตร ฉีดเขาไปบริเวณขา<br />

เทียมคูแรกของหนอนกระทูผัก (Spodoptera litura (Fabricius)) วัย 4 โดยใชเครื่อง<br />

Microapplicator รุน<br />

ISCO (ภาพที่<br />

11) (ทํ าการทดลอง 10 ตัว/สายพันธุ)<br />

หนอนในชุดควบคุม<br />

จะไดรับการฉีดอาหารเหลวตัวละ 20 ไมโครลิตร จากนั้นนํ<br />

าหนอนที่ไดรับสารทดสอบแลวไปเลี้ยง<br />

ในอาหารเทียม (ภาคผนวก) ที่อุณหภูมิหอง<br />

ทํ าการบันทึกการเปลี่ยนแปลงของหนอนทุก<br />

2 วันจน<br />

กระทั่งเปนตัวเต็มวัย<br />

(ภาพที่<br />

12 และ 13) ทํ าการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารพิษแตละไอ<br />

โซเลทโดยคํ านวณจากเปอรเซนตการตายของหนอน, ดักแดผิดปกติ, ตัวเต็มวัยผิดปกติ และ<br />

ดักแดที่ไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได<br />

ภาพที่<br />

10 การกรอง crude filtrate ผานกระดาษกรองชนิดพิเศษ<br />

34


ภาพที่<br />

11 การทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อรา<br />

ก) เครื่อง<br />

Microapplicator ข) วิธีการฉีดหนอน และ<br />

ค) ภาพขยายการฉีด crude filtrate เขาบริเวณขาเทียมคูแรกของหนอน<br />

ก<br />

ข<br />

ค<br />

35


ภาพที่<br />

12 การเลี้ยงหนอนที่ไดรับสารทดสอบในอาหารเทียม<br />

ภาพที่<br />

13 สภาพการเลี้ยงหนอนที่ไดรับสารทดสอบในหองทดลอง<br />

36


4.2 ประสิทธิภาพของ crude filtrate เขมขน<br />

สุ มเลือกเชื้อรา<br />

จํ านวน 4 ไอโซเลทมาทํ าการเพิ่มความเขมขนของสารพิษ<br />

โดยเลี้ยงเชื้อ<br />

ราแตละสายพันธุในอาหารเหลวตามวิธีที่กลาวในขอ<br />

3 (ทํ าการทดลองสายพันธุละ<br />

3 ขวด) จาก<br />

นั้นทํ<br />

าการกรองเอาเฉพาะสวนของ crude filtrate มารวมกัน เมื่อจดบันทึกปริมาตรของ<br />

crude<br />

filtrate ของเชื้อราแตละไอโซเลทแลว<br />

จึงนํ า crude filtrate ไปทํ าการตกตะกอนโปรตีนโดยแชใน<br />

เกลือ ammonium sulphate เขมขน 90% (ภาพที่<br />

14ก) จนกระทั่งเกลือ<br />

ammonium sulphate<br />

ละลายหมดจึงนํ าไปปนดวยเครื่อง<br />

centrifuge ที่ความเร็ว<br />

15,000 รอบ/นาที อุณหภูมิ 4 องศา<br />

เซลเซียส เปนเวลา 15 นาที จากนั้นจึงเท<br />

crude filtrate ออกใหเหลือเฉพาะตะกอนโปรตีน ทํ าการ<br />

ละลายตะกอนโปรตีนดวยนํ้<br />

ากลั่น<br />

โดยจะใสนํ้<br />

ากลั่นในปริมาณที่ตะกอนโปรตีนละลายไดเทานั้น<br />

และนํ าตะกอนโปรตีนที่ละลายอยูในนํ้<br />

ากลั่นไปทํ<br />

าการแยกเกลือออก (desalted) โดยวิธี dialysis<br />

เปนเวลา 2 วันเพื่อใหมั่นใจวาไมมีเกลือเหลืออยู<br />

(ภาพที่<br />

14ข) จากนั้นจึงนํ<br />

าสารละลายของ<br />

โปรตีนและนํ ากลั ้ ่นไปกรองดวยกระดาษกรองชนิดพิเศษขนาด 0.45 ไมครอน เสนผานศูนยกลาง<br />

2.5 เซนติเมตร และนํ าไปทํ าการทดสอบกับหนอนกระทูผัก<br />

วัย 4 ตามวิธีการในขอ 4.1 ทํ าการ<br />

เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารพิษใน crude filtrate และ crude filtrate เขมขนในแตละไอโซ<br />

เลทโดยคํ านวณจากเปอรเซนตการตายของหนอน, ดักแดผิดปกติ, ตัวเต็มวัยผิดปกติ และดักแดที่<br />

ไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได<br />

ก ข<br />

ภาพที่<br />

14 การเพิ่มความเขมขนของ<br />

crude filtrate<br />

ก) การตกตะกอนโปรตีนดวยเกลือ ammonium sulphate 90%<br />

ข) การแยกเกลือออกจากตะกอนโปรตีน (desalted) โดยวิธี dialysis<br />

37


5. สถานที่ทํ<br />

าการทดลอง<br />

6. ระยะเวลาในการทดลอง<br />

สถานที่และระยะเวลาทํ<br />

าการศึกษา<br />

1. อํ าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี<br />

2. ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เริ่มทดลอง<br />

เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2544<br />

สิ้นสุดการทดลอง<br />

เดือน มีนาคม พ.ศ. 2547<br />

38


ผลการทดลองและวิจารณ<br />

1. การสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช<br />

1.1 การเก็บตัวอยางเชื้อรา<br />

จากการสํ ารวจและเก็บตัวอยางเชื้อราตั้งแตเดือนพฤศจิกายน<br />

2544 - พฤศจิกายน<br />

2545 โดยใชแวนขยายขนาด 15-20 เทาสองดูบนใบพืช สวนมากจะพบไรสี่ขาอยูรวมกันเปน<br />

กลุ มๆ และมีซากไรปะปนอยูกับไรที่มีชีวิตดวย<br />

ซากของไรสี่ขามีขนาดเล็กมาก<br />

จึงยากที่จะมองเห็น<br />

ไดดวยตาเปลา ซากไรบางซากมีเสนใยแทงทะลุผนังลํ าตัวออกมาเปนเสนยาวๆ ซากไรสี่ขาที่มีเชื้อ<br />

ราเขาทํ าลายมักมีสีเหลืองเขมจนถึงสีนํ้<br />

าตาล ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

Muma et al. (1961);<br />

Baker and Neunzig (1968) ที่พบวาไรสี่ขาจะมีสีเขมขึ้นเมื่อถูกเชื้อราเขาทํ<br />

าลาย ซากไรที่พบมี<br />

ลักษณะแหงติดอยูตามผิวใบพืช<br />

เมื่อนํ<br />

าซากไรสี่ขามาตรวจภายใตกลองจุลทรรศน<br />

จะเห็นวามี<br />

เสนใยของเชื้อราแทงทะลุผนังลํ<br />

าตัวออกทุกทิศทางแตบางซากก็ไมมีเสนใยของเชื้อราปรากฏให<br />

เห็นภายนอกลํ าตัว<br />

จากการเก็บตัวอยางไรศัตรูพืชที่อํ<br />

าเภอทองผาภูมิเปนเวลา 1 ป สามารถเก็บตัวอยาง<br />

ซากไรไดรวมทั้งสิ้น<br />

212 ตัวอยาง แบงออกเปนไรสี่ขา<br />

209 ตัวอยาง และไรแมงมุม 5 ตัวอยาง<br />

(ตารางที่<br />

2) ไรแมงมุมที่ถูกเชื้อราเขาทํ<br />

าลายมีทั้งระยะตัวออนและตัวเต็มวัย<br />

จากตัวอยางไรแมง<br />

มุมที่รวบรวมไดพบวาตัวออนมักถูกเชื้อราเขาทํ<br />

าลายมากกวาตัวเต็มวัย<br />

ผลการสํ ารวจเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไร พบเชื้อราทํ<br />

าลายไรสี่ขามากที่สุด<br />

ซึ่งตรงกับการรายงาน<br />

ของ Baker and Neunzig (1968); McCoy and Selhime (1977); Gerson et al. (1979);<br />

Samson and McCoy (1982) ที่รายงานการคนพบเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii Fisher ทํ าลาย<br />

ไรสี่ขาบนใบพืชหลายชนิดในสภาพธรรมชาติ<br />

สวนรายงานการคนพบเชื้อราทํ<br />

าลายไรแมงมุมใน<br />

ธรรมชาตินั้นมีนอยมาก<br />

ในป ค.ศ. 1977 McCoy and Selhime ไดรายงานการสํ ารวจพบเชื้อรา<br />

H. thompsonii จากไรแมงมุม 3 ชนิดในวงศ Tetranychidae ที่แยกไดจากตนสม<br />

สาเหตุที่พบเชื้อ<br />

รา H. thompsonii ลงทํ าลายไรสี่ขามากกวาไรแมงมุม<br />

อาจเนื่องจากไรสี่ขามีขาอยูทางดานหนาของ<br />

ลํ าตัว เมื่อไรเดินจะใชวิธีลากลํ<br />

าตัวมาตามพื้นผิวใบหรือกิ่งกานพืช<br />

ดังนั้นโอกาสที่ผนังลํ<br />

าตัวของไร<br />

สี่ขาจะสัมผัสกับ<br />

conidia ของเชื้อราซึ่งอยูบนกานชูขนาดสั้นจึงมีมาก<br />

นอกจากนั้นไรสี่ขายังมีผนัง<br />

ลํ าตัวที่บาง<br />

และบริเวณลํ าตัวของไรสี่ขาประกอบดวยปลองจํ<br />

านวนมากเรียงติดตอกัน ระหวาง<br />

ปลองจะเปนผนังลํ าตัวที่ออน<br />

ทํ าให conidia ของเชื้อราสามารถงอก<br />

germ tube แทงผานผนังลํ า<br />

ตัวไดงายขึ้น<br />

McCoy (1985); Veen (1966) กลาววา conidia ของเชื้อราเปนสวนสํ<br />

าคัญในการ<br />

39


กอโรค และการเขาทํ าลายของเชื้อราสวนใหญจะเขาทางผนังลํ<br />

าตัว ดังนั้นเมื่อผนังลํ<br />

าตัวของไรสี่ขา<br />

มีโอกาสสัมผัสกับ conidia ของเชื้อราไดมากกวาไรแมงมุม<br />

จึงมีโอกาสเกิดโรคไดมากกวาไรแมง<br />

มุม<br />

ไรแมงมุมมีขนยาวตามลํ าตัวและมีขายาว เวลาเดินจึงทํ าใหลํ าตัวถูกยกขึ้นสูงจากผิวใบ<br />

ทํ าให conidia ไมมีโอกาสที่จะติดกับผนังลํ<br />

าตัวมากนัก ประกอบกับ conidia ของเชื้อราติดอยูบน<br />

กานชูสั้นๆ<br />

และไมสูงพอที่จะชวยให<br />

conidia เกาะติดผนังลํ าตัวไรแมงมุมไดสะดวก จึงทํ าให<br />

โอกาสที่<br />

conidia จะเกาะติดที่ผนังลํ<br />

าตัวนอยลงดวย นอกจาก conidia จะเกาะติดตามปลองขา<br />

ซึ่งก็มีโอกาสนอย<br />

ดวยเหตุนี้จึงพบเชื้อราที่ทํ<br />

าลายไรแมงมุมในธรรมชาตินอยกวาไรสี่ขา<br />

อํ าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี มีสภาพอากาศที่แตกตางกันในแตละฤดู<br />

ทํ าให<br />

ปริมาณไรและเชื้อราที่พบแตกตางกัน<br />

ในชวงฤดูรอนอากาศจะรอนมาก อุณหภูมิในชวงกลางวัน<br />

และกลางคืนแตกตางกันมาก โดยเดือนที่มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดคือเดือนเมษายน<br />

ซึ่งมีอุณหภูมิ<br />

เฉลี่ยสูงสุด<br />

39 องศาเซลเซียส ตํ่<br />

าสุด 21 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธเฉลี่ย<br />

86% จาก<br />

การเก็บตัวอยางในชวงฤดูรอน (เดือนมีนาคม-พฤษภาคม) พบซากไรที่ถูกเชื้อราทํ<br />

าลายจํ านวน<br />

59 ตัวอยาง (ตารางที่<br />

2) ซึ่งจากสภาพอากาศในชวงกลางวันนาจะทํ<br />

าใหพบเชื้อราในปริมาณนอย<br />

แตเนื่องจากชวงกลางคืนมีอุณหภูมิตํ่<br />

าและปริมาณความชื้นสูง<br />

ซึ่งเหมาะสมตอการเจริญเติบโต<br />

ของเชื้อรา<br />

จึงทํ าใหพบเชื้อราทํ<br />

าลายไรในปริมาณมากกวาที่ควร<br />

ในฤดูฝนมีฝนตกชุกมาก ปริมาณนํ้<br />

าฝนที่วัดไดสูงสุดคือ<br />

411 มิลลิเมตร (เดือน<br />

สิงหาคม) ในชวงฤดูฝนนี้จะมีฝนตกตลอดทั้งวัน<br />

ทํ าใหใบไมเปยกชื้น<br />

ตัวไรจะติดอยูตามหยดนํ้<br />

า<br />

จึงไมสามารถมองเห็นไรและเชื้อราได<br />

ถึงแมวาในชวงฤดูฝนจะมีความชื้นในบรรยากาศสูงมาก<br />

(มากกวา 90%) ซึ่งเหมาะตอการเขาทํ<br />

าลายของเชื้อรา<br />

แตการเก็บตัวอยางเปนไปไดยาก จึงทํ าให<br />

พบเชื้อรานอย<br />

ดังจะเห็นไดจากจํ านวนตัวอยางไรที่เก็บไดในเดือนกรกฎาคม,<br />

สิงหาคม และ<br />

กันยายน ซึ่งเก็บตัวอยางไรที่ถูกเชื้อราทํ<br />

าลายไดเพียง 5, 5 และ7 ตัวอยางตามลํ าดับ<br />

อากาศในฤดูหนาวคอนขางเย็นและมีความชื้นสูง<br />

เดือนที่มีอุณหภูมิตํ่<br />

าสุดคือเดือน<br />

มกราคม ซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยตํ่<br />

าสุด 16 องศาเซลเซียส และสูงสุด 33 องศาเซลเซียส ความชื้น<br />

สัมพัทธ 92% สภาพอากาศเชนนี้เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

ทํ าใหการเก็บตัวอยาง<br />

ในชวงฤดูหนาวพบซากไรที่ถูกเชื้อราเขาทํ<br />

าลายมาก โดยเดือนที่พบมากที่สุดคือเดือนกุมภาพันธ<br />

ซึ่งเก็บตัวอยางไรที่มีเชื้อราไดถึง<br />

44 ตัวอยาง<br />

40


ตารางที่<br />

2 Number of dead mite samples collected at Amphoe Thong Pha Phum,<br />

Kanchanaburi Province during November 2001-November 2002<br />

Collecting date No. Dead<br />

mite samples<br />

Mite families<br />

November 2001 8 Eriophyidae, Diptilomiopidae and Tetranychidae<br />

December 2001 17 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

January 2002 21 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

February 2002 44 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

March 2002 21 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

April 2002 13 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

May 2002 10 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

June 2002 15 Eriophyidae และ Diptilomiopidae<br />

July 2002 5 Eriophyidae, Diptilomiopidae and Tetranychidae<br />

August 2002 5 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

September 2002 7 Eriophyidae and Diptilomiopidae<br />

October 2002 25 Eriophyidae, Diptilomiopidae and Tetranychidae<br />

November 2002 21 Eriophyidae, Diptilomiopidae and Tetranychidae<br />

จากการวิเคราะหปริมาณตัวอยางที่เก็บไดพบวาในชวงเดือนตุลาคม-มีนาคม<br />

มีปริมาณ<br />

ไรที่ถูกทํ<br />

าลายมากที่สุด<br />

ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

อังศุมาลย (2543ข) ซึ่งทํ<br />

าการสํ ารวจไรในภาค<br />

กลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย และพบวาเชื้อราชนิดเดียวกันนี้มีการระบาดมากในชวง<br />

เดือนตุลาคม–มกราคมของทุกปที่ทํ<br />

าการสํ ารวจ แตเนื่องจากพื้นที่ในจังหวัดกาญจนบุรีมีความชื้น<br />

สูงในชวงฤดูหนาวและมีอากาศที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

จึงทํ าใหพบการระบาด<br />

ของเชื้อราในเดือนกุมภาพันธและมีนาคมดวย<br />

41


1.2 การแยกและวิเคราะหชนิดของเชื้อรา<br />

ผลจากการนํ าตัวอยางซากไรที่คาดวาจะมีเชื้อราอยูจํ<br />

านวน 212 ตัวอยาง มาทํ าการแยก<br />

เชื้อราที่ทํ<br />

าใหเกิดโรค สามารถแยกเชื้อใหบริสุทธิ์ไดทั้งหมด<br />

114 ไอโซเลท โดยเปนเชื้อที่แยกได<br />

จากไรสี่ขา<br />

109 ไอโซเลท และจากไรแมงมุม 5 ไอโซเลท เมื่อทํ<br />

าการวิเคราะหชนิดของเชื้อรา<br />

พบ<br />

วาเปนเชื้อ<br />

Hirsutella thompsonii var. synnematosa ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

Samson et al.<br />

(1980) ที่รายงานวา<br />

มีเฉพาะสายพันธุ<br />

synnematosa เทานั้นที่มีถิ่นกํ<br />

าเนิดอยูในแถบรอนเชื้อรา<br />

พวกนี้เจริญเติบโตคอนขางชาจึงตองใชเวลานานในการที่จะแยกเชื้อใหบริสุทธิ์<br />

การทดลองเก็บรักษาเชื้อราที่บริสุทธิ์ไวในหลอดอาหารผิวลาดเอียง<br />

(slant culture), ใน<br />

paraffin oil และเก็บโดยวิธี lyophilization พบวาเชื้อราสามารถเจริญไดดีเมื่อทํ<br />

าการเก็บรักษา<br />

ดวยวิธีการตางๆ ทั้ง<br />

3 วิธี การเก็บเชื้อราในหลอดอาหารผิวลาดเอียง<br />

(ภาพที่<br />

15) เปนวิธีที่<br />

สะดวกที่สุด<br />

ไมตองใชคาใชจายมากนัก แตจะทํ าใหเสียเวลาในการตอเชื้อบอยๆ<br />

สวนการเก็บเชื้อ<br />

ราใน paraffin oil (ภาพที่<br />

16ก) เปนการลด activity ของเชื้อราซึ่งอาจทํ<br />

าใหเชื้อสูญเสียความ<br />

สามารถในการสราง conidia ได และอัตราการเจริญเติบโตอาจลดลงบาง จากการทดสอบการ<br />

งอกของเชื้อราที่เก็บรักษาใน<br />

paraffin oil พบวาสามารถเก็บรักษาเชื้อรา<br />

H. thompsonii ไวใน<br />

paraffin oil ไดประมาณ 1 ป สวนการเก็บเชื้อราโดยวิธี<br />

lyophilization (ภาพที่<br />

16ข) พบวาเชื้อ<br />

มีอัตราการรอดชีวิตสูงมาก และมีรายงานวาสามารถที่จะเก็บไดเปนระยะเวลานานถึง<br />

10 ป อยาง<br />

ไรก็ดีการเก็บวิธีสุดทายนี้แมจะใหผลดีที่สุดเนื่องจากเชื้อราสามารถอยูรอดไดนานหลายป<br />

ไมตอง<br />

เสียเวลาในการตอเชื้อบอยๆ<br />

แตก็เปนวิธีที่เสียคาใชจายมากที่สุด<br />

และจํ าเปนตองมีเครื่องมือ<br />

เฉพาะในการทํ า lyophilzation ดวย<br />

42


ภาพที่<br />

15 การเก็บเชื้อราแบบ<br />

subculture ในหลอดอาหารผิวลาดเอียง<br />

ก ข<br />

ภาพที่<br />

16 การเก็บเชื้อราดวยวิธีการตางๆ<br />

ก) การเก็บเชื้อราภายใต<br />

paraffin oil<br />

ข) การเก็บเชื้อราในหลอด<br />

ampule ซึ่งเก็บโดยวิธี<br />

lyophilyzation<br />

43


1.3 การวิเคราะหชนิดของไรศัตรูพืช<br />

ผลการวิเคราะหตัวอยางของไรบนแผนสไลดจํ านวน 212 ตัวอยาง พบวาเปนไรสี่ขาที่<br />

อยูในวงศ<br />

Eriophyidae จํ านวน 69 ตัวอยาง และวงศ Diptiomiopidae จํ านวน 40 ตัวอยาง สวน<br />

ไรแมงมุมในวงศ Tetranychidae มีเพียง 5 ตัวอยางเทานั้น<br />

ไรสี่ขาเปนไรที่มีขนาดเล็กมาก<br />

ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา โดยมีลํ าตัวกวาง 50-<br />

70 ไมครอน และยาว 100-270 ไมครอน ลักษณะรูปรางของไรสี่ขาจะแตกตางกัน<br />

เชน คลายตัว<br />

หนอน (worm-like) หรือคลายกระสวย หัวปานทายแหลม (fusiform) และมีอวัยวะในการดูด<br />

อาหาร (chelicerae) สั้นมาก<br />

มีขา 2 คูติดทางสวนหนาของลํ<br />

าตัว บริเวณลํ าตัวของไรสี่ขาประกอบ<br />

ดวยปลองจํ านวนมากเรียงติดตอกัน ไรสี่ขาในวงศ<br />

Eriophyidae มีอวัยวะดูดอาหารสั้นและเหยียด<br />

ตรงไปขางหนา สวนวงศ Diptilomiopidae มีอวัยวะดูดอาหารคอนขางยาว บริเวณโคนหักงอลง<br />

เกือบเปนมุมฉากกับลํ าตัว (ภาพที่<br />

17) ไรสี่ขาที่พบบนพืชแตละชนิดมีสีแตกตางกันไป<br />

เชน ขาว<br />

เหลือง แดงใส มวงเขม ไรสี่ขาบางชนิดมี<br />

wax เกาะเปนแถวตามความยาวของลํ าตัวดวย ตัว<br />

อยางไรที่พบสวนมากจะดูดกินนํ้<br />

าเลี้ยงพืชอยูบริเวณใตใบโดยไมทํ<br />

าใหพืชเกิดอาการผิดปกติ และ<br />

มีเพียงสวนนอยที่ทํ<br />

าใหพืชแสดงอาการผิดปกติโดยทํ าใหเกิดปุมปมที่บริเวณดานหนาและใตใบ<br />

11 ตัวอยาง สวนไรที่กระตุนใหพืชสรางแผงขนกํ<br />

ามะหยี่<br />

(erinia) มีเพียง 5 ตัวอยางและทํ าให<br />

เกิดอาการสีสนิม (rust) ตามบริเวณที่ถูกทํ<br />

าลายมี 18 ตัวอยาง<br />

ไรแมงมุมเปนไรที่มีขนาดใหญกวาไรสี่ขา<br />

และสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา โดยมี<br />

ความยาวของลํ าตัวประมาณ 300-400 ไมครอน ลํ าตัวออนกลมหรือรูปไข สีของลํ าตัวแตกตาง<br />

กันเชน เหลือง เหลืองอมเขียว แดง ในธรรมชาติไมคอยพบการระบาดของไรแมงมุมมากนัก อาจ<br />

เปนไดวาสภาพพื้นที่ที่สํ<br />

ารวจมีความชื้นสัมพัทธคอนขางสูงตลอดเวลา<br />

จึงพบการแพรระบาดนอย<br />

เนื่องจากไรแมงมุมจะแพรกระจายไดดีในที่ที่อุณหภูมิสูงและความชื้นตํ่<br />

า Boudreaux (1963)<br />

รายงานวาอุณหภูมิที่ทํ<br />

าใหไรแมงมุมเจริญเติบโตอยางรวดเร็วคือ 24-29 องศาเซลเซียส นอกจาก<br />

นั้นความชื้นสัมพัทธก็เปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทํ<br />

าใหไรแมงมุมเกิดการระบาดไดโดย Chen et al.<br />

(1996) รายงานวาความชื้นสัมพัทธที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของไรแมงมุม<br />

Tetranychus<br />

truncatus Ehara คือ 67% และ Nickel (1960) รายงานวาที่ความชื้นสัมพัทธ<br />

20-30% จะทํ าให<br />

ไรแมงมุม Tetranychus urticae (Koch) มีการพัฒนาไดอยางรวดเร็วและผลิตไขไดมากกวาที่<br />

ความชื้นสัมพัทธ<br />

85-90% จากการสํ ารวจตัวอยางพบวาที่อํ<br />

าเภอทองผาภูมิมีความชื้นสัมพัทธ<br />

86-95% ซึ่งไมเหมาะสมตอการเจริญของไรแมงมุม<br />

จึงไมพบการระบาดของไรในกลุมนี้มากนัก<br />

นอกจากนั้นยังพบวามีตัวออนดวงและเพลี้ยไฟซึ่งเปนศัตรูธรรมชาติที่คอยควบคุมปริมาณของไร<br />

แมงมุมแพรกระจายอยูทั่วไปอีกดวย<br />

44


ก ข<br />

ภาพที่<br />

17 ไรสี่ขาในวงศ<br />

Eriophyidae และ Diptiomiopidae<br />

ก) ไรสี่ขาในวงศ<br />

Eriophyidae มีอวัยวะในการดูดอาหารสั้น<br />

(ศรชี้)<br />

และ<br />

ข) ไรสี่ขาในวงศ<br />

Diptiomiopidae มีอวัยวะในการดูดอาหารยาว<br />

45


1.4 การวิเคราะหชนิดของพืชอาศัย<br />

จากการสํ ารวจไรสี่ขาที่ถูกเชื้อราลงทํ<br />

าลาย พบไรสี่ขาแพรกระจายอยูบนพืชแทบทุกชนิด<br />

เชน ไมปา วัชพืช พืชไร พืชสวน และไมดอกไมประดับ รวมทั้งพืชเศรษฐกิจตางๆ<br />

(ตารางที่<br />

3)<br />

ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

อังศุมาลย (2543ข); Jeppson et al. (1975); Boczek et al.<br />

(1989); Keifer et al. (1982); Amrine et al. (2003) ที่ไดรายงานพืชอาศัยของไรสี่ขาไวเปน<br />

จํ านวนมาก สวนไรแมงมุมพบนอยมากไมวาจะเปนไรที่มีเชื้อราลงทํ<br />

าลายหรือไมก็ตาม<br />

การวิเคราะหตัวอยางพืชที่เก็บไวใน<br />

herbarium พบวามีความหลากชนิดมาก โดยเฉพาะ<br />

พืชปาซึ่งไมสามารถจํ<br />

าแนกชนิดไดเนื่องจากไมมีสวนของดอกและเมล็ด<br />

พืชอาศัยของไรแมงมุมที่<br />

ถูกเชื้อราเขาทํ<br />

าลายมีเพียง 4 ชนิดไดแก ขอย ผักหวาน มะดูก และขี้เหล็ก<br />

สวนพืชอาศัยของไรสี่<br />

ขาที่เก็บไดสวนใหญจะเปนไมผลตางๆ<br />

เชน กระทอน ลํ าไย ลิ้นจี่<br />

ขนุน เงาะ เปนตน (ตารางที่<br />

3)<br />

พืชอาศัยของไรแมงมุมจะแสดงอาการใบจุดสีขาว สวนพืชอาศัยของไรสี่ขาบางชนิดจะ<br />

แสดงอาการผิดปกติ เชนใบลิ้นจี่<br />

และกระทอนจะมีแผงขนกํ ามะหยี่อัดแนนอยูในสวนของใบที่โปง<br />

พอง และตนชะอมจะมีใบกอดกันเปนปม ชะอมบางตนที่มีไรระบาดมากใบจะเหลืองและรวงหลน<br />

ไปในที่สุด<br />

อยางไรก็ตามพืชสวนใหญไมแสดงอาการผิดปกติที่เกิดจากการดูดกินของไรสี่ขา<br />

เชน<br />

ขนุนปา เปลา และมะละกอ เปนตน<br />

46


ตารางที่<br />

3 Mites and host plants collected at Amphoe Thong Pha Phum Kanchanaburi, Province during November 2001-November 2002<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2191 Streblus asper Lour. Khoi Moraceae Tetranychidae Jok Gra Din Water Fall 10-Nov-01<br />

2196 Wendlandia sp. Unknown Rubiaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Nov-01<br />

2198 Crateva adansonii DC. Kum bok Capparaceae Eriophyidae Ban Tha Ma Duea 12-Nov-01<br />

2201 Unknown Unknown Sapindaceae Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Dec-01<br />

2203 Ichnocarpus frutescens (L.) W.T.Aiton Thao wan daeng Apocynaceae Diptilomiopidae Huai Pak Khok 8-Dec-01<br />

2204 Clerodendrum sp. Unknown Labiatae Eriophyidae Huai Pak Khok 8-Dec-01<br />

2205 Unknown Unknown Vitaceae Eriophyidae Huai Pak Khok 8-Dec-01<br />

2206 Unknown Unknown Leguminosae Eriophyidae Huai Pak Khok 8-Dec-01<br />

2208 Clerodendrum sp. Unknown Labiatae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Dec-01<br />

2209 Thunbergia laurifolia Lindl. Rang chuet Acanthaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 8-Dec-01<br />

2210 Bauhinia acuminata Linn. Kalong Caesalpinioideae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 8-Dec-01<br />

2212 Jasminum sp. Mali pa Oleaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Dec-01<br />

2214 Streblus asper Lour. Khoi Moraceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Dec-01<br />

2215 Mammea harmandii Kosterm. Saraphi dong Guttiferae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 9-Dec-01<br />

2217 Bauhinia purpurea Linn. Chong Kho Caesalpinioideae Eriophyidae Huai Pak Khok 19-Jan-02<br />

2219 Bambusa sp. Phai Gramineae Eriophyidae Huai Pak Khok 19-Jan-02<br />

2220 Thysanolaena maxima K. Ya mai kwat Gramineae Eriophyidae Huai Pak Khok 19-Jan-02<br />

47


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2222 Dimocarpus longan Lour. Lamyai Sapindaceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 20-Jan-02<br />

2223 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 21-Jan-02<br />

2229 Unknown Unknown Cucurbitaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 20-Jan-02<br />

2230 Croton oblongifolius Roxb Plao yai Euphorbiaceae Eriophyidae Huai Pak Khok 20-Jan-02<br />

2233 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 20-Jan-02<br />

2241 Combretum punctatum Blume. Sakae wan Combretaceae Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 4-Feb-02<br />

2242 Unknown Unknown Apocynaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 4-Feb-02<br />

2246 Acacia concinna (willd) DC. Sompoi Leguminosae Eriophyidae Ban Huai Khayang 5-Feb-02<br />

2247 Unknown Unknown Cucurbitaceae Diptilomiopidae Ban Pak Lum Pilog 5-Feb-02<br />

2259 Dimocarpus longan Lour. Lamyai Sapindaceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 5-Feb-02<br />

2262 Quisqualis indica Linn. Lep mue nang Combretaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 5-Feb-02<br />

2271 Artocarpus rigidus Blume. Khanun pa Moraceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 6-Feb-02<br />

2278 Siphonodon celastrineus Griff. Maduk Celastraceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 6-Feb-02<br />

2280 Colocasia esculenta (Linn.) Schott. Bon Araceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 6-Feb-02<br />

2282 Saccharum officinarum Linn. Oi Gramineae Eriophyidae Ban Phachem Mai 15-Mar-02<br />

2283 Pterocarpus macrocarpus Kurz Pradu Papilionoidae Eriophyidae Ban Phachem Mai 15-Mar-02<br />

2284 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 15-Mar-02<br />

48


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2286 Litsea monopetala (Roxb.) Pers. I men Lauraceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 15-Mar-02<br />

2291 Dimocarpus longan Lour. Lamyai Sapindaceae Eriophyidae Ban Rhi Pa 16-Mar-02<br />

2293 Litchi chinensis Sonn. Linchi Sapindaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 16-Mar-02<br />

2294 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 17-Mar-02<br />

2295 Aporosa villosa (Wall. ex Lindl.) Baill. Mueat lot Euphorbiaceae Diptilomiopidae Huai Pak Khok 17-Mar-02<br />

2296 Unknown Unknown Leguminosae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 17-Mar-02<br />

2300 Saccharum officinarum Linn. Oi Gramineae Eriophyidae Ban Huai Khayang 17-Mar-02<br />

2301 Bambusa sp. Phai Gramineae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 17-Mar-02<br />

2392 Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielson Cha niang Mimosoideae Eriophyidae Ban Rhi Pa 22-Apr-02<br />

2397 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Rhi Pa 22-Apr-02<br />

2398 Croton robustus Kurz. Plao Euphorbiaceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 22-Apr-02<br />

2399 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 22-Apr-02<br />

2405 Ficus racemosa Linn. Ma duea utum phon Moraceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 23-Apr-02<br />

2409 Thunbergia laurifolia Lindl. Rang chuet Acanthaceae Diptilomiopidae Ban Phachem Mai 23-Apr-02<br />

2425 Citrus maxima (Burm.f.) Merr Som o Rutaceae Eriophyidae Ban Rhi Pa 24-Apr-02<br />

2428 Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielson Cha niang Mimosoideae Eriophyidae Ban Rhi Pa 27-May-02<br />

2429 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 27-May-02<br />

49


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2430 Ficus racemosa Linn. Ma duea utum phon Moraceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 27-May-02<br />

2436 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 27-May-02<br />

2437 Citrus maxima (Burm.f.) Merr Som o Rutaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 27-May-02<br />

2438 Carica papaya Line. Malako Caricaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 27-May-02<br />

2443 Citrus maxima (Burm.f.) Merr Som o Rutaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 28-May-02<br />

2444 Citrus reticulata Blanco Som khieo wan Rutaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 28-May-02<br />

2450 Citrus maxima (Burm.f.) Merr Som o Rutaceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 28-May-02<br />

2455 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 16-Jun-02<br />

2456 Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielson Cha niang Mimosoideae Eriophyidae Ban Rhi Pa 16-Jun-02<br />

2457 Glochidion sp. Khrai mot Euphorbiaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2458 Archidendron jiringa (Jack) I.C.Nielson Cha niang Mimosoideae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2459 Litsea sp. Unknown Lanraceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2461 Jasminum sp. Mali pa Oleaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2462 Unknown Unknown Unknown Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2464 Unknown Unknown Euphorbiaceae Diptilomiopidae Ban Rhi Pa 30-Aug-02<br />

2465 Mammea harmandii Kosterm. Saraphi dong Guttiferae Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

2466 Glochidion sp. Khrai mot Euphorbiaceae Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 30-Jun-02<br />

50


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2475 Citrus maxima (Burm.f.) Merr Som o Rutaceae Eriophyidae Ban Huai Khayang 27-Jul-02<br />

2476 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Tetranychidae Ban Tha Ma Duea 27-Jul-02<br />

2477 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Tetranychidae Ban Tha Ma Duea 27-Jul-02<br />

2479 Siphonodon celastrineus Griff. Maduk Celastraceae Tetranychidae Ban Rhi Pa 28-Jul-02<br />

2480 Siphonodon celastrineus Griff. Maduk Celastraceae Eriophyidae Ban Rhi Pa 28-Jul-02<br />

2482 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Rhi Pa 30-Aug-02<br />

2485 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Phachem Mai 30-Aug-02<br />

2487 Morinda citrifolia Linn. Yoban Rubiaceae Diptilomiopidae Ban Tha Ma Duea 30-Aug-02<br />

2490 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Tha Ma Duea 30-Aug-02<br />

2493 Carica papaya Line. Malako Caricaceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 28-Sep-02<br />

2494 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 28-Sep-02<br />

2497 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Phachem Mai 28-Sep-02<br />

2502 Morinda citrifolia Linn. Yoban Rubiaceae Diptilomiopidae Ban Phachem Mai 28-Sep-02<br />

2505 Jasminum sp. Mali pa Oleaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 24-Oct-02<br />

2507 Pterocarpus macrocarpus Kurz Pradu Papilionoidae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 24-Oct-02<br />

2509 Unknown Unknown Euphorbiaceae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 24-Oct-02<br />

2510 Connarus sp. Thopthaep Connaraceae Diptilomiopidae Thong Pha Phum Natural Park 24-Oct-02<br />

51


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2513 Pterocarpus macrocarpus Kurz Pradu Papilionoidae Eriophyidae Thong Pha Phum Natural Park 24-Oct-02<br />

2515 Croton robustus Kurz. Plao Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Tha Ma Duea 25-Oct-02<br />

2519 Merremia vitifolia (Burm.f.) Hallier f. Chingcho lueang Convolvulaceae Eriophyidae Ban Tha Ma Duea 25-Oct-02<br />

2524 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Pak Lum Pilog 25-Oct-02<br />

2527 Carica papaya Line. Malako Caricaceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 25-Oct-02<br />

2528 Siphonodon celastrineus Griff. Maduk Celastraceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 25-Oct-02<br />

2532 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 25-Oct-02<br />

2533 Cassia siamea Lam. Khi lek Caesalpinioideae Diptilomiopidae Ban Pak Lum Pilog 26-Oct-02<br />

2534 Cassia siamea Lam. Khi lek Caesalpinioideae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 26-Oct-02<br />

2535 Cassia siamea Lam. Khi lek Caesalpinioideae Tetranychidae Ban Pak Lum Pilog 26-Oct-02<br />

2538 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Pak Lum Pilog 26-Oct-02<br />

2540 Garuga pinnata Roxb. Ta khram Burseraceae Diptilomiopidae Ban Tha Ma Duea 26-Oct-02<br />

2542 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Tha Ma Duea 26-Oct-02<br />

2544 Morinda citrifolia Linn. Yoban Rubiaceae Diptilomiopidae Ban Tha Ma Duea 26-Oct-02<br />

2545 Thunbergia laurifolia Lindl. Rang chuet Acanthaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 23-Nov-02<br />

2551 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Huai Khayang 23-Nov-02<br />

2555 Nephelium lappaceum Linn. Ngo Sapindaceae Eriophyidae Ban Pak Lum Pilog 23-Nov-02<br />

52


ตารางที่<br />

3 (ตอ)<br />

Isolates Host plant Common name Plant family Mite family Location Date<br />

2557 Syzygium malaccense Linn. Chomphu mamiaw Myrtaceae Diptilomiopidae Ban Pak Lum Pilog 23-Nov-02<br />

2559 Lagerstroemia sp. Salao Lythraceae Eriophyidae Huai Pak Khok 23-Nov-02<br />

2560 Unknown Unknown Unknown Eriophyidae Huai Pak Khok 23-Nov-02<br />

2562 Lagerstroemia cuspidata Wall. Ta bak Lythraceae Diptilomiopidae Suan Pa Thong Pha Phum 24-Nov-02<br />

2563 Sandoricum koetjape (Burm.f.) Merr. Krathon Meliaceae Diptilomiopidae Ban Phachem Mai 24-Nov-02<br />

2565 Aglaia sp. Unknown Meliaceae Eriophyidae Suan Pa Thong Pha Phum 24-Nov-02<br />

2566 Casearia grewiifolia Vent. Kruai pa Flacourtiaceae Diptilomiopidae Suan Pa Thong Pha Phum 24-Nov-02<br />

2568 Acacia pennata (L.) Willd. ssp. Cha om Mimosoideae Eriophyidae Ban Phachem Mai 24-Nov-02<br />

2569 Sauropus androgynus (L.) Merr. Phuk waan Euphorbiaceae Eriophyidae Ban Phachem Mai 24-Nov-02<br />

2573 Carica papaya Line. Malako Caricaceae Eriophyidae Suan Pa Thong Pha Phum 24-Nov-02<br />

2575 Morinda citrifolia Linn. Yoban Rubiaceae Diptilomiopidae Suan Pa Thong Pha Phum 24-Nov-02<br />

2576 Connarus sp. Thopthaep Connaraceae Eriophyidae Huai Pak Khok 24-Nov-02<br />

53


2. การเจริญเติบโตและลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

2.1 การเจริญเติบโตของเชื้อราบนวุนอาหาร<br />

ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ที่รวบรวมไดจํ<br />

านวน 114 ไอโซ<br />

เลท บนวุนอาหาร<br />

MEA โดยการวัดขนาดเสนผานศูนยกลางโคโลนีของเชื้อราอายุ<br />

7, 14, 21<br />

และ 28 วัน พบวาโคโลนีอายุ 7 วันมีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต<br />

0.07-1.36 เซนติเมตร จาก<br />

การทดลองสามารถแบงกลุมของเสนผานศูนยกลางโคโลนีออกเปน<br />

4 กลุมอยางมีนัยสํ<br />

าคัญทาง<br />

สถิติ โดยโคโลนีของเชื้อราจํ<br />

านวน 32 ไอโซเลทจะมีขนาดเล็ก 0.07-0.47 เซนติเมตร สวนกลุม<br />

โคโลนีที่มีขนาดใหญมีขนาด<br />

0.72-1.36 เซนติเมตรมีจํ านวน 27 ไอโซเลท เชื้อราไอโซเลท<br />

2296 เจริญเติบโตชาที่สุด<br />

(เสนผานศูนยกลาง 0.07 เซนติเมตร) สวนไอโซเลท 2458 เจริญเติบ<br />

โตเร็วกวาไอโซเลทอื่นๆ<br />

โดยมีเสนผานศูนยกลางของโคโลนีถึง 1.36 เซนติเมตร (ตารางที่<br />

4, ตา<br />

รางผนวกที่<br />

ก1)<br />

เมื่อโคโลนีอายุ<br />

14 วันจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต<br />

0.64-2.99 เซนติเมตร ใน<br />

จํ านวนไอโซเลทที่ศึกษาพบวา<br />

เชื้อราจํ<br />

านวน 29 ไอโซเลทเปนกลุมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง<br />

ของโคโลนีเล็กซึ่งมีขนาดเพียง<br />

0.64-1.26 เซนติเมตร และเชื้อราจํ<br />

านวน 28 ไอโซเลทโดยเปน<br />

เชื้อรากลุมที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางโคโลนีใหญคือ<br />

1.98-2.99 เซนติเมตร ไอโซเลท 2296<br />

ยังคงมีขนาดเล็กที่สุด<br />

(0.64 เซนติเมตร) และไอโซเลท 2560 มีขนาดใหญที่สุด<br />

(2.99<br />

เซนติเมตร) (ตารางที่<br />

5, ตารางผนวกที่<br />

ก1)<br />

เมื่อเชื้อรามีอายุ<br />

21 วันจะมีการขยายขนาดของโคโลนีมากขึ้น<br />

โดยมีเสนผานศูนยกลาง<br />

ตั้งแต<br />

0.94-4.37 เซนติเมตร เชื้อราจํ<br />

านวน 29 ไอโซเลทมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.94-<br />

2.21 เซนติเมตรซึ่งเปนกลุมที่มีขนาดโคโลนีเล็ก<br />

สวนกลุมที่มีขนาดโคโลนีใหญมี<br />

28 ไอโซเลท<br />

โดยมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 3.22-4.37 เซนติเมตร ไอโซเลท 2296 ยังคงมีขนาดเล็กที่สุด<br />

(0.94 เซนติเมตร) และไอโซเลท 2560 มีขนาดใหญที่สุด<br />

(4.37 เซนติเมตร) (ตารางที่<br />

6, ตา<br />

รางผนวกที่<br />

ก1)<br />

เมื่อโคโลนีอายุ<br />

28 วันจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต<br />

1.42-5.39 เซนติเมตร จาก<br />

การแบงกลุ มของโคโลนีที่มีขนาดแตกตางกันเปน<br />

4 กลุมนั้นพบวา<br />

กลุมเชื้อราที่มีขนาดโคโลนีเล็ก<br />

มีจํ านวน 29 ไอโซเลท ซึ่งมีเสนผานศูนยกลาง<br />

1.42-3.07 เซนติเมตร กลุมที่มีขนดใหญมี<br />

จํ านวน 28 ไอโซเลท โดยมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 4.22-5.39 เซนติเมตร ไอโซเลท 2296 มี<br />

54


ขนาดเล็กที่สุด<br />

(1.42 เซนติเมตร) และไอโซเลท 2392 มีขนาดใหญที่สุด<br />

(5.39 เซนติเมตร)<br />

(ตารางที่<br />

7, ตารางผนวกที่<br />

ก1)<br />

Samson et al. (1980) เลี้ยงเชื้อราสายพันธุ<br />

synnematosa ดวยอาหาร Malt Extract<br />

agar ที่อุณหภูมิ<br />

25 องศาเซลเซียส เปนเวลา 14 วัน พบวาโคโลนีมีขนาดเสนผานศูนยกลาง 2.0-<br />

2.5 เซนติเมตรซึ่งก็มีหลายไอโซเลทที่มีขนาดของโคโลนีใกลเคียงกับการรายงานของ<br />

Samson et<br />

al. (1980) เชน #2210, 2214, 2215, 2259, 2294, 2392, 2429, 2457 และ 2458<br />

เปนตน Rombach et al. (1986) เลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii สายพันธุ<br />

synnematosa ดวย<br />

อาหาร Sabouraud dextrose agar เปนเวลา 14 วันและวัดเสนผานศูนยกลางโคโลนีได 1-1.5<br />

เซนติเมตร ซึ่งใกลเคียงกับ<br />

ไอโซเลท 2196, 2198, 2201, 2203, 2208, 2209, 2212,<br />

2262, 2278 และ 2280 เปนตน<br />

เมื่อนํ<br />

าผลการวัดขนาดเสนผานศูนยกลางของโคโลนีเชื้อราอายุ<br />

7, 14, 21 และ 28 วัน<br />

มาคํ านวณหาอัตราการเจริญเติบโตของเชื้อเฉลี่ยในชวง<br />

1 วัน (Growth rate overall period) พบ<br />

วาเชื้อรา<br />

H. thompsonii ทั้ง<br />

114 ไอโซเลท มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันตั้งแต<br />

0.06-0.23<br />

เซนติเมตร โดยไอโซเลท 2296 และ 2540 มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันตํ่<br />

าที่สุดคือ<br />

0.06<br />

เซนติเมตร สวนไอโซเลท 2392 มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวันสูงที่สุดคือ<br />

0.23 เซนติเมตร<br />

เชื้อราจํ<br />

านวน 38 ไอโซเลทมีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยตอวัน<br />

0.15-0.17 เซนติเมตรสวนกลุมที่<br />

มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย<br />

0.13-0.14 และ 0.18-0.23 มีจํ านวน 24 ไอโซเลทเทากัน<br />

(ตารางที่<br />

8, ตารางผนวกที่<br />

ก1)<br />

55


ตารางที่<br />

4 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar<br />

plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 7 days<br />

Colony diameter (cm) Number of isolates<br />

0.07-0.47 32 (28.07%)<br />

0.48-0.56 26 (22.81%)<br />

0.56-0.72 29 (25.44%)<br />

0.72-1.36 27 (23.68%)<br />

ตารางที่<br />

5 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar<br />

plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 14 days<br />

Colony diameter (cm) Number of isolates<br />

0.64-1.26 29 (25.44%)<br />

1.27-1.6 28 (24.56%)<br />

1.61-1.97 29 (25.44%)<br />

1.98-2.99 28 (24.56%)<br />

56


ตารางที่<br />

6 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar<br />

plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 21 days<br />

Colony diameter (cm) Number of isolates<br />

0.94-2.21 29 (25.44%)<br />

2.22-2.63 29 (25.44%)<br />

2.64-3.21 28 (24.56%)<br />

3.22-4.37 28 (24.56%)<br />

ตารางที่<br />

7 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar<br />

plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Colony diameter (cm) Number of isolates<br />

1.42-3.07 29 (25.44%)<br />

3.08-3.62 28 (24.56%)<br />

3.63-4.21 29 (25.44%)<br />

4.22-5.39 28 (24.56%)<br />

57


ตารางที่<br />

8 Growth rate overall periods of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt<br />

extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Colony diameter (cm) Number of isolates<br />

0.06-0.12 28 (24.56%)<br />

0.13-0.14 24 (21.05%)<br />

0.15-0.17 38 (33.33 %)<br />

0.18-0.23 24 (21.05%)<br />

58


2191 2196 2198<br />

ภาพที่<br />

18 โคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii บนอาหาร MEA อายุ 28 วัน<br />

2201<br />

2203 2204 2205 2206<br />

2208 2209 2210<br />

2212<br />

2220 2222 2223<br />

2229<br />

2230 2241 2242<br />

2233<br />

59


ภาพที่<br />

18 (ตอ)<br />

2246 2247 2259 2262<br />

2271 2278 2280 2282<br />

2283 2284 2286 2291<br />

2293 2294 2295 2296<br />

2300 2301 2392<br />

2397<br />

60


ภาพที่<br />

18 (ตอ)<br />

2398 2399 2405 2409<br />

2425 2428 2429 2430<br />

2436 2437 2438 2443<br />

2444 2450 2455 2456<br />

2457 2458 2459 2461<br />

61


ภาพที่<br />

18 (ตอ)<br />

2462 2464 2465 2466<br />

2475 2476 2477 2479<br />

2480 2482 2485 2487<br />

2490 2493 2494 2497<br />

2502 2505 2507 2509<br />

62


ภาพที่<br />

18 (ตอ)<br />

2510 2513 2515 2519<br />

2524 2527 2528 2532<br />

2533 2534 2535 2538<br />

2540 2542 2544 2545<br />

2551 2555 2557 2559<br />

63


ภาพที่<br />

18 (ตอ)<br />

2560 2562 2563 2565<br />

2566 2568 2569 2573<br />

2575 2576<br />

64


ลักษณะโคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ทั้ง<br />

114 ไอโซเลทมีความแตกตางกันดังแสดง<br />

ในภาพที่<br />

18 โดยสามารถเปน 3 แบบตามลักษณะการยกของขอบโคโลนี คือ โคโลนีแบน (flat),<br />

โคโลนีฟูปานกลาง (moderate) และโคโลนีที่มีเสนใยพองฟูทํ<br />

าใหขอบของโคโลนียกสูงขึ้นจากพื้น<br />

ผิวมาก (elevate) (ภาพที่<br />

19) ลักษณะโคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa<br />

สวนใหญเปนแบบ moderate ซึ่งพบมากถึง<br />

50 ไอโซเลท สวนโคโลนีแบบ flat พบรองลงมาคือ<br />

44 ไอโซเลท และโคโลนีแบบ elevate พบนอยที่สุดคือ<br />

20 ไอโซเลท (ตารางที่<br />

9, ตารางผนวกที่<br />

ก2) McCoy and Kanavel (1969) เลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii ดวยอาหาร Sabouraud<br />

dextrose agar, Potato dextrose agar, V-8 juice agar และ Modified soil fungus medium เปน<br />

เวลา 12 วัน พบวาลักษณะโคโลนีของเชื้อรามีลักษณะเหมือนกันคือ<br />

โคโลนีแบน (fat) แตอาจมี<br />

การยกของโคโลนีเหนืออาหารเล็กนอย ซึ่งตรงกับผลการศึกษาครั้งนี้ที่พบเชื้อราซึ่งมีลักษณะโคโล<br />

นีแบนถึง 40 ไอโซเลท<br />

การเกิดสีของโคโลนีมีความแตกตางกัน ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน<br />

7 สี ไดแก ขาว<br />

(White), เทา (Gray), เหลืองอมเทา (Yellowish gray), ขาวอมเหลือง (Yellowish white), เทา<br />

อมเขียว (Greenish gray), ขาวอมเขียว (Greenish white) และ ขาวสม Orange white (ตารางที่<br />

10, ตารางผนวกที่<br />

ก2) McCoy and Kanavel (1969) รายงานวาโคโลนีของเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii มีสีเทาอมเขียว ซึ่งตรงกับสีของเชื้อราหลายไอโซเลท<br />

เชน 2204, 2222, 2233,<br />

2246, 2282, 2283, 2286, 2300 และ 2398 เปนตน อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532)<br />

รายงานการเกิดสีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ที่เลี้ยงบนอาหาร<br />

Malt extract agar ไววามีตั้งแตสี<br />

ขาวอมเทาจนถึงสีเทาจนเกือบดํ า ซึ่งในการกํ<br />

าหนดสีจากการมองเห็นดวยตาอาจแตกตางกัน แต<br />

เมื่อนํ<br />

ารูปของโคโลนีมาเทียบสีดูพบวามีหลายไอโซเลทที่มีสีใกลเคียงกับการทดลองของอังศุมาลย<br />

และ อุไรวรรณ (2532)<br />

เมื่อเลี้ยงเชื้อราไดประมาณ<br />

2 อาทิตยจะพบวาเชื้อราบางไอโซเลทเริ่มมีการสราง<br />

synnemata โดยเกิดปุ มนูนสีขาวขึ้นรอบๆ<br />

โคโลนีของเชื้อราและเริ่มยาวขึ้นเรื่อยๆ<br />

เกิดจากการที่<br />

อาหารเริ่มหมด<br />

ซึ่งเปนกลไกอยางหนึ่งในการรักษาตัวเองเพื่อการอยูรอด<br />

โดยการสรางมัดของ<br />

เสนใยที่เรียงตัวกันอยางแนนหนา<br />

และจะอยูในสภาพนี้จนกวาจะมีอาหารใหม<br />

จากการศึกษาพบ<br />

วา synnemata จะปรากฏเดนชัดขึ้นเมื่อเชื้อรามีอายุประมาณ<br />

3 อาทิตย ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

Rombach et al. (1986) ที่รายงานวา<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii จะมีการสราง synnemata เมื่อเลี้ยง<br />

ไวประมาณ 3 อาทิตย และตรงกับการรายงานของ อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ที่รายงาน<br />

วาโคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii อายุ 7-14 วันจะเริ่มมีการรวมกันของเสนใยสีขาวเปนตุม<br />

เล็กๆ จนกลายเปน synnemata ลักษณะการเกิด synnemata ของ H. thompsonii แตละไอโซเลท<br />

จะแตกตางกัน เชน เกิดเปนกระจุกๆ เกิดกระจายทุกทิศทาง นอกจากนั้นเชื้อราบาง<br />

ไอโซเลทมี<br />

65


synnemata ยาว ในขณะที่บางไอโซเลทมี<br />

synnemata สั้นมาก<br />

เชื้อราหลายไอโซเลทไมสราง<br />

synnemata แมจะเปนสายพันธุ<br />

H. thompsonii var. synnematosa ดวยกันก็ตาม ซึ่งตรงกับคํ<br />

า<br />

อธิบายของ อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ที่กลาววา<br />

เชื้อราสายพันธุ<br />

synnemata ไมไดสราง<br />

synnemata 100% สวนใหญจะพบประมาณ 60-75% ของโคโลนีที่เลี้ยง<br />

สวน Mains (1951)<br />

กลาววา การสราง synnemata ขึ้นอยูกับสภาพทางสรีรวิทยา<br />

และเมื่อ<br />

subculture หลายครั้งเชื้อจะ<br />

ไมสราง synnemata อีก จากผลการศึกษาครั้งนี้พบวามีเชื้อรา<br />

H. thompsonii จํ านวน 58 ไอโซ<br />

เลท (50.88%) ที่สราง<br />

synnemata จากการสังเกตลักษณะอื่นๆที่ปรากฏบนโคโลนียังพบวาเชื้อ<br />

ราจํ านวน 46 ไอโซเลท (40.35%) มีการสรางหยดนํ้<br />

าบนโคโลนี (water droplet) ซึ่งเกิดจากการ<br />

คายนํ าของเชื ้ ้อรา หยดนํ้<br />

าที่เกิดในแตละไอโซเลทจะมีสีที่ตางกัน<br />

เชน สีเขียว แดง นํ้<br />

าตาล เหลือง<br />

เนื่องจากเสนใยเกิดการคายนํ้<br />

าแลวมารวมกับ pigment ของเสนใยที่ผลิตออกมาจึงทํ<br />

าใหเกิดสี<br />

ตางๆ เปนขบวนการปองกันตัวจากแสงแดด รังสีหรือสิ่งที่เปนอันตรายกับตัวเชื้อรา<br />

Rosas<br />

(2003) ศึกษาความเปนพิษของหยดนํ้<br />

าที่เกิดขึ้นบนโคโลนี<br />

(exudate) ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii<br />

(HtM 120i) โดยนํ าหยดนํ้<br />

านั้นไปฉีดในหนอนกินไขผึ้งวัยสุดทาย<br />

(Galleria mellonella<br />

(Linnaeus)) จํ านวน 10 ไมโครลิตร พบวาไมมีผลกับหนอนคือไมทํ าใหหนอนตาย รวมทั้งไมทํ<br />

า<br />

ใหดักแดและตัวเต็มวัยผิดปกติ แตเมื่อนํ<br />

าหยดนํ้<br />

าที่ความเขมขน<br />

100, 50 และ 40% ไปทดสอบ<br />

กับไรแมงมุม Tetranychus urticae (Koch) พบวาหยดนํ้<br />

ามีผลไปยับยั้งการวางไขของไร<br />

โดยทํ าให<br />

ไรวางไขเพียง 45±4.2, 59±4.9 และ 63±4.9 ตามลํ าดับ<br />

เชื้อราจํ<br />

านวน 47 ไอโซเลท (41.23%) มีการสราง clear zone ซึ่งเกิดเปนบริเวณใส<br />

รอบๆ โคโลนี (ตารางที่<br />

11, ภาพที่<br />

20) เนื่องจากเชื้อราทํ<br />

าการผลิตและปลดปลอยเอนไซมที่<br />

เกี่ยวของกับการยอยสลายโปรตีนออกมาภายนอกเซลล<br />

(chitinolytic enzymes) เพื่อทํ<br />

าการสลาย<br />

โปรตีนโมเลกุลใหญใหเปนโมเลกุลเล็กแลวทํ าการดูดซึมเขาสูเซลล<br />

เมื่อโปรตีนในอาหาร<br />

MEA ที่<br />

อยูรอบๆ<br />

โคโลนีมีโมเลกุลเล็กลงจึงทํ าใหเห็นเปนบริเวณใสรอบๆ โคโลนี Chernin et al. (1997)<br />

ศึกษาการปลดปลอยเอ็นไชมที่ยอยโปรตีนในเชื้อรา<br />

H. necatrix, H. kirchneri และเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii จํ านวน 6 ไอโซเลท พบวาเชื้อรา<br />

H. thompsonii จํ านวน 2 ไอโซเลท และ H.<br />

necatrix สามารถปลดปลอยเอ็นไซมที่ยอยโปรตีนในอาหารเลี้ยงเชื้อได<br />

เมื่อนํ<br />

าลักษณะทาง morphology ของเชื้อราทั้งหมดมาหาความสัมพันธ<br />

คือสีของโคโลนี,<br />

การเกิด synnemata, การยกของขอบโคโลนี, การสราง polyblastic conidiogeneous cell, การเกิด<br />

clear zone และ water droplet พบวา ลักษณะตางๆ มีความสัมพันธกันนอยมากหรือแทบจะไมมี<br />

ความสัมพันธเลย (ภาคผนวก ข1)<br />

66


ก<br />

ภาพที่<br />

19 ลักษณะโคโลนีของเชื้อรา<br />

H. thompsonii<br />

ก) flat ข) moderate และ ค) elevate<br />

ก<br />

ภาพที่<br />

20 ลักษณะพิเศษที่เชื้อรา<br />

H. thompsonii สรางขึ้นเมื่อเลี้ยงบนอาหาร<br />

MEA<br />

ก) synnemata ข) water droplets และ ค) Clear zone<br />

ข<br />

ข<br />

67<br />

ค<br />


ตารางที่<br />

9 Formation of H. thompsonii colony (114 isolates) cultured on malt agar plates<br />

at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Colony formation Number of isolates<br />

Flat 44 (38.60%)<br />

Moderate 50 (43.86%)<br />

Elevate 20 (17.54%)<br />

ตารางที่<br />

10 Color of H. thompsonii colony (114 isolates) cultured on malt agar plates at<br />

27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Color of colony Number of isolates<br />

White 22 (19.30%)<br />

Gray 14 (12.28%)<br />

Yellowish gray 17 (14.91%)<br />

Yellowish white 24 (21.05%)<br />

Greenish gray 16 (14.04%)<br />

Greenish white 8 (7.02%)<br />

Orange white 13 (11.40%)<br />

68


ตารางที่<br />

11 Special characteristics of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt agar<br />

plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Characteristics Number of isolates<br />

Yes No<br />

Synnemata 58 (50.88%) 56 (49.12%)<br />

Water droplets 46 (40.35%) 68 (59.65%)<br />

Clear zone 47 (41.23%) 67 (58.77%)<br />

69


2.2 การศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count และ viable plate count<br />

ผลการศึกษาปริมาณ conidia ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii 114 ไอโซเลท โดยการนับ<br />

ปริมาณ conidia จาก Haemacytometer (direct count) และนับจํ านวน conidia ที่สามารถเจริญ<br />

บนวุนอาหาร<br />

MEA (viable plate count) เพื่อเปรียบเทียบจํ<br />

านวน conidia ตอพื้นที่โคโลนี<br />

1 ตา<br />

รางเซนติเมตร พบวา จํ านวน conidia ซึ่งไดจากการนับโดยวิธี<br />

direct count มีปริมาณแตกตางกัน<br />

ตั้งแต<br />

0.44x10 4 -191.68x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร โดยมีเชื้อราเพียง<br />

2 ไอโซเลทที่ผลิต<br />

conidia ไดมากกวา 100x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร เชื้อราที่สราง<br />

conidia ไดมากที่สุดคือ<br />

ไอโซเลท 2220 โดยสามารถสราง conidia ไดถึง 191.68x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร รองลง<br />

มาคือไอโซเลท 2196 ซึ่งผลิต<br />

conidia ได 115.91x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร สวนไอโซเลท<br />

2528 สราง conidia ไดนอยที่สุดคือ<br />

0.44x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร (ตารางผนวกที่<br />

ก3)<br />

การแบงกลุมของเชื้อราตามปริมาณ<br />

conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct count พบวาอัตราการ<br />

สราง conidia สามารถแบงเชื้อราออกไดเปน<br />

4 กลุ มอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ โดยเชื้อราที่ผลิต<br />

conidia ไดเพียง 0.44x10 4 -8.64x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตร มี 28 ไอโซเลท (24.56%)<br />

สวนกลุมที่ผลิต<br />

conidia ไดมากระหวาง 33.11x10 4 -191.68x10 4 conidia/ตารางเซนติเมตรมี<br />

จํ านวนมากถึง 29 ไอโซเลท (25.44%) (ตารางที่<br />

12)<br />

เมื่อนํ<br />

านํ้<br />

า conidia มาเจือจางเพื่อศึกษาความสามารถในการเจริญบนวุนอาหาร<br />

MEA<br />

(viable plate count) ภายหลังการเลี้ยงเปนเวลา<br />

3 วัน ที่อุณหภูมิ<br />

27±1 องศาเซลเซียส พบวาเชื้อ<br />

รามีปริมาณ conidia ที่สามารถเจริญบนวุนอาหารไดตั้งแต<br />

0.66x10 4 -181.70x10 4 CFU/ตา<br />

รางเซนติเมตร ขึ้นอยูกับไอโซเลทของเชื้อรา<br />

ทั้งนี้จํ<br />

านวน conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct count และ<br />

viable plate count มีความสัมพันธกันสูงมากโดยมีคา r=0.956 และมีความสัมพันธไปในทาง<br />

เดียวกัน (ภาคผนวก ข2) จากจํ านวนไอโซเลทที่ศึกษาพบวาเชื้อราจํ<br />

านวน 28 ไอโซเลท<br />

(24.56%) มีปริมาณ conidia ที่นับโดยวิธี<br />

viable plate count ตํ าสุดอยู ่ ระหวาง 0.66x10 4 -<br />

9.01x10 4 CFU/ตารางเซนติเมตร สวนไอโซเลทที่มีจํ<br />

านวน conidia มาก (วิธี viable plate<br />

count) มี 29 ไอโซเลท (25.44%) โดยมีจํ านวนระหวาง 30.73x10 4 -181.70x10 4 CFU/ตา<br />

รางเซนติเมตร (ตารางที่<br />

13 และตารางผนวกที่<br />

ก3)<br />

จากการนับจํ านวน conidia ของเชื้อราแตละไอโซเลท<br />

พบวา โดยทั่วไปจํ<br />

านวน conidia<br />

ที่นับโดยวิธี<br />

viable plate count ที่เจริญบนวุนอาหารมักมีจํ<br />

านวนตํ่<br />

ากวาจํ านวน conidia ที่ไดจาก<br />

การนับโดยวิธี direct count ตอหนวยพื้นที่เดียวกัน<br />

ทั้งนี้อาจเปนเพราะ<br />

conidia ที่ไดจากการนับ<br />

โดยวิธี direct count มีทั้ง<br />

conidia ที่แกหรือออนเกินไปจนไมสามารถงอกได<br />

อยางไรก็ตาม มีเชื้อ<br />

70


ราจํ านวน 49 ไอโซเลท เชน 2229, 2397, 2437, 2476, 2458 และ 2482 ที่ใหจํ<br />

านวน<br />

conidia ที่เจริญบนวุนอาหารมากกวาปริมาณ<br />

conidia ที่ไดจากการนับโดยตรงตอหนวยพื้นที่เดียว<br />

กัน โดยเฉพาะไอโซเลท 2437 มีปริมาณ conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct count 14.19x10 4 conidia/<br />

ตารางเซนติเมตร แตใหปริมาณ conidia ที่นับโดยวิธี<br />

viable plate count สูงถึง 3 เทา (40.35x10 4<br />

CFU/ตารางเซนติเมตร) เปนตน สาเหตุที่ทํ<br />

าใหปริมาณ conidia ที่นับโดยวิธี<br />

viable plate count<br />

มีปริมาณสูงอาจเปนเพราะเชื้อราที่ใชในการศึกษายังเปนชวงที่มีการเจริญอยู<br />

ซึ่งอาจมีการสราง<br />

conidia เพิ่มขึ้นหรือในขั้นตอนการกรองเพื่อแยกเอาเสนใยออกจากนํ้<br />

า conidia อาจมีเสนใยที่ขาด<br />

เปนทอนเล็กๆ ปะปนอยูดวย<br />

ซึ่งเสนใยเหลานี้สามารถเจริญเติบโตเปนโคโลนีเล็กๆ<br />

ที่มีลักษณะ<br />

คลายกับโคโลนีที่ไดจาก<br />

conidia เดี่ยวๆ<br />

จากผลการศึกษาที่พบวาปริมาณการสราง<br />

conidia ของเชื้อราแตละไอโซเลทที่แตกตาง<br />

กันนั้น<br />

อาจมาจากความแตกตางของโครงสรางเสนใยและการสราง conidia ของเชื้อราดวย<br />

เชน<br />

ไอโซเลท 2220 ที่ผลิต<br />

conidia ไดมากที่สุดนั้น<br />

มีลักษณะโคโลนีแบน สีขาวอมเขียว โครงสรางสืบ<br />

พันธุที่เรียกวา<br />

phialide เปนแบบ polyphialidic มีรูเปดออกจาก phialide 3 รูทํ าใหมีจํ านวน<br />

conidia 3 อัน และพบลักษณะโครงสรางพิเศษที่เรียกวา<br />

polyblastic conidogenous cells ที่<br />

สามารถผลิต conidia ไดหลายอัน สวนไอโซเลท 2528 ที่ผลิต<br />

conidia ไดนอยที่สุดมีลักษณะโค<br />

โลนีฟูปานกลาง สีขาว phialide เปนแบบ polyphialidic ที่มีรูเปดออกจาก<br />

phialide 2 รูทํ าใหมี<br />

จํ านวน conidia 2 อัน และไมพบลักษณะโครงสรางพิเศษที่เรียกวา<br />

polyblastic conidogenous<br />

cells จากการที่เชื้อราไอโซเลท<br />

2220 มีการสราง polyblastic conidogenous cells นี้เอง<br />

ทํ าใหเชื้อ<br />

ราสามารถผลิต conidia ไดมากกวาไอโซเลท 2528 ทั้งๆ<br />

ที่โครงสรางสืบพันธุเปนแบบ<br />

polyphialidic เหมือนกัน<br />

conidia ที่เชื้อราสรางขึ้นจะมีปริมาณมากหรือนอยนั้น<br />

อาจไมไดขึ้นอยูกับลักษณะทาง<br />

สัณฐานของเชื้อเพียงอยางเดียว<br />

หากแตมีปจจัยอื่นๆ<br />

ที่สามารถทํ<br />

าใหปริมาณการสราง conidia<br />

มากขึ้นหรือลดลงได<br />

เชน ปริมาณอาหารและชนิดของอาหารที่ใชเลี้ยง<br />

ซึ่ง<br />

McCoy (1978b) ได<br />

รายงานไววา ธาตุอาหารที่จํ<br />

าเปนในการสราง conidia คือ C และ N เชื้อรา<br />

H. thompsonii ทุก<br />

สายพันธุเปนพวกที่สราง<br />

conidia ไดในระดับปานกลาง (moderate sporulater) โดยสราง conidia<br />

ไดประมาณ 10 7 -10 8 conidia/ลูกบาศกมิลลิลิตร conidia เปนสิ่งสํ<br />

าคัญที่ใชในการเขาทํ<br />

าลายไร<br />

McCoy and Selhime (1977) รายงานวา conidia เปน infective unit ที่กอโรคกับไรสี่ขา<br />

McCoy<br />

(1981,1985) กลาววา การกอโรคเกิดขึ้นโดย<br />

conidia เกาะติดกับผนังลํ าตัวสวนใดสวนหนึ่ง<br />

จากนั้น<br />

conidia จะงอก germ tube แทงทะลุผานผนังลํ าตัวไร และใชเนื้อเยื่อภายในลํ<br />

าตัวไรใน<br />

การเจริญเติบโตและแพรกระจายไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นถาหาหนทางที่จะทํ<br />

าใหเชื้อราสราง<br />

conidia<br />

ไดมากขึ้น<br />

ก็ยอมจะเปนประโยชนในการนํ าไปใชในการควบคุมไรศัตรูพืช ที่ผานมาไดมีผูทํ<br />

าการ<br />

71


ทดลองฉายรังสี UV เพื่อทํ<br />

าให phialide สามารถจะผลิต conidia ไดมากขึ้นดวย<br />

โดย Tuveson<br />

and McCoy (1982) ไดฉายรังสี Far-ultraviolet (FUV) ที่ความยาวคลื่น<br />

200-300 นาโน<br />

เมตร กับเชื้อรา<br />

H. thompsonii (HTF-72 strain) พบวามีผลทํ าใหจํ านวน conidia เพิ่มขึ้น<br />

การสราง conidia ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ที่นับจากทั้งสองวิธีคือ<br />

direct count และ<br />

viable plate count พบวาสวนใหญ (64% และ 62%) ไมไดขึ้นอยูกับขนาดพื้นที่ของโคโลนี<br />

ซึ่ง<br />

ตรงกับรายงานของ อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ที่พบวาจํ<br />

านวน conidia ของเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii var. synnematosa ไมไดขึ้นอยูกับขนาดของโคโลนี<br />

กลาวคือไอโซเลทที่มีอัตราการ<br />

สราง conidia มากที่สุดไมไดมีพื้นที่โคโลนีมากที่สุด<br />

และไอโซเลทที่มีพื้นที่โคโลนีมากที่สุดก็ไมได<br />

สราง conidia มากที่สุดเชนกัน<br />

เชน เชื้อราไอโซเลท2220<br />

มีจํ านวน conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct<br />

count และ viable plate count เทากับ 229.83x10 4 conidia/ลูกบาศกมิลลิลิตร และ<br />

218.17x10 4 CFU/ลูกบาศกมิลลิลิตร ตามลํ าดับ แตมีพื้นที่ของโคโลนีเพียง<br />

1.29 ตาราง<br />

เซนติเมตร ในขณะที่เชื้อราซึ่งมีขนาดใหญที่สุดคือไอโซเลท2458<br />

ซึ่งมีพื้นที่โคโลนี<br />

3.46 ตาราง<br />

เซนติเมตร มีจํ านวน conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct count และ viable plate count เพียง<br />

17.83x10 4 conidia/ลูกบาศกมิลลิลิตร และ 37.00x10 4 CFU/ลูกบาศกมิลลิลิตร ตามลํ าดับ<br />

(ตารางภาคผนวกที่<br />

ก3) ผลการวิเคราะหหาคาความสัมพันธระหวางขนาดโคโลนีกับปริมาณ<br />

conidia ที่นับโดยวิธี<br />

direct count และระหวางขนาดของโคโลนีกับปริมาณ conidia ที่นับโดยวิธี<br />

viable plate count พบวามีความสัมพันธกันนอยมากโดยมีคา r=0.36107 และ 0.38745 ตาม<br />

ลํ าดับ (ภาคผนวก ข3)<br />

72


ตารางที่<br />

12 Number of conidia (direct count) from 1 cm 2 of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days<br />

Number of conidia<br />

(10 4 conidia/cm 2 )<br />

Number of isolates<br />

0.44-8.64 28 (24.56%)<br />

8.65-17.04 30 (26.32%)<br />

17.05-33.10 27 (23.68%)<br />

33.11-191.68 29 ( 25.44%)<br />

ตารางที่<br />

13 Number of conidia (plate count) from 1 cm 2 of H. thompsonii (114 isolates)<br />

cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days<br />

Colony forming units<br />

(10 4 CFU/cm 2 )<br />

Number of isolates<br />

0.66-9.01 28 (24.56%)<br />

9.02-14.96 29 (25.44%)<br />

14.97-30.72 28 (24.56%)<br />

30.73-181.70 29 (25.44%)<br />

73


2.3 การศึกษาโครงสรางของเสนใยและ conidia<br />

ผลการศึกษาโครงสรางของเสนใยและ conidia ของเชื้อราทั้ง<br />

114 ไอโซเลทที่รวบรวมได<br />

พบวาเชื้อราทุกไอโซเลทคือเชื้อ<br />

Hirsutella thompsonii โดยเสนใยมีลักษณะเปนเสนตรง มีเสน<br />

ผานศูนยกลางประมาณ 1.5-3.4 ไมครอนและมีผนังกั้น<br />

(septate hyphae) โครงสรางของเซลล<br />

สืบพันธุ (conidiogeneous cell) เปนแบบ phialide (ภาพที่<br />

21ก) ซึ่งมีทั้งแบบที่เปน<br />

monophialidic (ภาพที่<br />

21ข-ค) คือบริเวณปลายสุดของ phialide จะมีลักษณะเปนรูเปด มองเห็น<br />

เปนกานสั้นๆ<br />

เพียง 1 กาน ใชเปนที่รองรับเซลลสืบพันธุที่เรียกวา<br />

conidia ซึ่ง<br />

phialide แบบนี้จะ<br />

สราง conidia ไดเพียง 1 อันเทานั้น<br />

สวน phialide ที่เปนแบบ<br />

polyphialidic (ภาพที่<br />

21ง-จ) จะ<br />

มีรูเปดออกจาก phialide หลายรูทํ าใหเห็นมีหลายกาน จากการศึกษาพบวามี 2-6 กาน และ<br />

จํ านวน conidia จะขึ้นอยูกับจํ<br />

านวนรูที่เปดออกมาจาก<br />

phialide นั้น<br />

ซึ่งใกลเคียงกับการรายงาน<br />

ของ Baker and Neunzig (1968) ที่พบวาเชื้อรา<br />

H. thompsonii สรางกานชู conidia ไดตั้งแต<br />

1-7 กาน<br />

รูปรางของ phialide มีลักษณะเปน flask-shape คลายขวดคอคอดงอกตั้งฉากกับเสนใย<br />

โดยมีสวนฐานคอนขางกวางเปนรูปกรวยหรือรูปไขและคอดลงตรงปลาย phialide ของเชื้อราบาง<br />

ไอโซเลท เชน #2284, 2286, 2293, 2295, 2398 และ 2456 จะเกิดเปนวงรอบๆ เสนใยเชื้อ<br />

ราอยูเปนจุดๆ<br />

ซึ่งจะพบจุดละ<br />

3-8 phialide (ภาพที่<br />

22) conidia ที่พบบน<br />

phialide เหลานี้จะ<br />

แตกตางจาก conidia ที่เกิดจาก<br />

phialide ที่อยู<br />

เดี่ยวๆ<br />

คือมีลักษณะเปนวงรี คลายรูปไข ขนาด<br />

2.05-3.22x3.93-7.55 ไมครอน ซึ่งใกลเคียงกับ<br />

van Winkelhoff and McCoy (1984) ที่ราย<br />

งานวา conidia ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีขนาดตั้งแต<br />

2.0-2.5x5.8-8.0 ไมครอน สวน<br />

phialide ที่อยูเดี่ยวๆ<br />

จะมี conidia รูปรางกลม ผิวขรุขระ มีขนาด 2.03-3.89x2.11-4.27<br />

ไมครอน (ตารางที่<br />

14, ตารางผนวกที่<br />

ก4) ซึ่งใกลเคียงกับการรายงานของ<br />

Fisher (1950) ที่พบ<br />

วา conidia ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีรูปรางแบบ lemon-shaped ขนาด 2.1-3.3x2.1-3.3<br />

ไมครอน สวน Samson et al. (1980) รายงานวา H. thompsonii var. synnematosa มีขนาดของ<br />

conidia 3.0-3.5x6.5-8.5 ไมครอน เมื่อ<br />

conidia แกจะมีเมือกหุมอยูที่ผนังสวนนอกเชนเดียวกับ<br />

รายงานของ อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532)<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa บางไอโซเลทจะมีการสราง polyblastic<br />

conidiogenous cell (holoblastic) โดยใน conidiogenous cell 1 อัน จะสามารถสราง conidia ได<br />

หลายอัน (ภาพที่<br />

23) ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) ที่รายงานวา<br />

พบการสราง polyblastic conidiogenous cell ใน สายพันธุ<br />

synnematosa ดวย<br />

74


phialide มีความยาวเฉลี่ยตั้งแต<br />

8.15-20.20 ไมครอน ผลการจัดกลุมความยาวของ<br />

phialide พบวาเชื้อราที่มี<br />

phialide สั้นเพียง<br />

8.15-8.95 ไมครอน มีจํ านวน 30 ไอโซเลท ในขณะ<br />

ที่เชื้อรา<br />

28 ไอโซเลทมี phialide ยาว 11.36-20.20 ไมครอน (ตารางที่<br />

15, ตารางผนวกที่<br />

ก4)<br />

ความยาวของ phialide สวนใหญจะใกลเคียงกับการรายงานของ อังศุมาลย และ อุไรวรรณ<br />

(2532) ที่รายงานวา<br />

phialide ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa จะมีความยาว<br />

ประมาณ 6.25-8.75 ไมครอน สวนความยาวของ phialide ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii var.<br />

thompsonii นั้น<br />

Baker and Neunzig (1968) ไดรายงานไววา phialide มีความยาว 6-10<br />

ไมครอน<br />

การวัดระยะหางระหวาง phialide ของเชื้อราทั้ง<br />

114 ไอโซเลท พบวาแตละ phialide มี<br />

ระยะหางแตกตางกันตั้งแต<br />

16.45-70.32 ไมครอน (ภาพที่<br />

24) ซึ่งสามารถจํ<br />

าแนกออกเปน 4<br />

กลุมใหญๆ<br />

ดวยกัน กลุมที่มีระยะหางระหวาง<br />

phialide นอยที่สุด<br />

(16.45–34.02) มี 29 ไอโซ<br />

เลท และกลุมที่มีระยะหางระหวาง<br />

phialide มากที่สุด<br />

(48.34-70.32) มี 29 ไอโซเลทเชนกัน<br />

(ตารางที่<br />

16, ตารางผนวกที่<br />

ก4) ผลการศึกษานี้ใกลเคียงกับรายงานของ<br />

อังศุมาลย และ อุไร<br />

วรรณ (2532) ที่กลาววา<br />

phialide ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa จะหางกัน<br />

ประมาณ 40-65 ไมครอน สวน Baker and Neunzig (1968) รายงานวาชวงหางระหวาง<br />

phialide ของ H. thompsonii var. thompsonii จะมีระยะหางตั้งแต<br />

10-90 ไมครอน<br />

เชื้อราสวนมากมีการสราง<br />

chlamydospore เปนกระเปาะอยูภายในเสนใย<br />

(ภาพที่<br />

25)<br />

การสราง chlamydospore ในเชื้อรามีสาเหตุมาจากอาหารเริ่มขาดแคลน<br />

พบไดเมื่อเลี้ยงเชื้อราบน<br />

แผนสไลด (slide culture) นาน 6-7 วัน ซึ่งเปนชวงที่อาหารเริ่มหมดเนื่องจากมีอาหารอยูนอย<br />

ทํ าใหพบการสราง chlamydospore เร็ว อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) เลี้ยงเชื้อราสายพันธุ<br />

เดียวกันนี้บนวุนอาหาร<br />

Malt extract agar, Potato dextrose agar, Sabouraud dextrose agar และ<br />

Modified V-8 Juice agar จํ านวน 20 มิลลิลิตร และรายงานวาเชื้อราบางไอโซเลทมีการสราง<br />

chlamydospore เมื่อโคโลนีอายุ<br />

20 วันขึ้นไป<br />

ซึ่งตางจากการเลี้ยงบนแผนสไลดมาก<br />

แตเมื่อ<br />

พิจารณาปริมาณอาหารที่ใชเลี้ยงนั้นพบวาตางกัน<br />

โดยการเลี้ยงเชื้อบนแผนสไลดจะใชอาหารเพียง<br />

0.5x0.5 เซนติเมตรและหนาไมเกิน 1 มิลลิเมตร จึงทํ าใหมีการสราง chlamydospore ไดเร็วกวา<br />

ปกติ การสราง chlamydospore เปนวิธีหนึ่งที่จะชวยใหเชื้อราอยูรอดในสภาวะที่อดอาหาร<br />

และ<br />

พรอมที่จะขยายพันธุตอไปไดเมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสมอีกครั้งหนึ่ง<br />

75


ข<br />

ง<br />

ภาพที่<br />

21 ลักษณะโครงสรางของเชื้อรา<br />

ก) โครงสรางเซลลสืบพันธุที่เรียกวา<br />

phialide<br />

ข-ค) phialide ที่เปนแบบ<br />

monophialidic<br />

ง-จ) phialide ที่เปนแบบ<br />

polyphialidic<br />

ข<br />

ก<br />

ค<br />

จ<br />

76


ภาพที่<br />

22 ลักษณะของ phialide ที่มีการแตกเปนวงรอบเสนใย<br />

ก) #2515 ข)#2301 ค) #2286 ง) #2398 จ) #2456<br />

ก<br />

ข ค<br />

ง จ<br />

77


ก<br />

ภาพที่<br />

23 ลักษณะการเกิด polyblastic conidiogenous cell (holoblastic)<br />

ก) #2201 ข)#2493 ค) #2557<br />

ข<br />

ค<br />

78


ภาพที่<br />

24 ระยะหางระหวาง phialide ที่ยาวและสั้น<br />

ภาพที่<br />

25 การสราง chlamydospore ภายในเสนใยของเชื้อรา<br />

79


ตารางที่<br />

14 Conidia of H. thompsonii (114 isolates) cultured on 0.5x0.5 cm malt extract<br />

agar placed on microscopic slide and incubated at 27±1 o C, 65±3% RH for 6<br />

days<br />

Width (µm) Number of isolates Length (µm) Number of isolates<br />

2.03-2.52 29 (25.44%) 2.11-2.69 31 (27.19%)<br />

2.53-2.78 29 (25.44%) 2.70-2.92 27 (23.68%)<br />

2.79-2.95 30 (26.32%) 2.93-3.12 30 (26.32%)<br />

2.96-3.89 26 (22.81%) 3.13-4.27 26 (22.81%)<br />

ตารางที่<br />

15 Length of phialide of H. thompsonii (114 isolates) cultured on 0.5x0.5 cm<br />

malt extract agar placed on microscopic slide and incubated at 27±1 o C,<br />

65±3% RH for 6 days<br />

Length of phialide (µm) Number of isolates<br />

8.15-8.95 30 (26.32 %)<br />

8.96-9.80 27 (23.68 %)<br />

9.81-11.35 29 (25.44 %)<br />

11.36-20.20 28 (24.56 %)<br />

80


ตารางที่<br />

16 Distance between phialides of H. thompsonii (114 isolates) cultured on<br />

0.5x0.5 cm malt extract agar placed on microscopic slide and incubated<br />

at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days<br />

Length between phialides (µm) Number of isolates<br />

16.45-34.02 29 (25.44%)<br />

34.03-39.67 28 (24.56%)<br />

39.68-48.33 28 (24.56%)<br />

48.34-70.32 29 (25.44%)<br />

81


3. การเจริญเติบโตของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

ผลการศึกษาการเจริญเติบโตของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

โดยเลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii<br />

114 ไอโซเลทในอาหาร Malt extract broth (MEB) บนเครื่องเขยาที่อุณหภูมิ<br />

27 องศาเซลเซียส<br />

ความเร็วรอบ 150 รอบ/นาที เปนเวลา 4 วัน และมวลชีวภาพที่ไดไปอบเพื่อหานํ้<br />

าหนักแหง (dry<br />

weight) พบวา เชื้อรามีการเจริญเติบโตแตกตางกันโดยใหนํ้<br />

าหนักของมวลชีวภาพอบแหง 0.38-<br />

0.93 กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร ไอโซเลท 2565 เจริญเติบโตชาที่สุดโดยมวลชีวภาพอบแหงมีนํ้<br />

า<br />

หนักเพียง 0.38 กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร) สวนไอโซเลท 2459 เจริญเติบโตไดดีที่สุดในอาหาร<br />

เหลวชนิดนี้<br />

โดยมวลชีวภาพของเชื้อรามีนํ้<br />

าหนัก 0.93 กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร<br />

จากการแบงกลุมของเชื้อราตามนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหง พบวา สามารถแบงเชื้อรา<br />

ออกเปน 4 กลุ มอยางมีนัยสํ าคัญทางสถิติ โดยกลุมที่เจริญเติบโตชาและใหนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบ<br />

แหงนอย (0.38-0.67 กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร) มี 30 ไอโซเลท (26.32%) สวนกลุมที่เจริญ<br />

เติบโตเร็วและมีนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพมาก (0.79-0.93 กรัม/ MEB 50 มิลลิลิตร) มี 26 ไอโซ<br />

เลท (22.81%) (ตารางที่<br />

17, ตารางผนวกที่<br />

ก5)<br />

อังศุมาลย และ อุไรวรรณ (2532) เลี้ยงเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa<br />

ไอโซเลท 18II ในอาหารเหลว MEB ไดนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหง 0.268 กรัม/MEB 50<br />

มิลลิลิตร ซึ่งนอยกวาการทดลองครั้งนี้มากเมื่อเทียบกับนํ้<br />

าหนักแหงนอยที่สุดที่ไดจากเชื้อราไอโซ<br />

เลท 2565 (0.38 กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร) ทั้งๆ<br />

ที่เปนเชื้อราสายพันธุเดียวกัน<br />

ความแตกตาง<br />

ที่พบอาจเนื่องจากวิธีการทดลองและปริมาณหัวเชื้อเริ่มตนที่ตางกัน<br />

ซึ่งอังศุมาลย<br />

และ อุไรวรรณ<br />

(2532) เลี้ยงเชื้อโดยใช<br />

cork borer ขนาดเสนผานศูนยกลาง 0.3 มิลลิเมตรเจาะโคโลนีของเชื้อ<br />

ราซึ่งมีอายุ<br />

8 วัน จํ านวน 3 แผนใสในอาหารเหลว ซึ่งถาเทียบกับการทดลองในครั้งนี้พบวา<br />

ปริมาณหัวเชื้อเริ่มตนมีปริมาณนอยมาก<br />

ทํ าใหนํ้<br />

าหนักที่ไดมีปริมาณนอยตามไปดวย<br />

ลักษณะมวลชีวภาพของเชื้อราเมื่อเลี้ยงในอาหารเหลว<br />

มีลักษณะเปนกอนกลมเกิดจาก<br />

เสนใยจํ านวนมากพันกันแนน ขนาดของกอนมวลชีวภาพแตกตางกันไปตามแตละไอโซเลท นอก<br />

จากนั้นสีของมวลชีวภาพก็แตกตางกัน<br />

โดยมีตั้งแตสีขาวจนถึงสีเทาอมเขียว<br />

เชื้อราบางไอโซเลทมี<br />

การสราง conidia ในอาหารเหลว ซึ่งตรงกับการรายงานของ<br />

McCoy et al. (1972) ที่รายงานวา<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa สามารถสราง conidia ในอาหารเหลวได อังศุมาลย<br />

และ อุไรวรรณ (2532) พบวา เชื้อราสายพันธุนี้มีการสราง<br />

chlamydospore ในอาหารเหลวเมื่อ<br />

เชื้อรามีอายุ<br />

20 วันขึ้นไป<br />

แตจากการทดลองครั้งนี้ไมพบ<br />

chlamydospore ในอาหารเหลวซึ่งอาจ<br />

82


เนื่องมาจากวาใชระยะเวลาในการเลี้ยงเชื้อราเพียง<br />

4 วันเทานั้นจึงไมพบลักษณะของ<br />

chlamydospore ในอาหารเหลว<br />

เมื่อทํ<br />

าการวัดความเปนกรด-ดาง (pH) ของอาหารเหลวหลังการเลี้ยงเชื้อรา<br />

4 วัน และ<br />

กรองมวลชีวภาพออกแลว พบวามีเพียงไอโซเลท 2515 และ 2565 เทานั้น<br />

ที่ไมทํ<br />

าใหคาความ<br />

เปนกรด-ดางของอาหารเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม<br />

(pH=6.5) เชื้อราที่ศึกษาสวนใหญทํ<br />

าใหอาหาร<br />

เหลวมีความเปนดางมากขึ้น<br />

โดยมีเชื้อราจํ<br />

านวน 27 ไอโซเลท (23.68%) ซึ่งทํ<br />

าใหอาหารเหลวมี<br />

ความเปนดางระหวาง 8.11-8.60 สวนกลุมของเชื้อราที่ทํ<br />

าใหอาหารเหลวมีความเปนดางเพียง<br />

เล็กนอย (7.61-7.90) มีเพียง 28 ไอโซเลท (24.56%) เชื้อราที่ทํ<br />

าใหอาหารเหลวมีความเปน<br />

ดางสูงสุด (pH 8.60) คือไอโซเลท 2459 (ตารางที่<br />

18, ตารางผนวกที่<br />

ก5)<br />

ผลการศึกษานี้ใกลเคียงกับรายงานของ<br />

McCoy et al. (1972) ที่พบวา<br />

เชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii var thompsonii เมื่อเลี้ยงในอาหารเหลว<br />

Basal dextrose-salt medium คาความเปน<br />

กรด-ดางเริ่มตน<br />

6.0 เปนเวลา 3 วัน จะทํ าใหอาหารมีความเปนกรด-ดางอยูในชวง<br />

6.0-9.2<br />

นอกจากนั้น<br />

อังศุมาลย และคณะ (2540) พบวา เชื้อรา<br />

H. thompsonii var. synnematosa ไอโซ<br />

เลท 30 และ 18 II ที่เลี้ยงในอาหารเหลว<br />

MEB คาความเปนกรด-ดางเริ่มตน<br />

6.5 เปนเวลา 4<br />

วัน จะทํ าใหอาหารมีความเปนกรด-ดางเปลี่ยนไปเปน<br />

6.80 และ 6.67 ตามลํ าดับ และยังราย<br />

งานอีกวา ระดับความเปนกรด-ดางที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตของเชื้อราอยูในชวง<br />

5.5-7.0<br />

เมื่อพิจารณาความสัมพันธระหวางนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหงกับคาความเปนกรด-ดาง<br />

ของอาหารเหลวที่ใชเลี้ยงเชื้อราเปนเวลา<br />

4 วันพบวา มีความสัมพันธกันคอนขางนอย โดยมีคา<br />

r=0.382 (ภาคผนวกที่<br />

ข4) ซึ่งคาความสัมพันธที่ไดเปนไปในทางเดียวกัน<br />

คือเชื้อราที่ใหมวล<br />

ชีวภาพอบแหงมาก จะทํ าใหอาหารเหลวมีความเปนดางสูงขึ้นดวย<br />

เชน เชื้อราไอโซเลท<br />

2565 ให<br />

มวลชีวภาพอบแหงนอยที่สุด<br />

และเมื่อนํ<br />

าอาหารเหลวมาวัดคาความเปนกรด-ดางก็พบวามีคานอย<br />

ที่สุด<br />

(pH=6.5) สวนไอโซเลท 2459 ที่มีนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหงมากที่สุดนั้น<br />

ก็ทํ าใหอาหาร<br />

เหลวมีความเปนดางมากที่สุด<br />

(pH=8.6) เชนกัน<br />

83


ตารางที่<br />

17 Dry weight of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract broth<br />

at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 days<br />

Dry weight (gm) Number of isolates<br />

0.38-0.67 30 (26.32%)<br />

0.68-0.72 32 (28.07%)<br />

0.73-0.78 26 (22.81%)<br />

0.79-0.93 26 (22.81%)<br />

ตารางที่<br />

18 pH of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract broth at 27±1 o C,<br />

65±3% RH for 4 days<br />

pH Number of isolates<br />

6.50-7.60 32 (28.07%)<br />

7.61-7.90 28 (24.56%)<br />

7.91-8.10 27 (23.68%)<br />

8.11-8.60 27 (23.68%)<br />

84


4. การศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษของเชื้อราในอาหารเหลว<br />

4.1 ประสิทธิภาพของ crude filtrate<br />

ผลการนํ า crude filtrate ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ที่ไดจากการเลี้ยงในอาหาร<br />

MEB<br />

และผานการกรองดวยกระดาษกรองชนิดพิเศษจํ านวน 20 ไมโครลิตร ฉีดเขาไปบริเวณขาเทียมคู<br />

แรกของหนอนกระทูผัก<br />

(Spodoptera litura (Fabricius)) วัย 4 และบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ<br />

หนอนทุก 2 วันจนกระทั่งเปนตัวเต็มวัย<br />

พบวา crude filtrate ที่ไดจากการเลี้ยงเชื้อราทุกไอโซเลท<br />

ยกเวนไอโซเลท 2259 มีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของหนอน โดยทํ าใหเกิดความผิดปกติ<br />

หลายประการ เชน หนอนเติบโตผิดปกติหรือหนอนตาย ดักแดไมสมบูรณ หรือไมสามารถออก<br />

เปนตัวเต็มวัยได หรือตัวเต็มวัยที่ออกจากดักแดอาจมีลักษณะผิดปกติ<br />

ไมสมบูรณ และไม<br />

สามารถขยายพันธุตอไปได<br />

เปนตน (ตารางที่<br />

19)<br />

จากผลการศึกษาครั้งนี้พบวาสารพิษที่เชื้อรา<br />

H. thompsonii หลั่งลงในอาหารเหลว<br />

MEB มีผลตอการตายของหนอนกระทูผักไมสูงนัก<br />

โดยเชื้อราไอโซเลท<br />

#2301 ทํ าใหหนอนตาย<br />

มากที่สุด<br />

50% รองลงมาคือไอโซเลท #2480 ซึ่งทํ<br />

าใหหนอนตาย 40% ในขณะที่สารพิษของเชื้อ<br />

ราหลายไอโซเลท เชน 2201, 2203, 2204, 2209, 2210, 2259, 2262, 2278 และ 2282 ที่<br />

ไมทํ าใหหนอนตาย (ตารางที่<br />

19) หนอนที่ตายเนื่องจากสารพิษสวนมากจะตายภายใน<br />

1-2 วัน<br />

ตามผนังลํ าตัวของหนอนที่ตายจะมีจุดสีดํ<br />

าเปนจุดๆ ซึ่งเห็นไดชัดทางดานทอง<br />

หากทิ้งหนอนที่ตาย<br />

ไวหลายวันจะพบวาผนังลํ าตัวของหนอนมีสีดํ าทั้งตัว<br />

(ภาพที่<br />

26 และ 27) หนอนที่ไดรับสารพิษ<br />

จากเชื้อราบางไอโซเลท<br />

เชน 2242, 2300, 2497 และ 2507 มีระยะหนอนยาวนานกวาชุดควบ<br />

คุมถึง 4-5 วัน เนื่องจากหนอนกินอาหารไดนอยในวันแรกที่ไดรับสารพิษ<br />

ตอมาจะไมกินอาหาร<br />

ทํ าใหขนาดลํ าตัวเล็กลงเรื่อยๆ<br />

ไมเจริญเติบโต ไมลอกคราบเพื่อเขาสูวัยที่<br />

5 และตายไปในที่สุด<br />

(ภาพที่<br />

28) ลักษณะอาการที่พบในหนอนกระทูผักตรงกับการรายงานของ<br />

Vey et al. (1989) ที่<br />

กลาววาหนอนผีเสื้อกินไขผึ้งวัยสุดทาย<br />

(Galleria mellonella (Linnaeus)) ที่ตายเนื่องจากการได<br />

รับสารพิษจากเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. thompsonii จะมีจุดสีนํ้<br />

าตาลดํ าเปนจุดๆ กระจายอยูทั่ว<br />

ไปตามผนังลํ าตัว สวน Maimala et al. (2002) รายงานวา หลังจากฉีด crude filtrate ที่มีสารพิษ<br />

ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ในหนอนผีเสื้อกินไขผึ้ง<br />

4-5 วันจะทํ าใหหนอนไมกินอาหาร และเริ่ม<br />

ออนแอ และตายในที่สุด<br />

หนอนที่อยู<br />

รอดจะหดตัวและเขาดักแด แตในระหวางการหดตัวของหนอนวัย 5 เพื่อจะ<br />

เขาดักแดนั้นพบวา<br />

หนอนที่ไดรับสารพิษจากเชื้อราไอโซเลท<br />

2283, 2392, 2443, 2480,<br />

2535, 2557, 2559 และ 2568 ตายในระยะที่มีการหดตัวกอนจะเขาดักแด<br />

(ภาพที่<br />

26จ-ฌ)<br />

85


หนอนที่ไดรับสารพิษจากเชื้อรา<br />

86 ไอโซเลท เขาดักแดไมสมบูรณ โดยไอโซเลท 2212 ทํ าให<br />

หนอนเขาดักแดไมสมบูรณถึง 70% รองลงมาคือไอโซเลท 2444 ซึ่งทํ<br />

าใหหนอนเขาดักแดไม<br />

สมบูรณ 60% สวนสารพิษของเชื้อราอีก<br />

28 ไอโซเลทไมมีผลตอการเขาดักแดของหนอนเลย เชน<br />

ไอโซเลท 2191, 2209, 2259, 2271, 2293, 2301, 2428 และ 2429 เปนตน (ตารางที่<br />

19)<br />

ลักษณะของการเขาดักแดที่ไมสมบูรณนั้น<br />

พบวามีการลอกคราบเปนดักแดไดเพียงครึ่งตัว<br />

ซึ่งพบ<br />

บอยครั้งในการทดลองครั้งนี้<br />

ลักษณะความผิดปกติอื่นๆ<br />

ที่พบไดแก<br />

ดักแดลอกคราบออกมาแลว<br />

ตาย มีสีดํ าทั้งตัว<br />

หรือผนังลํ าตัวตรงสวนทองของดักแดเปนสีขาวและไมแข็งแรงเหมือนดักแดปกติ<br />

และพบลักษณะของหนอนกํ าลังจะลอกคราบเปนดักแดแตตายกอนซึ่งเห็นเปนดักแดตรงสวนหัว<br />

(ภาพที่<br />

29)<br />

ดักแดในชุดควบคุมใชเวลาลอกคราบเปนตัวเต็มวัย 7-8 วัน ในขณะที่ดักแดในชุด<br />

ทดสอบใชเวลานานกวาชุดควบคุม 1-3 วัน โดยใชเวลาประมาณ 9-11 วันในการออกจากดักแด<br />

ตัวเต็มวัยที่ไดจากหนอนซึ่งไดรับสารพิษจํ<br />

านวน 60 ไอโซเลทแสดงอาการผิดปกติ โดยไอโซเลท<br />

#2209 และ 2538 ทํ าใหตัวเต็มวัยผิดปกติมากที่สุด<br />

30% สวนไอโซเลท 2198, 2217, 2241<br />

2208, 2397, 2438, 2459, 2482 และ 2533 ทํ าใหตัวเต็มวัยผิดปกติ 20% ตัวเต็มวัยที่ผิด<br />

ปกติมีหลายลักษณะ เชน ปกหงิกงอ (2191, 2206, 2397, 2455, 2533 และ 2555) บางตัว<br />

ปกหดสั้นไมสามารถบินได<br />

(2198, 2217, 2438, 2466, 2475 และ 2524) (ตารางที่<br />

19)<br />

และบางตัวออกจากดักแดไดเพียงครึ่งตัวโดยสวนหัวและปกออกมาได<br />

แตสวนทองไมสามารถ<br />

ออกจากดักแดได (2443, 2476, 2535, 2538, 2557 และ 2559) เปนตน (ภาพที่<br />

30)<br />

ดักแดบางสวนไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได โดยตัวเต็มวัยที่ออกจากดักแดสวนใหญ<br />

จะออกมาในชวงที่ดักแดมีอายุ<br />

9-11 วัน สวนดักแดที่ไมออกเปนตัวเต็มวัยนั้น<br />

เมื่อสังเกตดูจาก<br />

รูปรางภายนอกจะมีลักษณะเหมือนดักแดปกติ คือสีของดักแดมีสีนํ้<br />

าตาล มีขนาดเทากับดักแด<br />

ปกติ แตเมื่อทิ้งไวประมาณ<br />

1 เดือนเพื่อรอการออกจากดักแดพบวาดักแดไมสามารถพัฒนาเปน<br />

ตัวเต็มวัยไดตามปกติถึง 89 ไอโซเลท ดักแดกลุมนี้จะมีลักษณะแหงเหี่ยว<br />

สีของดักแดเปลี่ยนเปน<br />

นํ้<br />

าตาลเขมถึงสีดํ า และเมื่อทํ<br />

าการผาดักแดดูพบวาภายในเปลือกของดักแดนั้นจะมีกลวงหรือวาง<br />

เปลา หรือเมื่อแกะดูพบวาตัวเต็มวัยตายอยูในดักแด<br />

(ภาพที่<br />

31) สารพิษของเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii ที่ทํ<br />

าใหดักแดของหนอนกระทูผักไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยไดมากที่สุดคือ<br />

ไอโซ<br />

เลท 2429 ซึ่งทํ<br />

าใหดักแดไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได 60% สวนไอโซเลท 2223, 2464,<br />

2494 และ 2542 ทํ าใหดักแดไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได 50% และมีเชื้อราจํ<br />

านวน 25<br />

ไอโซเลท ที่ตัวเต็มวัยสามารถออกจากดักแดไดหมด<br />

เชนไอโซเลท 2214, 2217, 2233, 2242,<br />

2259, 2280, 2283 และ 2301 เปนตน (ตารางที่<br />

19)<br />

86


เมื่อจํ<br />

าแนกเชื้อราออกเปนกลุมตามผลที่เกิดขึ้นกับหนอนกระทูผักเมื่อไดรับสารพิษจาก<br />

เชื้อรา<br />

H. thompsonii เชน หนอนตาย เขาดักแดไมสมบูรณ ตัวเต็มวัยผิดปกติ และดักแดไม<br />

สามารถออกเปนตัวเต็มวัย โดยแยกออกเปน 2 กลุ มคือ กลุมที่ทํ<br />

าใหหนอนแสดงอาการผิดปกติ<br />

โดยรวมนอยกวา 50% และมากกวา 50% พบวา มีเชื้อราจํ<br />

านวน 63 ไอโซเลทซึ่งหลั่งสารพิษที่ทํ<br />

า<br />

ใหหนอนแสดงอาการผิดปกติโดยรวมมากกวา 50% สวนอีก 51 ไอโซเลททํ าใหหนอนเกิดอาการ<br />

ผิดปกติโดยรวมนอยกวา 50% โดยไอโซเลท 2444 ทํ าใหหนอนทุกตัวที่ไดรับสารพิษแสดงอาการ<br />

ผิดปกติทั้งหมด<br />

(100%) และไอโซเลท 2212, 2294, 2429, 2507 และ 2535 ทํ าใหหนอน<br />

แสดงอาการผิดปกติ 90 % (ตารางที่<br />

19)<br />

สารพิษจากเชื้อรา<br />

H. thompsonii มีผลตอทุกระยะของหนอนตั้งแตทํ<br />

าใหหนอนตาย<br />

หรือหนอนไมกินอาหาร ไมเจริญเติบโตและตายในที่สุด<br />

และบางตัวตายในระยะหดตัวกอนเขา<br />

ดักแด สวนหนอนที่รอดจากการตายก็พบวาบางตัวเขาดักแดไมสมบูรณ<br />

สวนหนอนที่เขาดักแดได<br />

ตามปกตินั้นตัวเต็มวัยที่ออกมากลับมีอาการผิดปกติ<br />

เชน ปกหัก ปกหดสั้นบินไมได<br />

ไมสามารถที่<br />

จะผสมพันธุออกลูกออกหลานตอไปได นอกจากนั้นดักแดที่รูปรางเหมือนดักแดปกติอาจไม<br />

สามารถลอกคราบเปนตัวเต็มวัยไดเลย<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวกับการทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษจากเชื้อรา<br />

H. thompsonii ที่หลั่ง<br />

ลงในอาหารเหลวนั้น<br />

สวนมากมีการนํ าไปทดสอบกับแมลงหลายชนิด เชน หนอนกินไขผึ้ง<br />

แมลง<br />

หวี่<br />

ยุง แตปจจุบันก็ยังไมมีรายการการนํ าหนอนกระทูผัก<br />

(S. litura) มาทํ าการทดสอบเลย มีแต<br />

เพียง Lui et al. (1996) ที่นํ<br />

าเซลลของหนอนกระทู<br />

Spodoptera frugiperda (Sf-9) มาทํ าการ<br />

ทดลองกับสารพิษ Hirsutellin A บริสุทธิ์ที่สกัดไดจากเชื้อ<br />

H. thompsonii โดยพบวาสาร<br />

Hirsutellin A ที่ระดับความเขมขน<br />

0.5 และ 5 ไมโครลิตรมีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลได<br />

ทั้งหมดภายใน<br />

4 วัน Marzet and Vey (1995) สกัดสารพิษ Hirsutellin A จากเชื้อรา<br />

H.<br />

thompsonii และทดสอบกับลูกนํ้<br />

ายุง Aedes aegypti Linneaus พบวาลูกนํ้<br />

ายุงที่ไดรับสาร<br />

Hirsutellin A ที่ระดับความเขมขน<br />

20 ไมโครกรัม/ไมโครลิตร จะตาย 100% ภายหลังการ<br />

ทดสอบ 72 ชั่วโมง<br />

87


ก<br />

ข ค<br />

ง จ ฉ<br />

ช ซ<br />

ฌ<br />

ภาพที่<br />

26 ลักษณะการตายของหนอนหลังจากไดรับการฉีดสารพิษ<br />

ก) หนอนวัย 5 ปกติ ข-ค) หนอนวัย 5 ตายเนื่องจากไดรับสารพิษ<br />

ง) หนอนปกติที่มีการหดตัวกอนเขาดักแด<br />

จ-ฌ) หนอนตายในระยะที่มีการหดตัวกอนเขาดักแดเนื่องจากไดรับสารพิษ<br />

88


ภาพที่<br />

27 ภาพขยายเปรียบเทียบหนอนปกติและหนอนที่ไดรับสารพิษ<br />

ก) ผนังลํ าตัวของหนอนปกติ<br />

ข) ผนังลํ าตัวของหนอนที่ไดรับสารพิษ<br />

จะมีจุดสีดํ าเปนจุดๆ<br />

ภาพที่<br />

28 เปรียบเทียบหนอนปกติและหนอนที่ไดรับสารพิษซึ่งมีขนาดลํ<br />

าตัวเล็กเนื่อง<br />

จากไมกินอาหาร<br />

ก<br />

ข<br />

89


ก ข ค<br />

ง<br />

ภาพที่<br />

29 ลักษณะการเขาดักแดไมสมบูรณของหนอนกระทูผัก<br />

ก) ดักแดปกติ ข) การลอกคราบเปนดักแดไดเพียงครึ่งตัว<br />

ค) ดักแดลอกคราบออกมาแลวตาย มีสีดํ าทั้งตัว<br />

ง) ผนังลํ าตัวตรงสวนทองของดักแดเปนสีขาวและไมแข็งแรงเหมือนดักแดปกติ<br />

จ-ฉ) หนอนกํ าลังจะลอกคราบเปนดักแดแตตายกอนซึ่งเห็นเปนดักแดตรงสวนหัว<br />

จ<br />

ฉ<br />

90


ก ข<br />

ง จ<br />

ช<br />

ซ ฌ<br />

ภาพที่<br />

30 ตัวเต็มวัยปกติและตัวเต็มวัยผิดปกติเนื่องจากไดรับสารพิษ<br />

ก) ตัวเต็มวัยปกติ ข) ปกของตัวเต็มวัยมีลักษณะหงิกงอ<br />

ค-จ) ตัวเต็มวัยมีปกสั้นไมสามารถบินได<br />

ฉ-ฌ) ตัวเต็มวัยออกจากดักแดไดเพียงครึ่งตัว<br />

91<br />

ค<br />


ก<br />

ง<br />

ช ซ<br />

ฌ<br />

ภาพที่<br />

31 ดักแดซึ่งมีอายุ<br />

1 เดือนไมสามารถออกเปนตัวเต็มวัยได<br />

ก-ข) ดักแดมีสีนํ้<br />

าตาลเขมจนถึงสีดํ า<br />

ค-ฉ) ดักแดที่มีลักษณะแหงเหี่ยว<br />

ช-ซ) มีตัวเต็มวัยตายอยูภายในดักแด<br />

ฌ) ดักแดที่มีลักษณะปกติ<br />

เมื่อผาดูจะพบวามีลักษณะกลวงหรือวางเปลา<br />

ข<br />

จ ฉ<br />

ค<br />

92


ตารางที่<br />

19 Symptoms of Spodoptera litura (Fabricius) larvae after treated with 20 µl<br />

crude extracts of Hirsutella thompsonii var. synnematosa<br />

Treatments % Larval % Incomplete %Abnormal % Unmolt % Total<br />

mortality pupation adult pupae abnormality<br />

control 0 0 0 0 0<br />

Water injection 0 0 0 0 0<br />

2191 0 0 10 10 20<br />

2196 10 10 0 30 50<br />

2198 10 0 20 30 60<br />

2201 0 20 0 20 40<br />

2203 0 30 0 10 40<br />

2204 0 10 10 40 60<br />

2205 10 20 0 20 50<br />

2206 0 20 10 30 60<br />

2208 10 30 0 20 60<br />

2209 0 0 30 30 60<br />

2210 0 40 0 10 50<br />

2212 10 70 0 10 90<br />

2214 10 30 0 0 40<br />

2215 10 20 0 20 50<br />

2217 20 10 20 0 50<br />

2219 10 20 0 10 40<br />

2220 20 30 10 10 70<br />

2222 20 30 10 0 60<br />

2223 0 0 0 50 50<br />

2229 20 10 0 20 50<br />

2230 0 20 0 20 40<br />

2233 20 20 10 0 50<br />

2241 20 10 20 10 60<br />

2242 30 20 0 0 50<br />

93


ตารางที่<br />

19 (ตอ)<br />

Treatments % Larval % Incomplete %Abnormal % Unmolt % Total<br />

mortality pupation adult pupae abnormality<br />

2246 30 10 0 10 50<br />

2247 0 20 10 30 60<br />

2259 0 0 0 0 0<br />

2262 0 10 0 30 40<br />

2271 20 0 10 30 60<br />

2278 0 10 0 30 40<br />

2280 10 10 20 0 40<br />

2282 0 20 10 30 60<br />

2283 20 10 0 0 30<br />

2284 10 20 0 40 70<br />

2286 10 20 0 30 60<br />

2291 0 30 0 30 60<br />

2293 0 0 10 10 20<br />

2294 20 50 20 0 90<br />

2295 10 40 10 10 70<br />

2296 20 20 0 10 50<br />

2300 20 10 20 10 60<br />

2301 50 0 10 0 60<br />

2392 10 20 0 30 60<br />

2397 0 10 20 0 30<br />

2398 20 20 0 30 70<br />

2399 20 30 10 10 70<br />

2405 30 10 10 0 50<br />

2409 0 20 0 30 50<br />

2425 10 10 10 20 50<br />

2428 30 0 10 20 60<br />

2429 30 0 0 60 90<br />

94


ตารางที่<br />

19 (ตอ)<br />

Treatments % Larval % Incomplete %Abnormal % Unmolt % Total<br />

mortality pupation adult pupae abnormality<br />

2430 0 10 10 10 30<br />

2436 10 10 20 0 40<br />

2437 10 40 0 0 50<br />

2438 0 10 20 30 60<br />

2443 20 0 20 10 50<br />

2444 30 60 0 10 100<br />

2450 30 30 0 10 70<br />

2455 20 10 20 0 50<br />

2456 0 20 0 40 60<br />

2457 30 10 10 10 60<br />

2458 0 10 0 30 40<br />

2459 20 0 20 10 50<br />

2461 10 10 0 0 20<br />

2462 10 0 10 20 40<br />

2464 10 0 0 50 60<br />

2465 0 10 10 20 40<br />

2466 0 0 10 30 40<br />

2475 20 20 10 20 70<br />

2476 0 20 10 40 70<br />

2477 30 0 10 20 60<br />

2479 0 10 10 0 20<br />

2480 40 0 10 0 50<br />

2482 0 30 20 20 70<br />

2485 0 40 0 20 60<br />

2487 10 0 0 20 30<br />

2490 30 20 10 20 80<br />

2493 10 20 0 30 60<br />

95


ตารางที่<br />

19 (ตอ)<br />

Treatments % Larval % Incomplete %Abnormal % Unmolt % Total<br />

mortality pupation adult pupae abnormality<br />

2494 10 10 0 50 70<br />

2497 10 0 0 40 50<br />

2502 20 30 0 20 70<br />

2505 0 20 0 20 40<br />

2507 40 20 10 20 90<br />

2509 20 10 0 40 70<br />

2510 0 0 0 40 40<br />

2513 20 0 0 30 50<br />

2515 10 0 0 40 50<br />

2519 30 20 10 20 80<br />

2524 10 0 10 10 30<br />

2527 10 10 0 0 20<br />

2528 0 0 20 20 40<br />

2532 30 0 0 10 40<br />

2533 0 10 20 10 40<br />

2534 20 0 20 0 40<br />

2535 40 10 20 20 90<br />

2538 0 0 30 10 40<br />

2540 20 10 10 10 50<br />

2542 0 10 0 50 60<br />

2544 0 20 0 20 40<br />

2545 0 10 10 30 50<br />

2551 0 20 0 10 30<br />

2555 0 20 10 30 60<br />

2557 20 20 10 0 50<br />

2559 20 10 10 20 60<br />

2560 0 10 10 20 40<br />

96


ตารางที่<br />

19 (ตอ)<br />

Treatments % Larval % Incomplete %Abnormal % Unmolt % Total<br />

mortality pupation adult pupae abnormality<br />

2562 0 20 20 0 40<br />

2563 20 30 10 0 60<br />

2565 30 20 0 0 50<br />

2566 10 10 10 10 40<br />

2568 20 10 0 30 60<br />

2569 30 10 0 20 60<br />

2573 10 20 10 10 50<br />

2575 10 30 10 10 60<br />

2576 0 0 10 0 10<br />

97


4.2 ประสิทธิภาพของ crude filtrate เขมขน<br />

จากการสุมเลือกเชื้อรา<br />

H. thompsonii จํ านวน 4 ไอโซเลท มาเพิ่มความเขมขนของสาร<br />

พิษ โดยนํ า crude filtrate ที่ไดจากการเลี้ยงในอาหาร<br />

MEB มาตกตะกอนโปรตีนดวยเกลือ<br />

amonium sulphate เขมขน 90% และนํ าตะกอนโปรตีนที่ไดไปกรองดวยกระดาษกรองชนิดพิเศษ<br />

กอนที่จะนํ<br />

าไปฉีดเขาบริเวณขาเทียมคูแรกของหนอนกระทูผัก<br />

(Spodoptera litura (Fabricius))<br />

วัย 4 (20 ไมโครลิตร/ตัว, 10 ตัว/ทรีทเมนต) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพกับ<br />

crude filtrate<br />

ปกติซึ่งไมไดเพิ่มความเขมของสารพิษ<br />

(ขอ 4.1) พบวาการเพิ่มความเขมขนของสารพิษมีผลทํ<br />

า<br />

ใหหนอนแสดงอาการผิดปกติเพิ่มจากเดิมทุกทรีทเมนต<br />

(ตารางที่<br />

20)<br />

หนอนที่ไดรับสารพิษเขมขนจากเชื้อราไอโซเลท<br />

#2233 ทํ าใหหนอนแสดงความผิด<br />

ปกติโดยรวม 90% (ตารางที่<br />

20) ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการฉีดดวยสารพิษที่ไมไดเพิ่มความเขมขนถึง<br />

40% ความผิดปกติที่เพิ่มขึ้นจากเดิม<br />

ไดแก การเขาดักแดไมสมบูรณเพิ่มจาก<br />

20% เปน 30%,<br />

ตัวเต็มวัยผิดปกติเพิ่มจาก<br />

10% เปน 20% และตัวเต็มวัยไมสามารถออกจากดักแดได 20%<br />

crude filtrate ของเชื้อราไอโซเลท<br />

#2278 ที่ไมไดเพิ่มความเขมขน<br />

จะไมทํ าใหหนอน<br />

ตาย และไมทํ าใหตัวเต็มวัยผิดปกติ แตเมื่อนํ<br />

า crude filtrate ดังกลาวมาทํ าการเพิ่มความเขมขน<br />

ของสารพิษแลวนํ าไปฉีดหนอนวัยเดียวกัน พบวา crude filtrate เขมขนมีผลกระทบตอความผิด<br />

ปกติของหนอนถึง 80% (ตารางที่<br />

20) โดยทํ าใหหนอนตายและตัวเต็มวัยผิดปกติ 20% หนอน<br />

เขาดักแดไมสมบูรณเพิ่มจาก<br />

10% เปน 20% และตัวเต็มวัยไมออกจากดักแด 20%<br />

crude filtrate ของเชื้อราไอโซเลท<br />

#2485 เมื่อนํ<br />

ามาทํ าการเพิ่มความเขมขนของสารพิษ<br />

พบวามีผลกระทบตอการเจริญเติบโตของหนอน 100% ซึ่งแตกตางจากการใช<br />

crude filtrate<br />

ปกติซึ่งไมทํ<br />

าใหหนอนตายและไมมีผลทํ าใหตัวเต็มวัยผิดปกติ โดยการเพิ่มความเขมขนของสาร<br />

พิษใน crude filtrate นี้ทํ<br />

าใหหนอนตาย 10% หนอนเขาดักแดไมสมบูรณ 30% ตัวเต็มวัยไม<br />

ออกจากดักแดเพิ่มขึ้นจาก<br />

20% เปน 30% และตัวเต็มวัยผิดปกติ 20% (ตารางที่<br />

20)<br />

การเพิ่มความเขมขนของสารพิษใน<br />

crude filtrate ของเชื้อรา<br />

H. thompsonii ไอโซเลท<br />

#2513 พบวา หนอนแสดงอาการผิดปกติโดยรวม 90% โดยทํ าใหหนอนตายเพิ่มขึ้นจาก<br />

20%<br />

เปน 40%, แตไมมีผลตอการเขาดักแดของหนอน นอกจากนั้นยังทํ<br />

าใหตัวเต็มวัยไมออกจาก<br />

ดักแดเพิ่มขึ้นจาก<br />

30% เปน 40% และมีผลทํ าใหตัวเต็มวัยผิดปกติ 10% (ตารางที่<br />

20)<br />

98


ผลการทดลองครั้งนี้ทํ<br />

าใหทราบวา การเพิ่มความเขมขนของสารพิษมีผลทํ<br />

าใหประสิทธิ<br />

ภาพของสารพิษ ในการทํ าลายแมลงเพิ่มขึ้นทั้งในระยะหนอน<br />

ดักแด และตัวเต็มวัย การเพิ่ม<br />

ความเขมขนของสารพิษใน crude filtrate ไมไดทํ าใหแมลงตายในระยะหนอนทั้งหมดซึ่งแตกตาง<br />

จากรายงานของ Mazet and Vey (1995) ที่ทดสอบประสิทธิภาพของสารพิษบริสุทธิ์<br />

(Hirsutellin A) ซึ่งสะกัดจากเชื้อรา<br />

H. thompsonii var. thompsonii และกลาววา สาร<br />

Hirsutellin A ที่ระดับความเขมขน<br />

25, 50 และ 100 ไมโครกรัม/ไมโครลิตร ทํ าใหหนอนกินไข<br />

ผึ้งวัยสุดทาย<br />

(Galleria mellonella (Linnaeus)) ตายในระยะหนอน 100% หลังไดรับการฉีดสาร<br />

พิษเขาภายในลํ าตัวหนอนเปนเวลา 30, 25 และ 15 ชั่วโมง<br />

ตามลํ าดับ<br />

McCoy et al. (1993) ทํ าการทดสอบความเปนพิษของเชื้อรา<br />

H. thompsonii กับ<br />

แมลงหวี่<br />

โดยเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลวสูตรตางๆ<br />

ซึ่งประกอบดวย<br />

glucose และ yeast extract ใน<br />

ปริมาณตางๆ กัน จากนั้นนํ<br />

า crude filtrate ไปเพิ่มความเขมขนของสารพิษ<br />

5 เทา เมื่อนํ<br />

ามา<br />

ทดสอบกับแมลงหวี่พบวาสูตรอาหารที่ทํ<br />

าใหแมลงหวี่ตายมากที่สุดคือ<br />

สูตรอาหารที่มี<br />

glucose 30<br />

กรัม และ yeast extract 30 กรัม ทํ าใหแมลงหวี่ตาย<br />

78.8%<br />

การศึกษาครั้งนี้ไมไดทํ<br />

าการสกัดสารพิษบริสุทธิ์ออกจาก<br />

crude filtrate เพียงแตเปนการ<br />

ตกตะกอนโปรตีนซึ่งมีสวนของสารพิษที่ทํ<br />

าลายหนอนรวมอยูดวยเทานั้น<br />

การตกตะกอนโปรตีน<br />

อาศัยหลักการในการแยงกันละลายระหวางเกลือกับโมเลกุลของโปรตีน โดยใชเกลือแอมโมเนียม<br />

ซัลเฟตเขาไปแยงโปรตีนในการละลายนํ้<br />

าของ crude filtrate เกลือมีขนาดโมเลกุลที่เล็กกวาโปรตีน<br />

จึงละลายไดดีกวาโปรตีน หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือไอออนของเกลือจะแยงโมเลกุลนํ้<br />

าจากโปรตีน<br />

เมื่อถึงสภาวะที่ปฏิกิริยาระหวางโปรตีนกับนํ้<br />

าเหลือนอยกวาปฎิกิริยาระหวางโปรตีนกับโปรตีน จะ<br />

ทํ าใหโปรตีนตกตะกอนออกมา ซึ่งโปรตีนที่เปนสารพิษทํ<br />

าลายหนอนจะอิ่มตัวที่เกลือแอมโมเนียม<br />

ซัลเฟต 90% เมื่อนํ<br />

าตะกอนโปรตีนที่ไดจากการ<br />

centrifuge ไปละลายอยูในนํ้<br />

ากลั่นเพื่อทํ<br />

าการแยก<br />

เกลือออก (desalted) โดยวิธี dialysis ใหเกลือที่อาจจะปะปนอยูในโปรตีนออกใหหมด<br />

จะไดสาร<br />

พิษที่เขมขนขึ้น<br />

และผลที่ไดจากการทดสอบกับหนอนกระทูผักพบวา<br />

เมื่อสารพิษมีความเขมขน<br />

มากขึ้น<br />

จะทํ าใหหนอนกระทูผักแสดงอาการผิดปกติเพิ่มมากขึ้นดวย<br />

ซึ่งถือวาไดผลเปนที่นาพอใจ<br />

โดยสารพิษสามารถขัดขวางการเจริญเติบโตของหนอนในทุกระยะ ทํ าใหโอกาสที่จะเหลือรอดเปน<br />

ตัวเต็มวัยออกสูธรรมชาติแทบไมมีหรือมีนอยมาก<br />

99


ตารางที่<br />

20 Symptoms of Spodoptera litura (Fabricius) larvae after treated with 20 µl crude extracts and concentrated of H. thompsonii<br />

Treatments % Larval mortality % Incomplete pupation %Abnormal adult % Unmolt pupae % Total abnormality<br />

Increasing crude Increasing crude Increasing crude Increasing crude Increasing crude<br />

concentration filtrate concentration filtrate concentration filtrate concentration filtrate concentration filtrate<br />

control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

Water injection 0 0 0 0 0 0 10 0 10 0<br />

MEB injection 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0<br />

2233 20 20 30 20 20 10 20 0 90 50<br />

2278 20 0 20 10 20 0 20 30 80 40<br />

2485 20 0 30 40 20 0 30 20 100 60<br />

2513 40 20 0 0 10 0 40 30 90 50<br />

100


สรุปผลการทดลอง<br />

101<br />

จากการเก็บตัวอยางเชื้อราทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช ในเขตอํ าเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี<br />

ระหวางเดือน พฤศจิกายน 2544-พฤศจิกายน 2545 พบซากไรสี่ขาในวงศ<br />

Eriophyidae และ<br />

Diptilomiopidae 69 และ 40 ตัวอยาง ตามลํ าดับ และไรแมงมุมในวงศ Tetranychidae จํ านวน 5<br />

ตัวอยาง ชวงที่พบซากไรที่มีเชื้อรามากที่สุดคือเดือนตุลาคม-มีนาคม<br />

เมื่อนํ<br />

าเชื้อราที่รวบรวมได<br />

มาแยกเชื้อใหบริสุทธิ์ไดทั้งหมด<br />

114 ไอโซเลท และทํ าการวิเคราะหชนิดแลวพบวาเปนเชื้อ<br />

Hirsutella thompsonii สวนใหญคือ var. synnematosa ซึ่งเปนสายพันธุที่มีถิ่นกํ<br />

าเนิดอยูในแถบ<br />

รอน เชื้อราเหลานี้สามารถที่จะนํ<br />

ามาขยายพันธุใหไดปริมาณมากบนวุนอาหารและในอาหารเหลว<br />

จากการศึกษาการเจริญเติบโตและลักษณะโครงสรางของเชื้อราทํ<br />

าใหทราบวา เชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii var. synnematosa มีลักษณะเดนที่ทํ<br />

าใหแยกออกจากสายพันธุอื่นคือ<br />

มี<br />

ความสามารถในการสราง synnemata บนอาหาร MEA การสราง synnemata นี้ยังไมพบในธรรม<br />

ชาติ เชื้อรานี้มีโครงสรางสืบพันธุ<br />

(conidiogenous cell) เรียกวา phialide ซึ่งมีทั้งแบบ<br />

monophialidic และ polyphialidic กานชูที่รองรับ<br />

conidia มีลักษณะเปนทอเปดออกมาจาก<br />

phialide เรียกวา conidiophore ซึ่งพบไดตั้งแต<br />

1-6 กาน เชื้อราจํ<br />

านวน 59 ไอโซเลท มีการสราง<br />

polyblastic conidiogenous cell (holoblastic) ดวย เมื่อปริมาณอาหารลดนอยลงเชื้อราเริ่มขาด<br />

แคลนอาหาร และจะสราง chlamydospore เพื่อรอใหมีอาหารเพียงพอจึงจะขยายพันธุตอไปได<br />

จะ<br />

เห็นไดวาเชื้อราชนิดนี้มีกลไกในการรักษาตัวเองใหอยูรอดในธรรมชาติไดหลายแบบซึ่งจะเปนผล<br />

ดีในแงการใชเชื้อรามาควบคุมศัตรูพืชในธรรมชาติ<br />

การศึกษาปริมาณ conidia โดยวิธี direct count และ viable plate count พบวาเชื้อรา<br />

ไอโซเลท 2220 สามารถผลิต conidia ไดมากที่สุดโดยใหปริมาณ<br />

conidia 191.68x10 4<br />

conidia/ตารางเซนติเมตร และ 181.70x10 4 CFU/ตารางเซนติเมตร ตามลํ าดับ conidia เปนสิ่ง<br />

สํ าคัญที่เขาทํ<br />

าลายไรศัตรูพืช ดังนั้นเชื้อราไอโซเลท<br />

2220 ซึ่งใหปริมาณ<br />

conidia มากกวาเชื้อราไอ<br />

โซเลทอื่นๆ<br />

จึงเหมาะสมที่จะนํ<br />

าไปพัฒนาเพื่อใชในการควบคุมศัตรูพืชตอไป<br />

เนื่องจาก<br />

conidia<br />

เปน infective unit ที่สํ<br />

าคัญในการกอโรคกับแมลงและไร โดย conidia จะเกาะติดผนังลํ าตัวสวน<br />

ใดสวนหนึ่ง<br />

จากนั้นจะงอก<br />

germ tube แทงทะลุผนังลํ าตัวไร และใชเนื้อเยื่อในลํ<br />

าตัวแมลงและไร<br />

เพื่อเจริญเติบโตและแพรกระจายอยางรวดเร็ว<br />

การเลี้ยงเชื้อราในอาหารเหลว<br />

MEB เปนเวลา 4 วันไดนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหงของ<br />

เชื้อราแตกตางกันโดย<br />

เชื้อราไอโซเลท<br />

2459 ใหนํ้<br />

าหนักมวลชีวภาพอบแหงมากที่สุดคือ<br />

0.93<br />

กรัม/MEB 50 มิลลิลิตร และทํ าใหอาหารเหลวมีคาความเปนกรด-ดางเทากับ 8.6 ในอนาคต


102<br />

สามารถนํ าเชื้อราไอโซเลท<br />

2459 มาพัฒนารูปแบบการหมักเชื้อราใหไดปริมาณมากขึ้น<br />

สํ าหรับนํ า<br />

ไปใชทดสอบในสภาพไรได<br />

การศึกษาประสิทธิภาพของสารพิษที่เชื้อรา<br />

H. thompsonii สรางขึ้นในอาหาร<br />

MEA<br />

พบวา สารพิษมีผลตอทุกระยะการเจริญเติบโตของหนอนตั้งแตทํ<br />

าใหหนอนตาย หรือหนอนไมกิน<br />

อาหาร ไมเจริญเติบโตและตายในที่สุด<br />

และบางตัวตายในระยะหดตัวกอนเขาดักแด หนอนที่รอด<br />

จากการตายบางตัวเขาดักแดไมสมบูรณ หนอนที่เขาดักแดสมบูรณนั้นตัวเต็มวัยที่ออกมากลับมี<br />

อาการผิดปกติ เชน ปกหัก ปกหดสั้น<br />

บินไมได ไมสามารถที่จะผสมพันธุออกลูกออกหลานตอไป<br />

ได และดักแดที่รูปรางเหมือนดักแดปกติอาจไมสามารถลอกคราบเปนตัวเต็มวัยไดเลย<br />

ซึ่งเกิด<br />

เนื่องมาจากสารพิษไปยับยั้งขบวนการสรางโปรตีนของหนอน<br />

และมีผลตอระบบขับถายโดยตรง<br />

คือจะไปยับยั้งการขับถายของเสียพวกไนโตรเจน<br />

สารพิษจากเชื้อราไอโซเลท<br />

2444 มีผลกระทบ<br />

ตอการเจริญเติบโตของหนอนกระทูผัก<br />

100% และจากการเพิ่มปริมาณความเขมขนของ<br />

crude<br />

filtrate ของเฃื้อราไอโซเลท<br />

2233, 2278, 2485 และ 2513 ทํ าใหอัตราการเจริญเติบโตผิดปกติ<br />

ของหนอนกระทูผักเพิ่มขึ้นจากเดิมถึง<br />

40% โดยเชื้อราไอโซเลท<br />

2485 ทํ าใหหนอนตาย 100%<br />

ซึ่งหากมีการนํ<br />

าเชื้อราไอโซเลท<br />

2485 มาศึกษาคนควาและแยกสารบริสุทธิ์เพื่อใชในการกํ<br />

าจัด<br />

ศัตรูพืชตอไป จะกอใหเกิดประโยชนอยางยิ่งแกเกษตรกรไทย<br />

และจะชวยลดปริมาณการใชสาร<br />

เคมีไดเปนอยางดี


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กองกีฏและสัตววิทยา. 2544. คู มือตรวจแมลง ไร และสัตวศัตรูพืชเศรษฐกิจ. โรงพิมพคุรุ<br />

สภาลาดพราว, กรุงเทพฯ. 275 น.<br />

103<br />

เทวินทร กุลปยะวัฒน และ พิเชฐ เชาวนวัฒนวงศ. 2544. หลักการปองกันกํ าจัดไรศัตรูพืช,<br />

น. 146-165. ใน ไรศัตรูพืชและการปองกันกํ าจัด. กลุมงานวิจัยไรและแมงมุม,<br />

กองกีฏ<br />

และสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

ปยรัตน เขียนมีสุข. 2542. แมลงศัตรูผัก. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศ<br />

ไทย,กรุงเทพฯ. 97 น.<br />

มานิตา คงชื่นสิน.<br />

2544. การควบคุมไรศัตรูพืชโดยใชไรตัวหํ า, ้ น. 200-207. ใน สุวัฒน รวยอารี,<br />

บรรณาธิการ. เทคโนโลยีทางเลือกสํ าหรับ “ไอ พี เอ็ม”. กองกีฏวิทยา กรมวิชาการเกษตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

มานิตา คงชื่นสิน,<br />

วัฒนา จารณศรี, ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย และ เทวินทร กุลปยะวัฒน. 2532.<br />

ชีววิทยาของไรสองจุด Tetranychus urticae Koch ศัตรูสตรอเบอรี่และไรตัวหํ้<br />

า Amblyseius<br />

longispinosus (Evan). ว.กีฏ.สัตว. 11(4): 195-204.<br />

รัตนา นชะพงษ. 2544. การใชแตนเบียนไข Trichogramma confusum Viggiani ควบคุมหนอนกอลาย<br />

เล็กและหนอนกอลายใหญทํ าลายออย, น. 212-215. ใน สุวัฒน รวยอารี, บรรณาธิการ.<br />

เทคโนโลยีทางเลือกสํ าหรับ “ไอ พี เอ็ม”. กองกีฏวิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.<br />

วัฒนา จารณศรี. 2544ก. ความรูทั่วไปเกี่ยวกับไร,<br />

น. 1-16. ใน ไรศัตรูพืชและการปองกัน<br />

กํ าจัด. กลุ มงานวิจัยไรและแมงมุม, กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพ<br />

ชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ.<br />

วัฒนา จารณศรี. 2544ข. ไรศัตรูพืชที่สํ<br />

าคัญในประเทศไทย, น. 17-134. ใน ไรศัตรูพืชและ<br />

การปองกันกํ าจัด. กลุมงานวิจัยไรและแมงมุม,<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการ<br />

เกษตร. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ.


ศานิต รัตนภุมมะ. 2546. กีฏวิทยาแมบท. สิรินาฎการพิมพ, เชียงใหม. 497 น.<br />

องุน<br />

ลิ่ววานิช.<br />

2544. ผีเสื้อและหนอน.<br />

กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร,<br />

กรุงเทพฯ. 230 น.<br />

อังศุมาลย จันทราปตย. 2528ก. ไรศัตรูพืช, น. 170-191. ใน เรื่องนารู<br />

สํ าหรับประชาชนเลมที่<br />

11.<br />

ชมรมนักเรียนทุนมูลนิธิ “อานันทมหิดล”. หางหุ นสวนจํ ากัด ป. สัมพันธพานิชย, กรุงเทพๆ.<br />

. 2528ข. รายงานการวิจัยเรื่องไรสนิมสมในประเทศไทย<br />

(Prostigmata:<br />

Eriophyidae) (เอกสารอัดสํ าเนา). 23 น.<br />

. 2530. ชีววิทยาและนิเวศวิทยาบางประการของไรสนิมสม, น. 109-<br />

127. ใน ปญหาแมลงปากดูดและไรที่สํ<br />

าคัญของพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย. การ<br />

ประชุมทางวิชาการในโอกาสประชุมใหญสามัญประจํ าป 2530. สมาคมกีฏและสัตววิทยา<br />

แหงประเทศไทย, กรุงเทพฯ.<br />

. 2534. ไรตัวหํ า, ้ น. 170-191. ใน เรื่องนารู<br />

สํ าหรับประชาชนเลมที่<br />

17.<br />

ชมรมนักเรียนทุนมูลนิธิ “อานันทมหิดล”. หางหุ นสวนจํ ากัด ป. สัมพันธพานิชย, กรุงเทพๆ.<br />

. 2543ก. รายงานสถานภาพของงานดานอนุกรมวิธานของไรสี่ขาในประเทศ<br />

ไทย เสนอตอโครงการพัฒนาองคความรู และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพใน<br />

ประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 69 น.<br />

. 2543ข. รายงานการศึกษาชนิด ชีววิทยาและการแพรกระจายของไรสี่ขาใน<br />

ภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศไทย เสนอตอโครงการพัฒนาองคความรู และศึกษา<br />

นโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย. ภาควิชากีฏวิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตร<br />

ศาสตร, กรุงเทพฯ. 108 น.<br />

อังศุมาลย จันทราปตย และ อุไรวรรณ ดิลกคุณานันท. 2532. รายงานการวิจัยการใชเชื<br />

้อรา<br />

Hirsutella thompsonii (Fissher) กับไรสนิมสม Phyllocoptruta oleivora (Ashmead)<br />

(เอกสารอัดสํ าเนา). 48 น.<br />

104


อังศุมาลย จันทราปตย, จิระเดช แจมสวาง และ ปราโมทย ศิริโรจน. 2540. การพัฒนา<br />

เทคโนโลยีการหมักและรูปแบบของเชื้อรา<br />

Hirsutella thompsonii var. synnematosa<br />

เพื่อใชควบคุมไรศัตรูพืชในประเทศไทย.<br />

รายงานการวิจัย โครงการวิจัย พัฒนาและ<br />

วิศวกรรม. 133 น.<br />

อุทัย เกตุนุติ. 2544. การควบคุมแมลงศัตรูพืชดวยเชื้อ<br />

Bacillus thuringiensis และไวรัส Nuclear<br />

Polyhedrosis Virus, น. 178-184. ใน สุวัฒน รวยอารี, บรรณาธิการ. เทคโนโลยีทางเลือก<br />

สํ าหรับ “ไอ พี เอ็ม”. กองกีฏวิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.<br />

อภิญญา รุจิธารณวงศ. 2543. ความสํ าคัญของสารกํ าจัดศัตรูพืชและปญหาจากการใช, น. 1-<br />

8. ใน คู มือผูควบคุมการขายวัตถุอันตรายทางการเกษตร.<br />

ฝายสารวัตรเกษตร, กอง<br />

ควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร, กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.<br />

อัมพร วิโนทัย. 2544. การควบคุมหนอนชอนใบสกุล Liriomyza โดยแมลงวันตัวหํ า ้ Coenosia,<br />

น. 216-223. ใน สุวัฒน รวยอารี, บรรณาธิการ. เทคโนโลยีทางเลือกสํ าหรับ “ไอ พี เอ็ม”.<br />

กองกีฏวิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ.<br />

105<br />

Amrine, J.W. Jr., T.A.H. Stasny and C.H.W. Flechtmann. 2003. Revised Keys to World<br />

Genera of Eriophyoidea (Acari: Prostigmata). Indira Publishing House, USA. 244<br />

p.<br />

Baker, E.W. 1975. Plant feeding mites of Thailand (Tetranychidae, Tenuipalpidae, and<br />

Tuckerellidae.) Plant Protect. Service Technical Bulletin. No. 35. Department of<br />

Agricuture, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok. UNDP/FAO THA<br />

68/526. 43 p.<br />

Baker, J.R. and H.H. Neunzig. 1968. Hirsutella thompsonii as a fungus parasite of the<br />

blueberry bud mite. J. Econ. Entomol. 61: 1117-1118.<br />

Banziger, H. 1982. Fruit-piercing moths (Lep., Noctuidae) in Thailand: A general<br />

survey and some new perspectives. Bull. Soc. Ent. Swisse. 55: 213-240.


Barbosa, P. 1993. Lepidoptera foraging on plants in agroecosystems: Constrainst and<br />

consequences, pp. 523-566. In N. Stamp and T. Casey, eds. Ecological and<br />

Evolutionary Constraints of Caterpillars. Chapman & Hall, New York.<br />

Bin-Cheng Zhang. 1994. Index of Economically Important Lepidoptera. CAB<br />

international, UK. 599 p.<br />

Boczek, J.H., V.G. Shevtchevtchenko and R. Davis. 1989. Generic Key to World Fauna<br />

of Eriophyid Mites (Acarida: Eriophyoidea). Warsaw Agri. Univ. Press, Warsaw,<br />

Poland. 192 p.<br />

Botrell, D.R. 1979. Integrated Pest Management. Government Printing Office,<br />

Washington, D.C. 120 p.<br />

Boucias, D.G., and J.C. Penland. 1998. Principles of Insect Pathology. Kluwer<br />

Academic Publishers, USA. 537 p.<br />

Boudreaux, H.B. 1963. Biological aspects of some phytophagous mites. Annu. Rev.<br />

Entomol. 8: 137-154.<br />

Carner, G.R. 1976. A description of the life cycle of Entomophthora sp. in the twospotted<br />

spider mite. J. Invertebr. Pathol. 28: 245-254.<br />

Charanasri, V., A. Bhandhufalck and C. Saringkaphaibul. 1977. Mites associated with<br />

economic crops of Thailand. Thai. J. Agr. Sci. 10(2): 81-89.<br />

106<br />

Chazeau, J. 1985. Predaceous Insects, pp. 211-246. In W. Hell and M.W. Sabelis, eds.<br />

World Crop Pests, Spider Mites: Their Biology, Natural Enemies and Control.<br />

Elsevier Science Publishing Company Inc., New York.<br />

Chen, X.Y., Z.Y. Zhang and J.H. Li. 1996. Study on the bionomics and control of<br />

Tetranychus truncatus Ehara. Scaintia Silvae Sinicae 32:144-149.


107<br />

Chernin, L., A. Gafni, R. Mozes-Koch, U. Gerson and A. Sztejnberg. 1997. Chitinolytic<br />

activity of the acaropathogenic fungi Hirsutella thompsonii and Hirsutella necatrix.<br />

Can. J. Microbiol. 43: 440-446.<br />

Cranham, J.E. and W. Helle. 1985. Pesticide Resistance in Tetranychidae, pp. 405-421.<br />

In W. Helle and M.W. Sabelis, eds. Spider Mite, Their Biology, Natural Enemies<br />

and Control. Elsevier Science Publishing Company Inc., New York.<br />

Devi, P.S.V. 1995. Soil treatment with Nomuraea rileyi: a promising technique for<br />

control of Spodotera litura on groundnut. Bio. Sci. Tech. 5: 361-364.<br />

Dillon, R.J. and C. Charnley. 1991. The fate of fungal spores in the insect gut, pp. 129-<br />

156. In G.T. Cole and H.C. Hoch, eds. The Fungal Spore and Disease Initiation in<br />

Plants and Animals. Plenum Press, New York.<br />

Duan, J.J., R. H. Messing. 2000. Evaluating nontarget effects of classical biological<br />

control: fruit fly parasitoids in Hawaii as a case study, pp. 97-109. In P.A. Follett<br />

and J.J. Duan, eds. Nontarget Effects of Biological Control. Kluwer Academic<br />

Publishers, USA.<br />

Ehara, S. and T. Wongsiri. 1975. The spider mites of Thailand (Acarina: Tetranychidae)<br />

Mushi. 13: 149-185.<br />

Eisemann, C.H. and K.C. Binnington. 1994. The peritrophic membrane: its formation,<br />

structure, chemical composition and permeability in relation to vaccination against<br />

ectoparasitic arthropods. Int. J. Parasitol. 24(1): 15-26.<br />

Evans, E.W. and S. England 1996. Indirect interactions in biological control of insect:<br />

pests and natural enemies in alfalfa. Ecological Applications 6: 920-930.<br />

Evans, G.O. 1992. Principles of Acarology. University Press, Cambridge. 563 p.


Falcon, L.A. 1985. Development and use of microbial insecticides, pp. 229-242. In<br />

M.A. Hoy and D.C. Herzog, eds. Biological Control in Agricultural IPM System.<br />

Academic Press, New York.<br />

Ferron, P., J. Fargues and G. Riba. 1991. Fungi as microbial insecticides against pests,<br />

pp. 665-706. In D.K. Arora, L. Ajello and Mukerji, eds. Handbook of Applied<br />

Mycology. Marcel Dekker, New York.<br />

Fisher, F.E. 1950. Two new species of Hirsutella Patouillard. Mycologia 42: 290-297.<br />

108<br />

Follett, P.A. 2000. Parasitoid driff in hawaiian pentatomoids, pp. 76-93. In P.A. Follett<br />

and J.J. Duan, eds. Nontarget Effects of Biological Control. Kluwer Academic<br />

Publishers, USA.<br />

Food and Agriculture Organization (FAO). 1982. Production Yearbook, F.A.O. Rome,<br />

Italy. 482 p.<br />

Fuka, J.R. 1998. Enviromental manipulation for microbial control of insects, pp. 255-<br />

267. In P. Barbosa, ed. Conservation Bioligical Control. Academic press, USA.<br />

Gerson, U., R. Kenneth and T.I. Muttath. 1979. Hirsutella thompsonii, a fungal pathogen<br />

of mites. II Host- pathogen interactions. Ann. Appl. Biol. 91: 29-40.<br />

Gillott, C. 1980. Entomology. Plenum press, London. 729 p.<br />

Goldson, S.L., B.I.P. Barratt, N.D. Barlow and C.B. Phillips. 1998. What is a safe<br />

biological control agent?, pp. 530-538. In M. Zalucki, R. Drew, and G. White eds.<br />

The Cooperative Research Centre for Tropical Pest Management. Brisbane,<br />

Australia.<br />

Goodwin, S. and E. Schicha. 1979. Discovery of the predatory mite Phytoseiulus<br />

persimilis Athias-Henriot (Acarina: Phytoseiidae) in Australia. J. Aust. Entomol.<br />

Soc. 18: 304-308.


Greany, P.D., J.H. Tumlinson, D.L. Chambers, and G.M. Boush. 1997. Chemically<br />

mediated host finding by Fopius (Opius) longicaudatus, a parsitoid of tephritid friut<br />

fly larvae. J. Chem. Ecol. 3: 189-195.<br />

Gupta, S., C. Montillor and Y.S. Hwang. 1995. Isolation of novel beauvericin analogues<br />

from the fungus Beauveria bassiana. J. Nat. Prod. 58: 733-738.<br />

Hajek, A.E. and L. Butler. 2000. Predicting the host range of entomopathogenic fungi,<br />

pp. 263-276. In P.A. Follett and J.J. Duan, eds. Nontarget Effects of Biological<br />

Control. Kluwer Academic Publishers, USA.<br />

Hajek, A.E. and R.J. St. Leger. 1994. Interaction between fungal pathogens and insect<br />

hosts. Annu. Rev. Entomol. 39: 293-322.<br />

Hall, R.A. 1981. The fungus Verticillium lecacii as a microbial insecticide of aphid and<br />

scales, pp. 483-498. In H.D. Burges, Ed. Microbial Control of Pest and Plant<br />

Diseases 1970-80. Acad. Press, London.<br />

Hall, R.A., N.W. Hussey and D. Mariau. 1980. Result of a survey of biological control<br />

agents of the coconut mite, eriophyes guereronis. Oleagineux 35 (8-9): 395-400.<br />

Harris, O. 1990. Environmental impact of introduced biological control agents, pp. 289-<br />

299. In M. Mackauer, L. E. Ehler and J.Roland, eds. Critical Issues in Biological<br />

Control. Intercept Ltm., Andover, UK.<br />

Heinz, K.M., and J.M. Nelson. 1996. Interspecific interactions among natural enemies of<br />

Bemisia in an inundative biological control program. Biol. Control. 6: 384-394.<br />

Helle, W. 1965. Resistance in the Acarina : Mites, pp. 71-89. In J.A. Naegele, ed.<br />

Advances in Acarology. Cornell Univ., Ithaca, New York.<br />

Helle, W. and M.W. Sabelis. 1985. Spider Mites, Their Biology: Natural Enemies and<br />

Control (World Crop Pests: 1B). Amsterdam, Elsevier. 458 p.<br />

109


Hendrich, M.A. and J. Hendrichs. 1998. Perfumed to be killed: interception of<br />

Mediteranean fruit fly (Diptera: Tephritidae) sexual signaling by predatory foraging<br />

wasps (Hymenoptera: Vespidae). Ann. Ent. Soc. Amer. 91: 228-234.<br />

Holloway, J.D., J.D. Bradley and D.J. Carter. 1987. C.I.E Guides to Insects of<br />

Importance to Man 1. Lepidoptera. C.A.B International Institute of Entomology,<br />

British Museum Natural, London. 262 p.<br />

110<br />

Hough-Goldstein, J. 1998. Use of predatory pentatomids in integrated management of the<br />

Colorado potato beetle (Coleoptera: Chrysomelidae), pp. 209-223. In M. Coll and<br />

J.R. Ruberson, eds. Predatory Heteroptera: Their Ecology and Use in Biological<br />

Control. Lanham, Maryland.<br />

Howarth, F.G. 1991. Environmental impacts of classical biological control. Annu. Rev.<br />

Entomol. 36: 485-509.<br />

. 1992. Environmental impacts of species purposefully introduced for<br />

biological control of pests. Pacific Sci. 46: 388-389.<br />

Howse, P.E., I.D.R. Stevens and O.T. Jones. 1998. Insect Pheromones and their Use in<br />

Pest Management. Chapman&Hall, London. 369 p.<br />

Hoyt, S.C. 1969. Integrated chemical control of insect and biological control of mite on<br />

apple in Washington. J. Econ. Entomol. 62: 74-86.<br />

Hughes, S.J. 1953. Conidiophores, conidia and classification. Can. J. Bot. 31: 577-<br />

659.<br />

Humber, R.A. 1997. Fungi: identification, pp. 153-185. In L.A. Lacey, ed. Manual of<br />

Techniques in Insect Pathology. Academic Press, London.


Ignoffo, C.M., W.M. Baker and C.W. McCoy. 1973. Lack of per os toxicity or<br />

pathogenicity in rats fed the fungus Hirsutella thompsonii. Entomophaga 18 : 333-<br />

335.<br />

Inglis, G.D., M.S. Goettel, T.M. Butt and H. Strasser. 2001. Use of Hyphomycetous<br />

fungi for managing insect pest, pp. 23-29. In T.M. Butt, C.W. Jackson and N.<br />

Magan, eds. Fungi as Biocontrol Agents Progress, Problems and Potential. CABI<br />

Publishing, UK.<br />

James, P.J., M.J. Kershaw, S.E. Reynolds and A.K. Charnley. 1993. Inhibition of desert<br />

locust (Shistocerca gregaria) Malpighian tubule fluid secretion by destruxins, cyclic<br />

peptide toxins from the insect pathogenic fungus Metarhizium anisopliae. J. Insect<br />

Physiol. 39: 797-804.<br />

Jeppson, L.R., H.H. Keifer and E.W. Baker. 1975. Mites Injurious to Economic Plants.<br />

University of Califonia Press, Berkeley, USA. 614 p.<br />

Jepson, P.C. 1989. “Pesticides and Non-target Invertebrates.” Intercept. Andover<br />

Hants, U.K.<br />

Kanaoka, M., A. Isogai, S. Murakoshi, M. Ichione, A. Suzuki and S. Tamura. 1978.<br />

Bassianolide, a new insecticidal cylcodepsipeptide from Beauveria bassiana and<br />

Verticillium lecanii. Agri. Biol. Chem. 42: 629-635.<br />

Kawabe, A. 1989. Records and description of the Subfamily Olethreutinae (Lepidoptera:<br />

Tortricidae) from Thailand. Microlep. of Thai. 2: 23-82.<br />

Keifer, H.H., E.W. Baker, T. Kono, Delfinado and W.E. Styer. 1982. An Illustrated<br />

Guide to Plant Abnormalities Caused by Eriophyoid Mites in North America.<br />

USDA Agric. Handbook. 178 p.<br />

Kenneth, R., T.I. Muttath and U. Gerson. 1979. Hirsutella thompsonii, a fungal pathogen<br />

of mite. I. Biology of the fungus in vitro. Ann. Appl. Biol. 91: 21-28.<br />

111


Kerban, R., R. Adamchak and W.C. Schnathorst. 1987. Induced resistance and<br />

interspecific competition between spider mites and a vascular wilt fungus. Science<br />

235: 678-680.<br />

112<br />

Khetan, S.K. 2001. Microbial Pest Control. Marcel Dekker, Inc., New york, USA. 300<br />

p.<br />

Knutson, L. and J.R. Coulson. 1997. Procedures and policies in the USA regarding<br />

precautions in the introduction of classical biological control agents, pp. 133-142.<br />

In I.M. Smith, ed. EPPO/CABI Workshop on Safety and Efficacy of Biological<br />

Control in Europe. Blackwell Science Ltd., Oxford, UK.<br />

Kogan, M. 1998. Integrated pest management: historical perspectives and contemporary<br />

development. Annu. Rev. Entomol. 43: 243-270.<br />

Kononenko, V.S. 1990. Synonymic check list of the Noctuidae of the Primorye Territory<br />

the far east of U.S.S.R. Tinea 13: 1-40.<br />

Krantz, G.W. 1978. A Manual of Acarology. 2 nd ed. O.S.U. Book Stores Inc.,<br />

Corvallis, Oregon. 509 p.<br />

Kuroko, H. and A. Lewvanich. 1993. Lepidopterous Pests of Tropical Fruit Trees in<br />

Thailand. Japan International Cooperation Agency. Japan. 132 p.<br />

Landolt, P.J. and A.L. Averill. 1999. Fruit flies, pp. 3-25. In J. Hardie and A.K.<br />

Minks, eds. Pheromones of Non-Lepidopteran Insects Associated with Agricultural<br />

Plants. CABI Publishing, UK.<br />

Latge, J.P., R.L.C. Cabrera and M.C. Pre’ vost. 1988. Microcycle conidiation in<br />

Hirsutella thomsonii. Can. J. Microbiol. 34: 625-630.<br />

Letourneau, D.K. 1998. Conservation biology: lessons for conserving natural enemies, pp.<br />

9-38. In P. Barbosa, ed. Conservation Biological Control. Academic press, USA.


113<br />

Lewis, G.C., A.J. Heard, B.L. Bredy and D.W. Minter. 1981. Fungal parasitism of the<br />

eriophyid mite vector of ryegrass mosaic virus, pp. 101-111. In Proceedings 1981<br />

British crop Protection Conference-Pests and Diseases.<br />

Lipa, J.J. 1971. Microbial Control of Mites and Ticks. Academic Press, Inc., London.<br />

Liu, J.C., D.G. Boucias, J.C. Pendland, W.Z. Liu and J. Maruniak. 1996. The mode of<br />

action of hirsutellin A on eukaryotic cells. J. Invertebr. Pathol. 67: 24-228.<br />

Liu, W. Z., D.G. Boucias and C.W. McCoy. 1995. Extraction and characterization of the<br />

insecticidal toxin Hirsutellin A produced by Hirsutella thompsonii var. thompsonii<br />

Exp. Mycol. 19: 254-262.<br />

Locke, M. 1984. The structure of the insect cuticle, pp. 38-53. In D.W. Roberts and<br />

J.R. Aist, eds. Infection Processes of Fungi. CABI Publishing, UK.<br />

Lockwood, J.A. 2000. Nontarget effects of biogical control: what are we trying to miss?,<br />

pp. 14-30. In P.A. Follett and J.J. Duan, eds. Notarget effects of Biological<br />

Control. Kluwer Academic Publishers, USA.<br />

Maimala, S., A. Tartar, D. Boucias and A. Chandrapatya. Detection of the toxin Hirsutellin<br />

A from Hirsutella thompsonii. J. Invertebr. Pathol. 80: 112-126.<br />

Main, E.B. 1951. Entomogenous species of Hirsutella, Tilachlidium and Synematium.<br />

Mycologia 43: 691-717.<br />

Manson, D.C.M. 1963. Mites of the families Tetranychidae and Tenuipalpidae associated<br />

with citrus in South East Asia. Acarologia 5: 351-364.<br />

Martin, P.B., P.D. Lingren, G.L. Greene and E.E. Grissell. 1981. The parasitoid complex<br />

of three noctuids in a northern Florida cropping system: seasonal occurrence,<br />

parasitization, alternate hosts, and influence of host habitat. Entomophaga 26: 401-<br />

419.


114<br />

Mazet, I. 1992. Recherches sur les hirsutellines, toxines proteiques produites par<br />

Hirsutella thompsonii Fisher, champignon parasite d’acariens phytophages. Doctoral<br />

dissertation, University of Montpellier, France. 135 p.<br />

Mazet, I. and A. Vey. 1995. Hirsutelin A, a toxin protein produced in vitro by Hirsutella<br />

thompsonii. Microbiol. 141: 1343-1348.<br />

McCoy, C.W. 1978a. Entomopathogens in arthropod pest control programs for citrus, pp.<br />

211-224. In G.E. Allen, C.M. Ignoffo, R.P. Jaques, eds. Microbiobial Control of<br />

Insect Pests: Future Strategies in Pest Management Systems. NSF-USDA, Univ. of<br />

Florida, Gainesville, USA.<br />

. 1978b. Studies on the development of Hirsutella thompsonii: as a fungal<br />

microbial miticide, pp. 84-101. In Proc. US/USSR Conf. Microbiol. Cont. Pest<br />

Agric.<br />

. 1981. Pest control by the fungus Hirsutella thompsonii, pp. 499-512.<br />

In H.D. Burges, ed. Microbial Control of Insects and Mites. Vol. 2. Academic<br />

Press, London, England.<br />

. 1985. Citrus: Current Status of Biological control in Florida, pp. 481-<br />

499. In M.A. Hoy and D.C. Herzog, eds. Biological Control in Agricultural IPM<br />

System. Acad. Press, Inc., Orlando, Florida.<br />

McCoy, C.W. and T.L. Couch. 1978. Hirsutella thompsonii: A Potential Mycoacaricide.<br />

Developments Industrial Microbiol. 20: 89-96.<br />

. 1982. Microbial control of the citrus rust mite with the<br />

mycoacaricide, Mycar ® . Fla. Entomol. 65(1): 116-126.<br />

McCoy, C.W. and A.M. Heimpel. 1980. Safety of the potential mycoacaricide, Hirsutella<br />

thomsonii to vertebrates. Env. Entomol. 9: 47-49.


115<br />

McCoy, C.W. and R.F. Kanavel. 1969a. Isolation of Hirsutella thompsonii from the citrus<br />

rust mite, Phyllocoptruta oleivora, and its cultivation on various sythetic media. J.<br />

Invertebr. Pathol. 14(3): 386-390.<br />

. 1969b. Isolation of Hirsutella tompsonii and its potential<br />

use for control of the citrus rust mite in Florida. Proc. Inter. Citrus. Congr. 2: 521-<br />

527.<br />

McCoy, C.W. and A.G. Selhime. 1977. The fungus pathogen, Hirsutella thompsonii and<br />

its potential use for control of citrus rust mite in Florida. Proc. Inter. Citrus. Congr.<br />

2: 521-527.<br />

McCoy, C.W., T.L. Couch and R. Weatherwax. 1978. A simplified medium for the<br />

production of Hirsutella thompsonii. J. Invertebr. Pathol. 31: 137-139.<br />

McCoy, C.W., A.J. Hill and R.F. Kanavel. 1972. A liquid medium of the large scale<br />

production of Hirsutella thompsonii in submerged culture. J. Invertebr. Pathol. 19:<br />

370-374.<br />

McCoy, C.W., A.J. Hill and R.F. Kanavel. 1975. Large-scale production of the fungal<br />

pathogen Hirsutella thompsonii in submerged culture and its formulation for<br />

application in the field. Entomophaga. 20: 229-240.<br />

McCoy, C.W., R.A. Samson and D.G. Boucias. 1988. Entomogenous fungi, pp. 151-<br />

236. In C.M. Ignoffo, ed. CRC Handbook of Natural Pesticide, Vol. 5 Microbial<br />

insecticide, Part A, Entomogenous Protozoa and Fungi. CRC Press, Boca Raton,<br />

Florida.<br />

McCoy, C.W., A. Vey and I. Mazet. 1993. Metabolic toxin of the fungus, Hirsutella<br />

thompsonii var. thompsonii . J. Invertebr. Pathol. 61(2): 131-137.


McCoy, C.W., A.G. Selhime., R.F. Kanavel and A.J. Hill. 1971. Suppression of citrus<br />

rust mite poppulations with application of fragmented mycelia of Hirsutella<br />

thompsonii. J. Invertevr. Pathol. 17: 270-276.<br />

116<br />

McMurtry, J.A., C.B. Huffaker and M. Van de Vrie. 1970. Ecology of Tetranychid Mites<br />

and Their Natural Enemies: A Review; Ι. Tetranychid Enemies: Their Biological<br />

Characters and the Impact of Spray Practices. Hilgardia. 40(11): 331-390.<br />

Messing, R.H. 2000. The impact of nontarget concerns on the practice of biological<br />

control, pp. 45-55. In P.A. Follett and J.J. Duan, eds. Notarget Effects of<br />

Biological Control. Kluwer Academic Publishers, USA.<br />

Meyer, M.K.P. 1981. Mite pest of crops in Southern Africa. Sci. Bull. Dept. Agric. Fish.<br />

Repub. S. Afr. No. 397: 1-92.<br />

Mier, T., J. Carrilli-Farga and Toriello. 1989. Study on the innocuity of Hirsutella<br />

thompsonii. I. Infectivity in mice and guinea pigs. Entomophaga 334: 105-110.<br />

Miller, D.W. 1995. Commercial development of entomopathogenic fungi: formulation and<br />

delivery, pp. 213-220. In F.R. Hall and J.W. Barry, eds. Biorational Pest Control<br />

Agents: Formulation and Delivery. American Chemical Society, Washington, DC.<br />

Minter, D.W. and B.L. Brady. 1980. Mononematous species of Hirsutella. Trans. Br.<br />

Mycol. Soc. 74(2): 271-282.<br />

Muller, E. and J.A. von Arx. 1973. Pyrenomycetes: Meliolales, Coronophorales,<br />

Sphaeriales, pp. 87-132. In G.C. Ainsworth, F.K. Sparrow and A.S. Sussman, eds.<br />

The Fungi. Academic Press, London.<br />

Muma, M.H., A.G. Selhime and H.A. Denmark. 1961. An annotated list of predator and<br />

parasites associated with insect and mite in Florida. Agric. Sta. Tech. Bull. 634: 1-<br />

39.


New, T.R. 1991. Insects as Predators. New South Wales University Press, Australia.<br />

Nickel, J.L. 1960. Temperature and humidity relationships of Tetranychus desertorum<br />

Banks with special reference to distribution. Hilgardia. 30:41-100.<br />

Oatman, E.R. 1965. Predacious mite controls two-spotted spider mite on strawberry.<br />

Calif. Agric. 19: 6-7.<br />

. 1969. Integration of Phytoseiulus persimilis with native predators for<br />

control of the two-spotted spider mite on rhubarb. J. Econ. Entomol. 63: 1177-<br />

1180.<br />

Oatman, E.R., J.A. McMurty, F.E. Gilstrap and V. Voth. 1977. Effect of releases of<br />

Amblyseius californicus on the two-spotted spider mite on strawberry in southern<br />

California. J. Econ. Entomol. 70: 638-640.<br />

Oldfield, G.N. 1960. Mite transmission of plant virus. Ann. Rev. 15: 343-380.<br />

Omoto, C. and C.W. McCoy. 1998. Toxicity of purified fungal toxin hirsutellin A to the<br />

citrus rust mite Phyllocoptruta oleivora (Ash.). J. Invertebr. Pathol. 72: 319-322.<br />

Pedigo, L. P. 2002. Entomology and Pest Management. 4 th ed. Pentice-Hall, Inc.,<br />

Upper Saddle River, New Jersey.<br />

Perkins, J.A. 1982. Insects Experts and the Insecticide Crisis: the Quest Fornew Pest<br />

Management Strategies. Plenum Press, New York. 320 p.<br />

117<br />

Poinar, G.O. and G.M. Thomas. 1978. Diagnostic Manual for the Identification of Insect<br />

Pathogens. Plenum Press. New York. 218 p.<br />

Qadri, S., S. Mohiuddin, N. Anwar, Y.M. Rizki, S.A. Qureshi and M. anwarullah. 1989.<br />

Larvicidal activity of B-exotoxin and beauvericin against two dipterous species.<br />

Pakistan J. Sci. Industrial Res. 32: 467-470.


Raffa, K.F. and D.L. Dahlsten. 1995. Differential responese among natural enemies and<br />

prey to bark beetle pheromones. Oecologia 102: 17-23.<br />

Richards, O.W. and R.G. Davies. 1977. Imm’s General Textbook of Etomology. 10 th<br />

ed. Chapman and Hall, London. 418 p.<br />

Roberts, D.W. 1966. Toxins from the entomogenous fungus Metarhizium anisopliae.<br />

II.Symptoms and detection in moribund hosts. J. Invertebr. Pathol. 8: 222-227.<br />

. 1970. Infection Process of Fungi, 14 th Intern. Congr. Entomol.<br />

Abstract (Pathology) Kyoto, Japan. 3-9 August 1970.<br />

Roesler, U. 1983. Die Phycitinae von Sumatra (Lepidoptera: Pyralidae). Heteroc.<br />

Sumatr. 3: 5-136.<br />

Rombach, M.C., D.W. Roberth and B.M. Shepard. 1986. Hirsutella thomsonii Fisher<br />

infecting phytophagous mites in the Philippines. Philipp. Ent. 6: 620-622.<br />

Rosas, J.L. 2003. Exudate from Sporulating Cultures of Hirsutella thomsonii Fisher<br />

Inhibit Oviposition by the Two-spotted Spider Mite Tetranychus urticae KOCH.<br />

Ph.D. thesis, Colima University, Mexico. (in Spain)<br />

Samson R.A., H.C. Evans and J.P. Latge. 1988. Atlas of Entomopathogenic Fungi.<br />

Springer-Verlag, Berlin. 187 p.<br />

Samson R.A. and C.W. McCoy. 1982. A new fungal pathogen of the scavenger mite,<br />

Tydeus gloveri. J. Invertebr. Pathol. 40: 216-220.<br />

Samson R.A., C.W. McCoy. and K.L. O’ Donnell. 1980. Taxonomy of the acarine<br />

parasite Hirsutella thomsonii. Mycologia. 72(2): 359-377.<br />

Samways, M.J. 1994. Insect Conservation Biology. Chap & Hall, London. 358 p.<br />

118


Saxena, A.P. 1977. Role of egg-parasites in the control of sugarcane borers<br />

(Lepidoptera). Z. Ang. Entomol. 84: 299-305.<br />

Sithananthan, S. and A.R. Solayappan. 1980. Biological Control of Sugarcane Tests of<br />

India. The INSDOC Regional Press, Bangalore. 84 p.<br />

119<br />

Sloman, I.S. and S.E. Reynolds 1993. Inhibition of ecdysteroid secretion from Manduca<br />

sexta prothoracic glands in vitro by destruxins-cyclic depsipeptide toxins from the<br />

insect pathogenic fungi Metarrhizium anisopliae. Insect Biochem. Mol. Biol. 23: 43-<br />

46.<br />

Slykhuis, J.T. 1960. Current status of mite transmitted of plant virus. Proc. Ent. Soc.<br />

Ont. 90: 22-30.<br />

. 1972. Transmitted of plant virus by eriophyid mite, pp. 204-225. In<br />

Kado and Agarwal, eds. Principal and Techniques in Plant Virology. Van Nostrand,<br />

Reinhold, Co., Princeton, New Jersey.<br />

Speare, A.T. and W.W. Yothers. 1924. Is there an entomgenous fungus attacking the<br />

citrus rust mite in Florida?. Science 60: 41-42.<br />

Suzuki, A., H. Taguchi and S. Tamura 1970. Isolation and structure elucidation of three<br />

new insecticidal cyclodepsipeptides, destruxins C and D and desmethyldestruxin B<br />

produced by Metarhizium anisopliae. Agri. Biol. Chem. 34: 813-816.<br />

Suzuki, A., M. Kanaoka, A. Isogai, S. Murakoshi, M. Ichinoe and S. Tamura 1977.<br />

Bassianolide, a new insecticidal cyclodepsipeptide from Beauveria bassiana and<br />

Verticillium lecanii. Tetrahedron Letters 25: 2167-2170.<br />

Tuveson, R.W. and C.W. McCoy. Far-ultraviolet sensitivity and photoreactivation of<br />

Hirsutella thomsoni. Ann. Appl. Biol. 101: 13-18.


van Emden, H.F. 1990. Plant diversity and natural enemy efficiency in agroecosystems,<br />

pp. 63-80. In M. Mackauer, L.E. Ehler and J. Roland, eds. Critical Issues in<br />

Biological Control. Intercept. Andover, Hants, UK.<br />

120<br />

van Halteren. P. 1997. A code of conduct for the import and release of exotic biological<br />

control agents for Europe?, pp. 45-48. In I. M. Smith, ed. EPPO/CABI Workshop<br />

on Safety and Efficacy of Biological Control in Europe. Blackwell Science Ltd.,<br />

Oxford, UK.<br />

van Lenteren, J.C. 1997. Benefits and risks of introducing exotic macro-biological<br />

control agents into Europe, p. 15-27. In I.M. Smith, ed. EPPO/CABI Workshop<br />

on Safety and Efficacy of Biological Control in Europe. Blackwell Science Ltd.,<br />

Oxford, UK.<br />

van Winkelhoff, A.J. and C.W. McCoy. 1984. Conidiation of Hirsutella thompsonii var.<br />

synnematosa in submerged culture. J. Invertebr. Pathol. 43:59-68.<br />

Veen, K.H. 1966. Oral infection of 2 nd instar nymphs of Schistocerca gregaria by<br />

Metarhizium anisopliae. J. Invertebr. Pathol. 8:254-256.<br />

Vey, A., R.E. Hoagland and T.M. Butt. 2001. Toxic metabolites of fungal biocontrol<br />

agents, pp. 311-346. In T.M. Butt, C. Jackson and N. Magan, eds. Fungi as<br />

Biocontrol Agents Progress, Problems and Potential. CABI publishing, UK.<br />

Vey, A., J.M. Quiot, I Mazet and C.W. McCoy. 1989. Toxicity and pathology of a<br />

macromolecule metabolite produced by Hirsutella thomsonii. J. Invertebr. Pathol.<br />

61: 131-137.<br />

. 1993. Toxicity and pathology of crude<br />

broth filtrate produced by Hirsutella thompsonii var thompsonii in shake culture. J.<br />

Invertebr. Pathol. 61: 131-137.


Waage, J. 1997. Global developments in biological control and the implications of<br />

Europe, pp. 5-13. In I. M. Smith, ed. EPPO/CABI Workshop on Safety and<br />

Efficacy of Biological Control in Europe. Blackwell Science Ltd., Oxford, UK.<br />

Wahlman, M. and B.S. Davidson. 1993. New destruxins from the entomopathogenic<br />

fungus Metarrhizium anisopliae. J. Nat. Prod. 56: 643-647.<br />

Wharton, R.A. 1989. Classical biological control of fruit infesting Tephritidae, pp. 303-<br />

313. In A.S. Robinson and G.Hooper, eds. World Crop Pests: Fruit Flies, Their<br />

Biology, Natural Enemies and Control. Elsevier Science, Amsterdam, Netherlands.<br />

Whitcomb, W.H. and K.E. Godfrey. 1991. The use of predators in insect control, pp.<br />

215-241. In D. Pimentel and A.A. Hanson, eds. CRC Handbook of Pest<br />

Management in Agriculture. CRC Press, Boca Raton, Florida.<br />

Yasuda, T. 1997. Chemical cues from Spodoptera litura larvae elicit prey-locating<br />

behavior by the predatory stink bug, Eocanthecona furcellata. Entomol. Exp. Appl.<br />

82: 349-354.<br />

121<br />

. 1998. Role of chlorophyll content of prey diets in prey-locating behavior of<br />

a generalist predatory stink bug, Eocanthecona furcellata. Entomol. Exp. Appl. 86:<br />

119-124.<br />

Yeargan, K.V. 1998. Overview and the prevalence of heteropteran predators in<br />

agroecosystems, pp. 7-19. In M. Coll and J.R. Ruberson, eds. Predatory<br />

Heteroptera: Their Ecology and Use in Biological Control. Entomological Society of<br />

America, Lanham, Maryland.<br />

Zaher, M.A. and A.A. Osman. 1970. Population studies on mites associated with mango<br />

trees in Egypt. Bull. Soc. Ent. Egypte. 54: 141-148.


122<br />

Zizka, J. and J. Weiser. 1993. Effect of beauvericin, a toxic metabolite of Beauveria<br />

bassiana, on the ultrastructure of Culex pipiens autogenicus larvae. Cytobios 75: 13-<br />

19.


ภาคผนวก<br />

123


ภาคผนวก ก<br />

124


ตารางผนวกที่<br />

ก1 Colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt<br />

extract agar plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 weeks<br />

Isolates Colony diameter (Mean±SD) Growth rate<br />

7 Days 14 Days 21 Days 28 Days Overall period<br />

2191 0.45±0.06 0.96±0.07 1.95±0.09 2.66±0.16 0.1088±0.003<br />

2196 0.37±0.05 1.22±0.13 1.92±0.22 2.73±0.28 0.1109±0.004<br />

2198 0.49±0.06 1.21±0.15 1.99±0.12 2.90±0.15 0.1141±0.003<br />

2201 0.36±0.08 1.27±0.17 2.45±0.34 3.92±0.33 0.1697±0.006<br />

2203 0.44±0.06 1.16±0.09 2.25±0.20 3.36±0.14 0.1408±0.003<br />

2204 0.73±0.04 1.69±0.12 2.75±0.11 3.74±0.14 0.1441±0.002<br />

2205 0.18±0.06 1.06±0.11 1.55±0.12 2.01±0.08 0.0852±0.003<br />

2206 0.69±0.14 1.83±0.21 2.71±0.22 3.66±0.27 0.1399±0.004<br />

2208 0.48±0.07 1.29±0.08 2.08±0.09 3.13±0.28 0.1249±0.003<br />

2209 0.36±0.11 1.97±0.16 3.39±0.15 5.11±0.19 0.2238±0.003<br />

2210 0.50±0.10 2.00±0.15 3.62±0.20 5.13±0.21 0.2215±0.003<br />

2212 0.65±0.05 1.58±0.09 2.60±0.25 3.50±0.12 0.1366±0.003<br />

2214 0.69±0.05 2.23±0.12 2.96±0.26 4.07±0.29 0.1551±0.005<br />

2215 0.82±0.10 2.18±0.11 3.33±0.17 4.15±0.16 0.1592±0.004<br />

2217 0.72±0.10 1.80±0.32 3.05±0.41 4.21±0.42 0.1675±0.007<br />

2219 0.32±0.06 1.40±0.14 2.29±0.11 3.22±0.09 0.1369±0.002<br />

2220 0.91±0.06 1.93±0.08 3.23±0.14 4.05±0.15 0.1533±0.003<br />

2222 0.71±0.08 1.66±0.13 2.66±0.17 3.79±0.31 0.1465±0.004<br />

2223 0.54±0.15 1.75±0.22 2.72±0.23 3.75±0.28 0.1514±0.005<br />

2229 0.58±0.04 1.81±0.07 3.02±0.09 3.63±0.35 0.1481±0.005<br />

2230 0.32±0.07 1.20±0.13 2.23±0.27 3.08±0.34 0.1330±0.005<br />

2233 0.56±0.08 1.18±0.09 1.74±0.09 2.31±0.16 0.0832±0.002<br />

2241 0.67±0.06 1.55±0.10 2.55±0.16 3.25±0.20 0.1247±0.003<br />

2242 0.54±0.07 1.47±0.08 2.38±0.09 3.12±0.14 0.1235±0.002<br />

2246 0.71±0.10 1.86±0.15 3.24±0.27 4.62±0.52 0.1875±0.006<br />

2247 0.55±0.07 1.83±0.17 2.80±0.25 3.95±0.34 0.1593±0.005<br />

2259 0.80±0.05 2.00±0.11 3.12±0.11 4.11±0.12 0.1576±0.002<br />

2262 0.41±0.11 1.23±0.08 2.31±0.13 3.18±0.14 0.1342±0.003<br />

125


ตารางผนวกที่<br />

ก1 (ตอ)<br />

Isolates Colony diameter (Mean±SD) Growth rate<br />

7 Days 14 Days 21 Days 28 Days Overall period<br />

2271 0.70±0.06 1.94±0.13 3.00±0.19 4.33±0.13 0.1705±0.003<br />

2278 0.43±0.11 1.42±0.17 2.54±0.13 3.47±0.20 0.1462±0.003<br />

2280 0.52±0.05 1.49±0.23 2.73±0.06 3.83±0.09 0.1595±0.003<br />

2282 0.56±0.07 1.24±0.05 1.95±0.11 2.85±0.23 0.1082±0.003<br />

2283 0.38±0.05 0.93±0.08 1.78±0.17 2.44±0.31 0.1002±0.004<br />

2284 0.71±0.07 1.94±0.06 3.75±0.16 4.94±0.15 0.2073±0.004<br />

2286 0.30±0.06 1.02±0.09 1.81±0.12 2.57±0.13 0.1085±0.002<br />

2291 0.68±0.08 1.71±0.10 2.63±0.07 3.00±0.27 0.1122±0.005<br />

2293 0.20±0.10 0.76±0.15 1.52±0.13 1.78±0.13 0.0785±0.003<br />

2294 0.94±0.07 2.42±0.11 3.83±0.08 5.05±0.14 0.1962±0.002<br />

2295 0.44±0.06 1.28±0.10 2.06±0.13 2.95±0.10 0.1187±0.002<br />

2296 0.07±0.07 0.64±0.16 0.94±0.21 1.42±0.16 0.0620±0.003<br />

2300 0.81±0.06 1.27±0.07 2.45±0.06 3.14±0.12 0.1165±0.004<br />

2301 0.57±0.10 1.76±0.20 2.80±0.25 3.50±0.27 0.1404±0.005<br />

2392 0.67±0.09 2.30±0.13 3.95±0.15 5.39±0.15 0.2257±0.003<br />

2397 0.84±0.08 1.91±0.12 2.98±0.16 3.81±0.08 0.1425±0.003<br />

2398 0.42±0.10 1.51±0.11 2.61±0.09 2.88±0.28 0.1209±0.006<br />

2399 0.69±0.06 1.98±0.10 3.21±0.11 3.99±0.27 0.1590±0.004<br />

2405 0.70±0.06 1.69±0.12 2.80±0.29 4.07±0.33 0.1600±0.005<br />

2409 0.36±0.07 1.31±0.18 2.19±0.27 3.17±0.30 0.1328±0.004<br />

2425 0.42±0.20 0.92±0.07 1.54±0.06 1.87±0.07 0.0710±0.003<br />

2428 0.47±0.05 1.94±0.12 3.43±0.23 5.09±0.18 0.2192±0.003<br />

2429 0.78±0.07 2.12±0.09 3.03±0.15 4.49±0.30 0.1721±0.004<br />

2430 0.73±0.03 1.96±0.09 3.23±0.20 4.38±0.26 0.1744±0.003<br />

2436 0.60±0.08 1.74±0.13 2.93±0.13 3.97±0.14 0.1614±0.003<br />

2437 0.61±0.22 1.64±0.37 2.54±0.21 3.10±0.19 0.1196±0.006<br />

2438 0.41±0.05 1.25±0.08 2.12±0.11 2.97±0.11 0.1219±0.002<br />

2443 0.43±0.05 1.54±0.06 2.76±0.06 3.53±0.23 0.1500±0.003<br />

2444 0.47±0.06 1.62±0.15 2.67±0.18 3.86±0.19 0.1600±0.003<br />

126


ตารางผนวกที่<br />

ก1 (ตอ)<br />

Isolates Colony diameter (Mean±SD) Growth rate<br />

7 Days 14 Days 21 Days 28 Days Overall period<br />

2450 0.65±0.08 1.77±0.09 2.94±0.16 3.91±0.20 0.1564±0.003<br />

2455 0.55±0.06 1.28±0.13 2.29±0.12 3.31±0.13 0.1329±0.003<br />

2456 0.94±0.08 2.00±0.08 3.48±0.45 4.87±0.62 0.1898±0.008<br />

2457 0.95±0.12 2.24±0.30 3.63±0.41 4.87±0.59 0.1877±0.008<br />

2458 1.36±0.05 2.68±0.10 3.91±0.15 4.86±0.12 0.1677±0.003<br />

2459 0.38±0.04 1.03±0.10 1.73±0.10 2.28±0.15 0.0915±0.002<br />

2461 0.55±0.04 1.44±0.07 2.21±0.16 3.00±0.15 0.1162±0.002<br />

2462 1.19±0.07 2.81±0.06 3.92±0.09 5.17±0.11 0.1866±0.003<br />

2464 0.48±0.04 1.36±0.07 2.59±0.09 3.73±0.11 0.1567±0.002<br />

2465 0.55±0.09 1.68±0.18 2.75±0.11 3.91±0.20 0.1592±0.003<br />

2466 0.91±0.04 2.15±0.05 3.28±0.22 4.13±0.26 0.1541±0.004<br />

2475 0.48±0.08 1.48±0.09 2.62±0.10 3.44±0.29 0.1431±0.004<br />

2476 0.65±0.08 1.84±0.09 2.83±0.16 3.67±0.43 0.1435±0.005<br />

2477 0.68±0.04 2.04±0.09 3.38±0.10 4.41±0.20 0.1789±0.003<br />

2479 1.17±0.06 2.62±0.07 3.58±0.05 4.80±0.11 0.1695±0.003<br />

2480 0.51±0.07 1.35±0.12 3.03±0.15 4.15±0.15 0.1800±0.004<br />

2482 0.48±0.06 1.36±0.11 2.45±0.32 3.72±0.36 0.1542±0.005<br />

2485 0.91±0.08 2.25±0.12 3.19±0.10 4.58±0.15 0.1707±0.003<br />

2487 0.51±0.04 1.10±0.05 2.22±0.07 2.73±0.07 0.1112±0.003<br />

2490 0.61±0.09 1.65±0.29 2.43±0.31 3.61±0.38 0.1399±0.006<br />

2493 0.49±0.05 1.13±0.09 1.90±0.21 2.68±0.34 0.1046±0.004<br />

2494 0.79±0.07 2.04±0.13 3.31±0.17 4.20±0.20 0.1642±0.005<br />

2497 0.82±0.05 2.16±0.14 3.56±0.19 4.91±0.25 0.1955±0.003<br />

2502 0.55±0.13 1.35±0.12 1.94±0.13 2.58±0.23 0.0954±0.003<br />

2505 0.62±0.04 1.51±0.04 2.50±0.06 3.11±0.11 0.1208±0.002<br />

2507 0.60±0.08 1.81±0.07 3.04±0.12 4.42±0.14 0.1812±0.002<br />

2509 0.47±0.06 1.39±0.12 2.20±0.16 3.07±0.22 0.1230±0.003<br />

2510 0.77±0.06 2.09±0.09 3.08±0.10 4.32±0.31 0.1660±0.004<br />

2513 0.68±0.06 2.16±0.10 3.29±0.12 4.49±0.16 0.1793±0.003<br />

127


ตารางผนวกที่<br />

ก1 (ตอ)<br />

Isolates Colony diameter (Mean±SD) Growth rate<br />

7 Days 14 Days 21 Days 28 Days Overall period<br />

2515 0.53±0.17 1.27±0.12 2.22±0.12 2.67±0.18 0.1050±0.004<br />

2519 0.24±0.06 0.97±0.05 1.68±0.09 2.17±0.08 0.0929±0.002<br />

2524 0.81±0.12 1.89±0.23 3.11±0.17 3.90±0.18 0.1500±0.004<br />

2527 0.43±0.06 1.35±0.07 2.56±0.17 3.35±0.09 0.1424±0.003<br />

2528 0.61±0.09 1.46±0.13 2.55±0.16 3.40±0.14 0.1354±0.003<br />

2532 0.72±0.03 2.03±0.06 3.41±0.06 4.35±0.11 0.1751±0.003<br />

2533 0.50±0.05 1.24±0.10 2.03±0.19 3.10±0.26 0.1226±0.004<br />

2534 0.24±0.06 0.91±0.07 1.52±0.11 1.90±0.11 0.0798±0.002<br />

2535 0.67±0.07 1.72±0.12 2.35±0.13 3.29±0.18 0.1212±0.003<br />

2538 0.50±0.05 1.22±0.12 2.04±0.19 3.10±0.26 0.1231±0.004<br />

2540 0.13±0.05 0.69±0.06 1.11±0.03 1.43±0.08 0.0619±0.002<br />

2542 0.48±0.06 1.34±0.16 2.59±0.39 3.87±0.53 0.1632±0.007<br />

2544 0.54±0.07 1.17±0.11 1.97±0.09 2.49±0.15 0.0950±0.002<br />

2545 0.59±0.09 1.49±0.06 2.53±0.08 3.45±0.11 0.1376±0.002<br />

2551 0.17±0.05 0.81±0.06 1.47±0.07 2.24±0.09 0.0981±0.002<br />

2555 0.58±0.05 1.19±0.11 2.22±0.17 2.77±0.21 0.1087±0.004<br />

2557 0.95±0.06 2.19±0.12 3.37±0.13 4.47±0.15 0.1674±0.003<br />

2559 0.47±0.05 1.10±0.06 1.70±0.10 2.36±0.13 0.0898±0.002<br />

2560 1.27±0.08 2.99±0.08 4.37±0.14 4.91±0.27 0.1756±0.007<br />

2562 0.85±0.07 2.34±0.08 3.45±0.13 4.12±0.34 0.1557±0.006<br />

2563 0.43±0.05 1.67±0.12 2.85±0.15 3.25±0.29 0.1377±0.006<br />

2565 0.48±0.09 1.26±0.13 2.31±0.16 3.16±0.38 0.1296±0.004<br />

2566 0.78±0.08 2.10±0.14 3.72±0.20 5.32±0.26 0.2176±0.004<br />

2568 1.06±0.08 2.24±0.07 3.24±0.13 4.43±0.16 0.1585±0.002<br />

2569 0.53±0.03 1.42±0.11 2.37±0.19 3.46±0.16 0.1390±0.003<br />

2573 0.86±0.04 2.19±0.11 3.36±0.09 4.71±0.15 0.1819±0.002<br />

2575 0.31±0.06 1.18±0.14 2.20±0.17 3.14±0.22 0.1356±0.003<br />

2576 0.76±0.07 2.13±0.09 3.42±0.11 5.21±0.15 0.2091±0.003<br />

128


ตารางผนวกที่<br />

ก2 Characteristics of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract<br />

agar plates at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 weeks<br />

Isolates Color of colony Synnemata Colony Holoblastic Clear zone Water drop<br />

2191 gray No moderate No Yes Yes<br />

2196 gray No moderate Yes No Yes<br />

2198 yellowish gray No elevate No Yes Yes<br />

2201 yellowish white No flat Yes No Yes<br />

2203 yellowish white No moderate Yes Yes Yes<br />

2204 greenish gray No moderate Yes No Yes<br />

2205 yellowish gray No moderate Yes No No<br />

2206 yellowish white No flat Yes No No<br />

2208 yellowish gray No elevate No Yes Yes<br />

2209 white No flat No No No<br />

2210 yellowish white No flat Yes No No<br />

2212 yellowish gray No flat No No Yes<br />

2214 white Yes moderate Yes No Yes<br />

2215 Orange white No elevate Yes No No<br />

2217 Orange white Yes flat No Yes Yes<br />

2219 white No elevate Yes Yes Yes<br />

2220 greenish white No flat Yes No No<br />

2222 greenish gray No moderate No Yes No<br />

2223 greenish gray No moderate Yes No Yes<br />

2229 white No flat Yes No No<br />

2230 greenish white No moderate Yes No Yes<br />

2233 greenish gray No moderate Yes No No<br />

2241 yellowish gray Yes moderate No Yes No<br />

2242 yellowish gray Yes elevate No Yes No<br />

2246 greenish gray Yes flat Yes No No<br />

2247 yellowish gray No flat No Yes Yes<br />

2259 gray No moderate Yes Yes Yes<br />

2262 yellowish white Yes elevate Yes No No<br />

2271 yellowish white Yes flat No Yes Yes<br />

2278 gray No moderate No Yes No<br />

129


ตารางผนวกที่<br />

ก2 (ตอ)<br />

Isolates Color of colony Synnemata Colony Holoblastic Clear zone Water drop<br />

2280 yellowish gray No moderate No Yes Yes<br />

2282 greenish gray No moderate No No Yes<br />

2283 greenish gray No moderate No Yes Yes<br />

2284 yellowish white No moderate Yes Yes No<br />

2286 greenish gray Yes moderate Yes No Yes<br />

2291 greenish white No moderate No No Yes<br />

2293 Orange white No moderate Yes Yes No<br />

2294 white Yes flat Yes No No<br />

2295 yellowish gray No elevate Yes Yes No<br />

2296 gray Yes moderate No Yes No<br />

2300 greenish gray No moderate No Yes Yes<br />

2301 white No flat Yes No Yes<br />

2392 white No flat Yes No No<br />

2397 yellowish white Yes flat Yes No Yes<br />

2398 greenish gray No flat Yes No Yes<br />

2399 yellowish white No flat No No No<br />

2405 yellowish white Yes flat No No No<br />

2409 yellowish white No moderate Yes No Yes<br />

2425 white No elevate Yes No No<br />

2428 white No flat No No No<br />

2429 greenish gray Yes moderate No No Yes<br />

2430 gray Yes flat No No No<br />

2436 yellowish white Yes moderate Yes Yes Yes<br />

2437 Orange white Yes elevate Yes No No<br />

2438 gray No elevate No No No<br />

2443 Orange white No flat Yes No No<br />

2444 white No flat No No No<br />

2450 Orange white No flat No No No<br />

2455 yellowish gray Yes moderate No Yes Yes<br />

2456 white Yes flat Yes No No<br />

2457 Orange white Yes moderate No No No<br />

130


ตารางผนวกที่<br />

ก2 (ตอ)<br />

Isolates Color of colony Synnemata Colony Holoblastic Clear zone Water drop<br />

2458 Orange white Yes flat Yes Yes No<br />

2459 greenish white No elevate No No No<br />

2461 yellowish gray Yes moderate Yes Yes No<br />

2462 yellowish white Yes flat No Yes No<br />

2464 yellowish white No elevate Yes Yes Yes<br />

2465 white No flat Yes No No<br />

2466 yellowish white Yes flat Yes Yes No<br />

2475 Orange white No flat Yes No No<br />

2476 Orange white No flat No No No<br />

2477 yellowish white No flat No No No<br />

2479 yellowish gray Yes moderate No Yes Yes<br />

2480 yellowish white No moderate No No Yes<br />

2482 yellowish white No moderate Yes Yes Yes<br />

2485 gray No moderate No Yes No<br />

2487 greenish gray No moderate No No No<br />

2490 white No flat No No Yes<br />

2493 greenish gray No elevate Yes No Yes<br />

2494 yellowish white Yes moderate No Yes No<br />

2497 yellowish white No flat No No No<br />

2502 greenish gray No elevate No No No<br />

2505 yellowish gray Yes elevate No Yes No<br />

2507 yellowish white Yes flat No Yes Yes<br />

2509 gray Yes elevate No Yes No<br />

2510 greenish gray Yes moderate Yes Yes Yes<br />

2513 white Yes moderate No No No<br />

2515 white No elevate Yes No No<br />

2519 white Yes elevate Yes Yes Yes<br />

2524 yellowish gray No flat No No No<br />

2527 yellowish gray No moderate No Yes Yes<br />

2528 white No moderate No No No<br />

2532 Orange white No flat Yes No No<br />

131


ตารางผนวกที่<br />

ก2 (ตอ)<br />

Isolates Color of colony Synnemata Colony Holoblastic Clear zone Water drop<br />

2533 greenish white No moderate No No Yes<br />

2534 white No moderate Yes No No<br />

2535 white Yes moderate No No No<br />

2538 gray No elevate No Yes Yes<br />

2540 yellowish gray Yes elevate Yes No No<br />

2542 white No flat No No No<br />

2544 gray No moderate No No Yes<br />

2545 Orange white No moderate Yes Yes No<br />

2551 greenish white No moderate Yes Yes Yes<br />

2555 gray No moderate No No No<br />

2557 yellowish white Yes flat Yes Yes No<br />

2559 gray No moderate No No Yes<br />

2560 gray No flat No Yes No<br />

2562 white No moderate Yes No No<br />

2563 white No moderate Yes No No<br />

2565 greenish white No flat Yes No Yes<br />

2566 yellowish white Yes flat Yes Yes No<br />

2568 yellowish white Yes flat Yes Yes No<br />

2569 greenish white Yes moderate Yes Yes Yes<br />

2573 Orange white Yes flat Yes Yes No<br />

2575 greenish gray Yes moderate Yes No No<br />

2576 yellowish gray No flat Yes Yes No<br />

132


ตารางผนวกที่<br />

ก3 Area of colony, number of conidia from direct count and plate count of<br />

H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar plate at<br />

27±1 o C, 65±3% RH for 10 days<br />

Isolates Area of colony Direct count Viable plate count<br />

(Mean±SD) 104 conidia/ml 104 conidia/1cm2 104 CFU/ml 104 CFU/1cm2 2191 0.43±0.09 19.17±16.07 41.84±28.53 6.67±4.56 16.21±10.46<br />

2196 0.45±0.11 56.67±48.76 115.91±73.17 49.17±36.38 102.55±52.14<br />

2198 0.45±0.10 10.83±3.82 24.12±5.14 7.83±3.74 16.85±5.40<br />

2201 0.48±0.09 9.17±2.89 18.82±3.60 10.43±6.96 21.22±11.74<br />

2203 0.33±0.05 20.83±12.33 60.51±27.37 19.67±8.52 57.65±17.16<br />

2204 1.07±0.14 57.50±48.69 50.45±36.64 45.37±45.71 39.28±35.29<br />

2205 0.21±0.02 0.67±0.29 3.10±0.96 0.90±0.40 4.20±1.50<br />

2206 0.87±0.08 4.67±3.40 5.18±3.35 5.83±2.90 6.56±2.85<br />

2208 0.59±0.08 10.83±4.16 18.08±5.45 11.50±3.18 19.28±3.59<br />

2209 0.62±0.15 10.83±5.20 17.03±6.30 6.13±3.65 9.41±4.06<br />

2210 0.84±0.05 1.83±0.76 2.16±0.82 1.73±0.29 2.06±0.24<br />

2212 1.11±0.20 13.33±10.21 11.27±6.66 7.33±6.60 6.11±4.48<br />

2214 1.40±0.06 7.00±1.32 5.00±0.81 12.87±6.55 9.13±4.41<br />

2215 1.69±0.18 26.00±3.04 15.37±1.12 15.67±4.57 9.18±2.17<br />

2217 1.36±0.12 112.50±47.85 81.19±29.82 90.67±32.08 65.68±19.22<br />

2219 0.26±0.07 1.17±0.76 4.26±1.74 1.83±1.19 6.74±2.53<br />

2220 1.29±0.49 229.83±37.12 191.68±60.15 218.17±30.17 181.70±53.15<br />

2222 0.87±0.08 8.83±2.57 10.20±2.85 7.83±1.59 9.01±1.35<br />

2223 0.53±0.10 5.83±1.44 11.02±0.96 6.07±2.01 11.46±2.69<br />

2229 1.10±0.05 17.00±8.67 15.22±7.35 36.70±26.98 32.63±23.57<br />

2230 0.22±0.08 5.50±3.97 22.50±12.60 7.03±7.13 27.52±22.90<br />

2233 0.81±0.12 35.83±9.57 43.48±5.17 36.67±9.07 44.61±4.21<br />

2241 0.79±0.08 12.17±7.01 14.97±7.49 12.90±7.65 15.93±7.92<br />

2242 0.84±0.17 22.83±7.42 26.63±3.29 12.60±8.10 16.39±11.35<br />

2246 0.87±0.08 18.50±13.61 20.51±14.50 18.17±13.35 20.10±13.52<br />

133


ตารางผนวกที่<br />

ก3 (ตอ)<br />

Isolates Area of colony Direct count Viable plate count<br />

(Mean±SD) 10 4 conidia/ml 10 4 conidia/1cm 2 10 4 CFU/ml 10 4 CFU/1cm 2<br />

2247 0.61±0.08 8.33±3.82 13.22±4.41 9.07±5.82 14.14±7.14<br />

2259 1.33±0.18 25.00±10.90 18.31±5.34 17.73±10.76 12.83±6.17<br />

2262 0.66±0.08 3.67±3.40 5.29±4.67 4.10±2.65 6.00±3.48<br />

2271 1.17±0.15 33.17±12.58 27.87±7.17 34.17±9.36 28.96±4.50<br />

2278 0.79±0.08 3.83±4.48 4.57±5.05 4.30±5.15 5.11±5.83<br />

2280 1.30±0.96 16.67±9.46 13.82±2.26 24.50±13.81 20.58±7.54<br />

2282 0.46±0.04 8.33±5.77 17.50±10.70 7.70±3.25 16.43±5.89<br />

2283 0.28±0.05 12.50±2.50 43.84±1.59 13.97±5.74 47.93±14.67<br />

2284 1.69±0.24 9.00±4.27 5.14±1.88 8.27±7.15 4.75±3.95<br />

2286 0.43±0.13 6.00±3.77 12.97±5.91 6.47±3.08 14.42±3.58<br />

2291 0.84±0.10 1.17±0.76 1.34±0.74 1.87±1.42 2.12±1.37<br />

2293 0.28±0.05 2.17±1.76 7.08±4.98 2.87±2.67 9.24±7.76<br />

2294 1.69±0.07 3.33±0.58 1.97±0.26 2.73±1.64 1.59±0.89<br />

2295 0.43±0.09 12.83±1.53 30.60±3.53 11.43±2.15 27.02±2.16<br />

2296 0.13±0.05 1.67±1.04 11.79±4.38 2.40±1.15 18.24±3.33<br />

2300 0.95±0.09 8.33±1.44 8.73±0.87 7.00±6.54 7.07±6.05<br />

2301 1.08±0.26 5.67±4.54 4.69±3.57 5.33±4.17 4.47±3.20<br />

2392 1.47±0.17 78.83±81.19 50.25±46.99 64.23±77.55 40.31±45.87<br />

2397 1.27±0.20 103.83±46.47 80.33±25.58 106.67±42.44 82.59±21.68<br />

2398 0.87±0.42 7.00±5.77 7.02±3.58 12.33±11.02 12.57±5.46<br />

2399 1.34±0.28 46.33±37.67 31.96±20.01 44.20±41.52 29.96±22.62<br />

2405 1.04±0.09 12.00±4.50 11.35±3.35 7.97±3.35 7.53±2.52<br />

2409 0.33±0.05 1.00±0.50 2.90±1.06 1.40±0.66 4.08±1.41<br />

2425 0.62±0.15 0.67±0.58 0.94±0.81 0.87±0.55 1.31±0.65<br />

2428 0.74±0.12 35.17±28.15 44.59±29.51 32.83±31.43 40.93±34.17<br />

2429 1.20±0.24 20.00±10.90 16.03±5.80 16.67±5.51 13.72±2.33<br />

2430 1.02±0.22 11.67±8.28 10.58±6.17 9.83±5.30 9.20±3.27<br />

134


ตารางผนวกที่<br />

ก3 (ตอ)<br />

Isolates Area of colony Direct count Viable plate count<br />

(Mean±SD) 10 4 conidia/ml 10 4 conidia/1cm 2 10 4 CFU/ml 10 4 CFU/1cm 2<br />

2436 1.04±0.18 16.67±6.66 15.59±4.62 14.17±6.47 13.12±4.30<br />

2437 0.74±0.19 11.17±6.60 14.19±6.19 31.67±18.23 40.35±16.64<br />

2438 0.39±0.11 12.67±2.36 33.10±3.69 7.30±2.52 18.46±1.95<br />

2443 0.76±0.12 24.33±10.68 30.98±10.64 26.73±18.42 33.03±20.88<br />

2444 0.52±0.04 5.33±2.02 10.04±3.13 4.07±1.81 7.64±2.90<br />

2450 1.17±0.24 14.67±8.81 11.85±4.97 14.07±9.85 11.22±5.73<br />

2455 0.84±0.17 30.33±17.75 34.23±14.84 22.93±16.19 25.43±14.02<br />

2456 1.09±0.36 15.83±8.62 13.69±3.94 23.87±20.66 19.64±11.68<br />

2457 1.78±0.79 63.67±67.51 29.98±19.83 67.33±74.33 31.28±22.47<br />

2458 3.46±0.16 17.83±5.03 5.11±1.22 37.00±5.09 10.65±0.96<br />

2459 0.34±0.10 3.00±1.32 8.64±2.15 2.90±1.77 8.01±3.31<br />

2461 0.72±0.20 5.50±1.73 7.63±0.48 2.70±0.40 3.88±0.78<br />

2462 2.99±0.15 12.83±2.02 4.29±0.56 12.27±4.14 4.08±1.19<br />

2464 0.69±0.18 27.00±21.93 37.76±30.00 27.97±25.98 39.09±36.11<br />

2465 0.69±0.09 0.67±0.29 0.95±0.28 0.90±0.53 1.27±0.58<br />

2466 1.73±0.07 18.33±9.65 10.48±5.29 19.20±12.25 10.95±6.80<br />

2475 0.84±0.17 15.00±4.33 17.75±4.16 8.10±1.05 9.81±2.01<br />

2476 0.95±0.09 60.17±31.15 61.69±26.57 76.33±35.08 78.42±30.14<br />

2477 1.34±0.31 41.67±22.55 29.59±10.07 38.07±15.71 27.69±5.17<br />

2479 2.23±0.08 11.00±3.50 4.91±1.43 8.40±4.42 3.73±1.90<br />

2480 0.62±0.17 10.00±7.50 14.56±8.37 11.47±7.06 17.69±6.55<br />

2482 0.51±0.11 10.00±2.50 19.76±2.83 16.07±7.49 30.72±7.71<br />

2485 1.81±0.14 12.17±4.25 6.65±1.97 22.30±9.11 12.15±4.33<br />

2487 0.55±0.08 37.33±6.81 68.02±3.81 36.67±7.29 66.70±4.04<br />

2490 0.64±0.07 18.33±3.82 28.57±2.81 8.83±4.77 13.47±5.83<br />

2493 0.42±0.03 9.33±2.75 22.02±5.76 10.27±7.25 24.24±16.22<br />

2494 1.19±0.06 41.00±7.40 34.17±4.74 40.97±5.67 34.25±3.98<br />

135


ตารางผนวกที่<br />

ก3 (ตอ)<br />

Isolates Area of colony Direct count Viable plate count<br />

(Mean±SD) 10 4 conidia/ml 10 4 conidia/1cm 2 10 4 CFU/ml 10 4 CFU/1cm 2<br />

2497 1.23±0.10 23.33±13.60 18.55±9.39 17.50±12.32 13.82±8.72<br />

2502 0.50±0.06 37.50±19.05 72.53±28.24 20.90±8.17 40.91±11.83<br />

2505 0.69±0.09 18.83±8.89 26.72±9.06 15.03±8.55 21.16±9.16<br />

2507 0.82±0.16 12.50±2.50 15.32±0.76 11.23±7.35 13.00±6.54<br />

2509 0.48±0.09 24.00±3.91 49.96±6.06 14.90±4.08 30.55±3.76<br />

2510 1.01±0.10 13.33±1.44 13.19±0.06 11.63±4.87 11.29±3.58<br />

2513 1.20±0.15 22.33±9.25 18.20±5.61 19.67±9.68 15.91±6.30<br />

2515 0.67±0.15 37.33±21.99 53.43±21.96 39.67±25.32 56.18±26.41<br />

2519 0.26±0.07 0.67±0.29 2.56±0.45 0.90±0.46 3.47±1.18<br />

2524 1.23±0.10 25.00±14.08 19.84±10.17 17.77±12.89 13.96±9.49<br />

2527 0.62±0.10 8.33±3.82 13.13±4.01 8.00±1.80 12.95±1.16<br />

2528 1.07±0.10 0.50±0.50 0.44±0.44 0.73±0.50 0.66±0.43<br />

2532 1.39±0.45 26.17±28.62 17.04±16.19 25.77±23.44 16.87±12.77<br />

2533 0.62±0.10 4.83±3.33 7.36±4.66 5.13±2.06 8.10±2.19<br />

2534 0.76±0.09 1.17±0.29 1.52±0.19 1.03±0.21 1.36±0.21<br />

2535 0.88±0.25 10.67±5.13 11.66±3.31 10.33±5.51 11.23±4.48<br />

2538 0.52±0.04 11.50±10.48 21.14±18.00 8.43±7.41 15.50±12.57<br />

2540 0.24±0.04 1.50±1.00 5.90±3.17 2.17±0.85 8.83±2.03<br />

2542 0.57±0.12 7.17±2.25 12.43±2.16 8.10±1.77 14.25±2.24<br />

2544 0.55±0.16 22.50±19.84 36.48±23.66 14.50±13.99 23.27±17.18<br />

2545 0.90±0.17 81.83±41.39 86.92±32.71 53.33±30.50 56.37±24.22<br />

2551 0.09±0.01 5.67±2.25 63.29±17.63 3.70±1.67 41.22±13.98<br />

2555 0.57±0.13 22.50±10.90 38.06±9.93 19.60±9.92 32.81±9.27<br />

2557 1.81±0.07 32.83±13.38 18.04±6.86 23.33±9.22 12.81±4.57<br />

2559 0.41±0.09 14.17±13.77 31.77±24.66 8.50±8.41 19.20±15.48<br />

2560 3.52±0.26 163.50±61.86 45.76±13.88 139.40±49.35 39.07±10.86<br />

2562 1.77±0.12 1.00±1.00 0.54±0.53 5.90±4.99 3.32±2.82<br />

136


ตารางผนวกที่<br />

ก3 (ตอ)<br />

Isolates Area of colony Direct count Viable plate count<br />

(Mean±SD) 10 4 conidia/ml 10 4 conidia/1cm 2 10 4 CFU/ml 10 4 CFU/1cm 2<br />

2563 0.66±0.04 22.33±7.29 33.47±8.73 23.20±8.67 34.69±10.54<br />

2565 0.32±0.11 12.17±2.57 38.91±4.35 10.43±1.69 33.70±5.23<br />

2566 1.07±0.14 28.33±9.07 26.01±4.96 29.60±13.88 26.82±9.15<br />

2568 2.23±0.08 15.50±6.14 6.91±2.58 17.33±7.32 7.73±3.09<br />

2569 0.96±0.17 91.33±29.41 93.94±16.29 79.33±51.73 78.54±38.27<br />

2573 1.62±0.17 78.50±23.57 48.07±10.14 72.40±35.65 44.02±17.91<br />

2575 0.49±0.15 9.00±3.50 18.32±2.97 6.90±4.78 13.30±5.51<br />

2576 1.19±0.06 20.00±2.50 16.70±1.47 15.70±2.46 13.11±1.64<br />

137


ตารางผนวกที่<br />

ก4 Parameters (mean±SD) of H. thompsonii (114 isolates) cultured on slide<br />

at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days<br />

Isolates Length between phialide Phialide length Conidia (µm)<br />

(µm) (µm) Width Length<br />

2191 33.21±10.75 8.90±0.85 2.49±0.37 2.69±0.33<br />

2196 31.89±19.09 11.15±1.46 2.90±0.11 3.12±0.20<br />

2198 27.99±11.66 9.20±0.83 2.81±0.36 3.00±0.34<br />

2201 60.10±17.85 9.00±0.79 2.78±0.22 2.93±0.22<br />

2203 32.44±13.36 8.90±0.97 2.83±0.26 3.02±0.18<br />

2204 31.24±14.98 9.85±0.99 2.69±0.39 2.69±0.39<br />

2205 38.40±26.00 20.05±4.73 2.48±0.35 2.67±0.33<br />

2206 37.37±12.83 9.75±1.94 2.67±0.32 2.90±0.26<br />

2208 61.61±20.21 10.00±1.30 2.51±0.44 2.63±0.46<br />

2209 54.19±10.65 8.25±0.97 2.31±0.30 2.39±0.36<br />

2210 35.06±16.42 11.05±1.88 2.49±0.49 2.71±0.33<br />

2212 38.80±13.88 10.35±2.28 3.46±0.35 3.54±0.30<br />

2214 43.09±20.52 16.95±4.44 2.77±0.24 2.75±0.57<br />

2215 36.59±19.58 15.95±2.63 2.29±0.25 2.38±0.29<br />

2217 36.55±22.64 8.80±0.77 2.28±0.25 2.34±0.28<br />

2219 45.04±20.21 10.60±2.09 2.51±0.30 2.85±0.32<br />

2220 34.60±11.54 8.80±1.20 2.34±0.40 2.63±0.43<br />

2222 38.87±17.54 9.95±0.83 2.69±0.33 2.73±0.32<br />

2223 37.32±11.97 9.50±1.24 2.90±0.26 2.94±0.63<br />

2229 38.33±22.85 12.25±2.05 2.86±0.25 2.96±0.62<br />

2230 48.27±27.21 9.45±1.39 2.49±0.32 2.57±0.39<br />

2233 39.03±24.09 12.85±3.56 3.26±0.22 3.30±0.23<br />

2241 58.97±17.40 10.60±2.11 2.57±0.54 2.70±0.54<br />

2242 39.03±19.46 9.85±1.27 2.72±0.31 2.94±0.33<br />

2246 48.45±17.28 8.30±1.13 2.15±0.22 2.27±0.22<br />

2247 54.73±13.36 8.80±0.95 3.62±0.40 3.73±0.36<br />

138


ตารางผนวกที่<br />

ก4 (ตอ)<br />

Isolates Length between phialide Phialide length Conidia (µm)<br />

(µm) (µm) Width Length<br />

2259 43.76±25.03 14.20±2.59 2.30±0.25 2.38±0.27<br />

2262 29.92±16.17 12.50±1.67 2.79±0.37 2.88±0.34<br />

2271 30.33±13.88 10.40±1.47 2.16±0.24 2.27±0.30<br />

2278 45.61±16.92 9.30±1.17 3.04±0.21 3.12±0.21<br />

2280 68.13±17.87 8.70±1.30 3.01±0.17 3.13±0.21<br />

2282 31.08±16.55 9.10±1.12 2.76±0.29 2.87±0.25<br />

2283 47.15±24.56 8.60±1.19 2.84±0.26 3.01±0.29<br />

2284 32.40±17.90 9.25±2.55 3.79±0.19 3.88±0.21<br />

2286 68.19±23.73 13.60±3.28 2.83±0.40 2.91±0.32<br />

2291 53.45±14.50 13.60±2.66 2.88±0.30 3.06±0.28<br />

2293 22.73±10.43 8.95±1.23 3.05±0.48 3.22±0.50<br />

2294 36.45±24.86 14.00±3.45 3.89±0.56 4.27±0.41<br />

2295 39.34±19.88 8.95±1.19 3.26±0.28 3.36±0.32<br />

2296 51.49±17.50 8.80±0.77 2.95±0.29 3.12±0.24<br />

2300 62.35±17.54 9.65±1.50 2.19±0.40 2.30±0.46<br />

2301 30.66±18.71 14.30±2.74 2.60±0.36 2.67±0.60<br />

2392 40.01±14.96 10.45±1.67 3.60±0.39 3.74±0.33<br />

2397 39.91±15.22 11.65±2.35 3.05±0.29 3.15±0.36<br />

2398 62.53±26.18 13.55±2.70 2.95±0.18 3.06±0.17<br />

2399 35.58±21.78 9.55±1.05 3.41±0.41 3.73±0.34<br />

2405 32.31±14.44 8.70±0.80 2.74±0.32 2.90±0.26<br />

2409 30.80±19.34 10.85±1.39 2.55±0.35 2.62±0.61<br />

2425 62.99±27.68 11.60±1.43 2.36±0.24 2.40±0.25<br />

2428 34.02±15.97 9.25±1.29 2.55±0.34 2.82±0.39<br />

2429 49.58±16.55 8.80±1.47 2.32±0.30 2.54±0.37<br />

2430 34.98±13.03 10.00±1.12 2.24±0.24 2.31±0.30<br />

2436 49.57±16.23 10.60±2.68 2.82±0.24 2.90±0.25<br />

139


ตารางผนวกที่<br />

ก4 (ตอ)<br />

Isolates Length between phialide Phialide length Conidia (µm)<br />

(µm) (µm) Width Length<br />

2437 45.38±18.18 9.40±1.85 2.58±0.40 2.74±0.42<br />

2438 44.27±15.28 9.95±1.64 2.83±0.44 2.95±0.50<br />

2443 37.52±17.25 10.25±1.89 2.48±0.28 2.69±0.32<br />

2444 43.44±19.14 11.65±2.94 3.25±0.43 3.35±0.46<br />

2450 40.50±14.95 9.45±1.36 3.21±0.63 3.40±0.59<br />

2455 40.09±14.28 8.95±0.83 2.20±0.24 2.33±0.26<br />

2456 21.53±8.01 8.90±0.91 3.15±0.39 3.40±0.43<br />

2457 22.07±7.93 8.43±1.37 2.83±0.40 3.12±0.44<br />

2458 35.53 ±18.46 11.05±1.43 2.97±0.18 3.03±0.63<br />

2459 40.49±20.12 8.35±1.04 2.86±0.22 2.91±0.19<br />

2461 56.32±13.35 9.25±1.16 3.59±0.36 3.65±0.38<br />

2462 36.20±18.77 10.80±1.28 2.87±0.25 3.07±0.20<br />

2464 24.44±10.98 11.60±3.14 3.30±0.33 3.47±0.33<br />

2465 36.79±11.80 8.35±1.23 3.42±0.43 3.69±0.39<br />

2466 37.34±23.13 11.35±2.48 2.80±0.45 3.03±0.43<br />

2475 48.33±21.95 9.90±1.83 2.90±0.44 3.12±0.42<br />

2476 35.90±12.90 10.50±1.79 2.67±0.29 2.88±0.31<br />

2477 46.84±16.38 12.00±1.97 3.51±0.35 3.68±0.24<br />

2479 42.28±18.87 13.15±1.81 3.59±0.38 3.74±0.50<br />

2480 54.86±10.83 9.20±1.15 2.91±0.35 3.07±0.34<br />

2482 33.88±16.66 8.60±0.99 2.91±0.30 3.21±0.31<br />

2485 50.99±18.18 9.10±2.65 2.57±0.30 2.68±0.31<br />

2487 39.45±13.54 8.45±1.19 2.80±0.41 2.99±0.38<br />

2490 45.25±15.91 8.35±1.42 2.87±0.61 3.67±0.59<br />

2493 16.45±7.74 9.68±1.10 2.65±0.28 2.96±0.33<br />

2494 38.27±14.96 10.40±1.64 2.95±0.28 2.97±0.56<br />

2497 35.38±16.05 8.70±0.85 2.21±0.31 2.41±0.28<br />

2502 43.54±14.34 8.70±1.45 2.71±0.34 2.81±0.28<br />

140


ตารางผนวกที่<br />

ก4 (ตอ)<br />

Isolates Length between phialide Phialide length Conidia (µm)<br />

(µm) (µm) Width Length<br />

2505 56.10±17.37 10.45±2.86 2.60±0.37 2.67±0.66<br />

2507 36.32±15.11 8.85±0.81 2.80±0.21 2.91±0.30<br />

2509 47.58±11.86 8.40±0.99 2.61±0.23 2.76±0.28<br />

2510 31.91±13.70 8.15±0.81 2.65±0.29 2.78±0.24<br />

2513 31.67±12.41 9.05±1.36 3.18±0.40 3.35±0.41<br />

2515 22.10±8.39 11.30±2.00 2.21±0.19 2.39±0.24<br />

2519 70.32±27.46 9.45±1.19 2.03±0.16 2.11±0.20<br />

2524 30.45±13.01 9.45±1.19 2.52±0.34 2.82±0.27<br />

2527 58.94±11.61 11.80±2.21 2.81±0.33 3.12±0.43<br />

2528 43.73±19.86 11.85±3.99 2.70±0.23 2.80±0.26<br />

2532 39.96±17.37 10.15±1.66 2.44±0.32 2.70±0.42<br />

2533 53.86±14.76 9.95±1.64 2.29±0.27 2.39±0.31<br />

2534 37.64±20.85 11.90±2.31 2.21±0.21 2.27±0.24<br />

2535 33.42±8.54 9.60±1.10 2.63±0.33 2.82±0.29<br />

2538 43.34±14.28 9.45±0.89 2.85±0.20 3.05±0.22<br />

2540 47.77±20.55 16.75±2.61 2.96±0.33 3.16±0.29<br />

2542 30.93±13.20 9.05±1.39 2.81±0.21 3.01±0.23<br />

2544 37.92±12.71 9.50±1.93 2.97±0.54 3.12±0.55<br />

2545 43.82±19.19 8.20±1.15 2.91±0.30 3.04±0.32<br />

2551 26.05±10.34 13.35±2.76 2.69±0.28 2.79±0.55<br />

2555 51.68±15.36 8.70±0.98 2.64±0.36 2.76±0.31<br />

2557 48.14±29.28 12.80±2.38 2.67±0.21 2.92±0.26<br />

2559 30.85±13.63 9.85±1.50 2.76±0.20 3.01±0.14<br />

2560 49.19±19.20 9.50±1.05 2.45±0.42 2.56±0.46<br />

2562 49.82±12.14 12.00±3.11 2.25±0.45 2.26±0.33<br />

2563 30.31±13.93 14.25±2.02 3.88±0.43 4.18±0.42<br />

2565 55.34±23.30 10.60±1.70 2.24±0.32 2.42±0.34<br />

2566 55.01±30.40 14.80±3.05 2.88±0.48 3.14±0.57<br />

141


ตารางผนวกที่<br />

ก4 (ตอ)<br />

Isolates Length between phialide Phialide length Conidia (µm)<br />

(µm) (µm) Width Length<br />

2568 43.34±15.14 8.90±0.79 3.08±0.26 3.18±0.27<br />

2569 59.69±32.83 9.00±0.92 2.75±0.32 2.95±0.17<br />

2573 31.00±13.59 10.70±1.87 2.86±0.30 3.10±0.24<br />

2575 43.94±22.26 20.20±10.98 2.73±0.28 2.83±0.26<br />

2576 47.74±17.84 9.05±0.76 2.58±0.37 2.69±0.35<br />

142


ตารางผนวกที่<br />

ก5 Dry weight of fungal biomass and pH of malt extract broth after each<br />

H. thompsonii (114 isolates) was cultured at 27±1 o C, 65±3% RH for<br />

4 days<br />

Isolates Dry weight pH Isolates Dry weight pH<br />

2191 0.61 8.00 2259 0.60 7.70<br />

2196 0.74 8.40 2262 0.84 8.50<br />

2198 0.59 8.40 2271 0.78 7.60<br />

2201 0.58 8.10 2278 0.76 7.70<br />

2203 0.75 8.00 2280 0.74 7.50<br />

2204 0.71 7.90 2282 0.64 7.90<br />

2205 0.76 8.00 2283 0.66 8.30<br />

2206 0.66 7.50 2284 0.73 8.50<br />

2208 0.75 7.90 2286 0.77 7.80<br />

2209 0.72 8.30 2291 0.83 8.50<br />

2210 0.69 7.60 2293 0.62 7.50<br />

2212 0.69 8.30 2294 0.61 7.40<br />

2214 0.77 8.50 2295 0.66 7.30<br />

2215 0.82 8.10 2296 0.72 7.60<br />

2217 0.70 8.10 2300 0.74 8.00<br />

2219 0.71 7.20 2301 0.79 8.10<br />

2220 0.92 7.80 2392 0.81 8.50<br />

2222 0.74 7.60 2397 0.65 8.10<br />

2223 0.74 8.10 2398 0.61 6.80<br />

2229 0.66 8.10 2399 0.67 7.10<br />

2230 0.72 8.00 2405 0.72 8.30<br />

2233 0.74 7.20 2409 0.82 8.20<br />

2241 0.64 7.80 2425 0.54 7.10<br />

2242 0.90 7.90 2428 0.67 8.10<br />

2246 0.69 8.10 2429 0.69 7.90<br />

2247 0.69 7.80 2430 0.70 8.50<br />

143


ตารางผนวกที่<br />

ก5 (ตอ)<br />

Isolates Dry weight pH Isolates Dry weight pH<br />

2436 0.71 7.80 2502 0.63 7.40<br />

2437 0.68 8.00 2505 0.71 7.80<br />

2438 0.79 8.50 2507 0.79 8.20<br />

2443 0.80 8.40 2509 0.66 7.60<br />

2444 0.61 7.40 2510 0.80 7.70<br />

2450 0.70 8.50 2513 0.73 7.10<br />

2455 0.63 8.10 2515 0.64 6.50<br />

2456 0.78 8.50 2519 0.64 7.80<br />

2457 0.77 6.90 2524 0.71 7.90<br />

2458 0.79 7.70 2527 0.82 8.40<br />

2459 0.93 8.60 2528 0.64 7.90<br />

2461 0.67 7.70 2532 0.67 8.00<br />

2462 0.70 7.40 2533 0.78 7.70<br />

2464 0.61 8.10 2534 0.80 7.50<br />

2465 0.72 6.80 2535 0.66 8.20<br />

2466 0.75 7.80 2538 0.80 7.30<br />

2475 0.72 7.50 2540 0.70 7.90<br />

2476 0.78 8.50 2542 0.67 7.80<br />

2477 0.74 7.70 2544 0.69 7.40<br />

2479 0.79 7.20 2545 0.69 8.00<br />

2480 0.85 8.10 2551 0.71 7.40<br />

2482 0.72 7.50 2555 0.75 8.00<br />

2485 0.63 7.70 2557 0.68 8.10<br />

2487 0.74 8.00 2559 0.86 8.50<br />

2490 0.67 7.70 2560 0.68 8.00<br />

2493 0.88 8.50 2562 0.69 7.30<br />

2494 0.76 8.00 2563 0.78 8.20<br />

2497 0.70 7.80 2565 0.38 6.50<br />

144


ตารางผนวกที่<br />

ก5 (ตอ)<br />

Isolates Dry weight pH Isolates Dry weight pH<br />

2566 0.84 7.80 2573 0.81 8.00<br />

2568 0.62 8.10 2575 0.81 8.60<br />

2569 0.82 7.60 2576 0.64 8.20<br />

145


ภาคผนวก ข<br />

146


1. Correlation between special chalacteristics of H. thompsonii (114 isolates) cultured on<br />

malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Correlation Analysis<br />

6 'VAR' Variables: COLOR SYN COLONY POLYBL CLEARZ WATERDR<br />

Simple Statistics<br />

Variable N Mean Std Dev Sum Minimum Maximum<br />

COLOR 114 3.649123 1.932409 416.000000 1.000000 7.000000<br />

SYN 114 1.342105 0.476509 153.000000 1.000000 2.000000<br />

COLONY 114 1.789474 0.722259 204.000000 1.000000 3.000000<br />

POLYBL 114 1.535088 0.567245 175.000000 1.000000 4.000000<br />

CLEARZ 114 1.421053 0.495908 162.000000 1.000000 2.000000<br />

WATERDR 114 1.403509 0.492767 60.000000 1.000000 2.000000<br />

Pearson Correlation Coefficients / Prob > |R| under Ho: Rho=0 / N = 114<br />

147<br />

COLOR SYN COLONY POLYBL CLEARZ WATERDR<br />

COLOR 1.00000 0.04502 -0.09144 0.15665 0.05395 0.08495<br />

0.0 0.6344 0.3333 0.0960 0.5686 0.3689<br />

SYN 0.04502 1.00000 -0.02030 0.03705 0.24638 -0.10315<br />

0.6344 0.0 0.8303 0.6955 0.0082 0.2748<br />

COLONY -0.09144 -0.02030 1.00000 -0.04661 0.20026 0.14134<br />

0.3333 0.8303 0.0 0.6224 0.0327 0.1336<br />

POLYBL 0.15665 0.03705 -0.04661 1.00000 -0.14736 0.04388<br />

0.0960 0.6955 0.6224 0.0 0.1177 0.6430<br />

CLEARZ 0.05395 0.24638 0.20026 -0.14736 1.00000 0.16773<br />

0.5686 0.0082 0.0327 0.1177 0.0 0.0745<br />

WATERDR 0.08495 -0.10315 0.14134 0.04388 0.16773 1.00000<br />

0.3689 0.2748 0.1336 0.6430 0.0745 0.0<br />

COLOR = Color of colony POLYBL = Polyblastic conidiogenous cell<br />

SYN = Synnemata CLEARZ = Clear zone<br />

COLONY = Colony formation WATERDR = Water droplets


2. Correlation between number of conidia from direct count and plant count of<br />

H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH<br />

for 10 days<br />

Correlation Analysis<br />

2 'VAR' Variables: CONIDIA/1cm 2 CFU/1cm 2<br />

Simple Statistics<br />

Variable N Mean Std Dev Sum Minimum Maximum<br />

CONIDIA/1cm2 114 25.2236 27.0333 2875.5 0.4400 191.7<br />

CFU/1cm2 114 22.9957 24.3427 2621.5 0.6600 181.7<br />

Pearson Correlation Coefficients / Prob > |R| under Ho: Rho=0 / N = 114<br />

CONIDIA/1cm 2 CFU/1cm 2<br />

CONIDIA/1cm 2 1.00000 0.95669<br />

0.0 0.0001<br />

CFU /1cm 2 0.95669 1.00000<br />

0.0001 0.0<br />

148


3. Correlation between area of colony, number of conidia from direct count and plate count<br />

of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract agar plate 27±1 o C, 65±3%<br />

RH for 10 days<br />

Correlation Analysis<br />

3 'VAR' Variables: AREA CONI DIA CFU<br />

Simple Statistics<br />

Variable N Mean Std Dev Sum Minimum Maximum<br />

AREA 114 0.9339 0.6015 106.5 0.0900 3.5200<br />

CONIDIA 114 23.2556 32.0496 2651.1 0.5000 229.8<br />

CFU 114 21.6250 29.3908 2465.3 0.7300 218.2<br />

Pearson Correlation Coefficients / Prob > |R| under Ho: Rho=0 / N = 114<br />

AREA CONIDIA CFU<br />

AREA 1.00000 0.36107 0.38745<br />

0.0 0.0001 0.0001<br />

CONIDIA 0.36107 1.00000 0.97723<br />

0.0001 0.0 0.0001<br />

CFU 0.38745 0.97723 1.00000<br />

0.0001 0.0001 0.0<br />

149


4. Correlation between dry weight and pH of H. thompsonii (114 isolates) cultured on<br />

malt extract broth plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 days<br />

Correlation Analysis<br />

2 'VAR' Variables: WEIGHT PH<br />

Simple Statistics<br />

Variable N Mean Std Dev Sum Minimum Maximum<br />

WEIGHT 114 0.719123 0.082532 81.980000 0.380000 0.930000<br />

PH 114 7.859649 0.452861 896.000000 6.500000 8.600000<br />

Pearson Correlation Coefficients / Prob > |R| under Ho: Rho=0 / N = 114<br />

WEIGHT PH<br />

WEIGHT 1.00000 0.38238<br />

0.0 0.0001<br />

PH 0.38238 1.00000<br />

0.0001 0.0<br />

150


ภาคผนวก ค<br />

151


1. Group of colony diameters of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract<br />

agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 7 days<br />

Variable=Days7<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 1.36 99% 1.27<br />

Mean 0.598684 Sum 68.25 75% Q3 0.72 95% 0.95<br />

Std Dev 0.229654 Variance 0.052741 50% Med 0.56 90% 0.91<br />

Skewness 0.614957 Kurtosis 1.060461 25% Q1 0.47 10% 0.36<br />

USS 46.8199 CSS 5.959703 0% Min 0.07 5% 0.24<br />

CV 38.35971 Std Mean 0.021509 1% 0.13<br />

T:Mean=0 27.8341 Pr>|T| 0.0001 Range 1.29<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.25<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 0.48<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.968987 Pr|T| 0.0001 Range 2.35<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.71<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 1.27<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.9736 Pr


3. Group of colony diameters of H. thompsonii (114 isolate) cultured on malt extract<br />

agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 21 days<br />

Variable=Days21<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 4.37 99% 3.95<br />

Mean 2.663772 Sum 303.67 75% Q3 3.21 95% 3.75<br />

Std Dev 0.669477 Variance 0.448199 50% Med 2.63 90% 3.48<br />

Skewness -0.03288 Kurtosis -0.35541 25% Q1 2.21 10% 1.78<br />

USS 859.5541 CSS 50.64648 0% Min 0.94 5% 1.54<br />

CV 25.13265 Std Mean 0.062702 1% 1.11<br />

T:Mean=0 42.48289 Pr>|T| 0.0001 Range 3.43<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 1<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 2.22<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.985872 Pr|T| 0.0001 Range 3.97<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 1.14<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 3.1<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.97215 Pr


5. Group of growth rate overall period of colony diameter of H. thompsonii (114<br />

isolates) cultured on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 28 days<br />

Variable= growth rate overall period<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 0.23 99% 0.22<br />

Mean 0.143947 Sum 16.41 75% Q3 0.17 95% 0.21<br />

Std Dev 0.036083 Variance 0.001302 50% Med 0.14 90% 0.19<br />

Skewness 0.05862 Kurtosis -0.16003 25% Q1 0.12 10% 0.10<br />

USS 2.5093 CSS 0.147124 0% Min 0.06 5% 0.08<br />

CV 25.06677 Std Mean 0.003379 1% 0.06<br />

T:Mean=0 42.59455 Pr>|T| 0.0001 Range 0.17<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.05<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 0.14<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.97215 Pr|T| 0.0001 Range 191.24<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 24.46<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 0.44<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.95386 Pr


7. Group of conidia (plate count) from 1 cm 2 of H. thompsonii (114 isolates) cultured<br />

on malt extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 10 days<br />

Variable=CFU<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 181.7 99% 102.55<br />

Mean 22.9957 Sum 2621.51 75% Q3 30.72 95% 66.7<br />

Std Dev 24.34272 Variance 592.5683 50% Med 14.96 90% 44.61<br />

Skewness 3.240745 Kurtosis 16.11944 25% Q1 9.01 10% 4.08<br />

USS 127243.7 CSS 66960.21 0% Min 0.66 5% 2.06<br />

CV 105.8577 Std Mean 2.279905 1% 1.27<br />

T:Mean=0 10.08625 Pr>|T| 0.0001 Range 181.04<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 21.71<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 4.08<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.90254 Pr|T| 0.0001 Range 53.8771<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 14.3184<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 16.4465<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

155


9. Group of length of phialide of H. thompsonii (114 isolate) cultured on malt<br />

extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days<br />

Variable=PHIA<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 23.2 99% 20.05<br />

Mean 10.54781 Sum 1202.45 75% Q3 11.35 95% 14.8<br />

Std Dev 2.419022 Variance 5.851666 50% Med 9.8 90% 13.6<br />

Skewness 2.365646 Kurtosis 7.764066 25% Q1 8.95 10% 8.6<br />

USS 13344.45 CSS 661.2382 0% Min 8.15 5% 8.35<br />

CV 22.93388 Std Mean 0.226562 1% 8.2<br />

T:Mean=0 46.55591 Pr>|T| 0.0001 Range 15.05<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 2.4<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 8.7<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

10. Group of conidia (width) of H. thompsonii (114 isolate) cultured on malt<br />

extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days<br />

Variable=Conidia Width<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 3.89 99% 3.88<br />

Mean 2.780965 Sum 317.03 75% Q3 2.95 95% 3.59<br />

Std Dev 0.389399 Variance 0.151632 50% Med 2.775 90% 3.3<br />

Skewness 0.670607 Kurtosis 0.527393 25% Q1 2.52 10% 2.28<br />

USS 898.7837 CSS 17.13439 0% Min 2.03 5% 2.21<br />

CV 14.00231 Std Mean 0.036471 1% 2.15<br />

T:Mean=0 76.25227 Pr>|T| 0.0001 Range 1.86<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.43<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 2.83<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.945853 Pr


11. Group of conidia (length) of H. thompsonii (114 isolate) cultured on malt<br />

extract agar plate at 27±1 o C, 65±3% RH for 6 days<br />

Variable= Conidia Length<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 4.27 99% 4.18<br />

Mean 2.939298 Sum 335.08 75% Q3 3.12 95% 3.73<br />

Std Dev 0.415828 Variance 0.172913 50% Med 2.915 90% 3.54<br />

Skewness 0.644374 Kurtosis 0.732482 25% Q1 2.69 10% 2.39<br />

USS 1004.439 CSS 19.53914 0% Min 2.11 5% 2.3<br />

CV 14.14718 Std Mean 0.038946 1% 2.26<br />

T:Mean=0 75.47142 Pr>|T| 0.0001 Range 2.16<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.43<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 3.12<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

W:Normal 0.954328 Pr|T| 0.0001 Range 0.55<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.11<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 0.69<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

157


13. Group of pH of H. thompsonii (114 isolates) cultured on malt extract broth<br />

at 27±1 o C, 65±3% RH for 4 days<br />

Variable=pH<br />

Moments Quantiles(Def=5)<br />

N 114 Sum Wgts 114 100% Max 8.60 99% 8.6<br />

Mean 7.859649 Sum 896 75% Q3 8.1 95% 8.5<br />

Std Dev 0.452861 Variance 0.205083 50% Med 7.9 90% 8.5<br />

Skewness -0.64353 Kurtosis 0.40143 25% Q1 7.6 10% 7.3<br />

USS 7065.42 CSS 23.17439 0% Min 6.5 5% 7.1<br />

CV 5.761847 Std Mean 0.042414 1% 6.5<br />

T:Mean=0 185.3065 Pr>|T| 0.0001 Range 2.1<br />

Num ^= 0 114 Num > 0 114 Q3-Q1 0.5<br />

M(Sign) 57 Pr>=|M| 0.0001 Mode 8.1<br />

Sgn Rank 3277.5 Pr>=|S| 0.0001<br />

158


ภาคผนวก ง<br />

159


1. Potato dextrose agar (PDA)<br />

สูตรอาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรียและวิธีการเตรียม<br />

้<br />

้<br />

นํา<br />

1000 มิลลิลิตร<br />

มันฝรั่ง<br />

200 กรัม<br />

นํ าตาล 20 กรัม<br />

วุน(agar)<br />

13 กรัม<br />

160<br />

นํ ามันฝรั่งที่ปอกเปลือกมาลางใหสะอาด<br />

หั่นเปนชิ้นสี่เหลี่ยมเล็กๆ<br />

ชั่งใหได<br />

200 กรัม<br />

นํ ามันฝรั่งไปตมใหสุก<br />

กรองเอาแตนํ้<br />

า ปรับปริมาตรใหได 1000 มิลลิลิตร ใสนํ าตาล ้ 20 กรัม คน<br />

ใหละลาย ปรับ pH 5.7 นํ านํ ามันฝรั ้ ่งที่ไดไปตั้งไฟ<br />

ใสวุน<br />

13 กรัม เคี่ยวจนละลาย<br />

จากนั้นนํ<br />

าไป<br />

นึ่งในหมอความดันที่<br />

120 ปอนด เปนเวลา 15 นาทีเมื่ออาหารอุนพอควรจึงใสยาปฏิชีวนะกัน<br />

แบคทีเรีย คือ streptomycin ในอัตรา 0.25 g/1000 มิลิลิตร<br />

2. Malt extract agar (MEA)<br />

้ นํา<br />

1000 มิลลิลิตร<br />

Balanced peptone 5 กรัม<br />

Yeast extract powder 3 กรัม<br />

Malt extract power 3 กรัม<br />

D+ glucose 10 กรัม<br />

Agar powder 30 กรัม<br />

นํ านํ้<br />

า ประมาณ 800 มิลลิลิตร ไปตมใหเดือด จากนั้นใสอาหารทุกอยางลงไป<br />

ตามสูตร<br />

เมื่ออาหารละลายหมด<br />

ทํ าการปรับปริมาตรใหได 1000 มิลลิลิตร


3. Malt extract broth (MEB)<br />

้ นํา<br />

1000 มิลลิลิตร<br />

Balanced peptone 5 กรัม<br />

Yeast extract powder 3 กรัม<br />

Malt extract power 3 กรัม<br />

D+ glucose 10 กรัม<br />

Agar powder 30 กรัม<br />

161<br />

นํ านํ้<br />

า ประมาณ 800 มิลลิลิตร ไปตมใหเดือด จากนั้นใสอาหารทุกอยางลงไป<br />

ตามสูตร<br />

เมื่ออาหารละลายหมด<br />

ทํ าการปรับปริมาตรใหได 1000 มิลลิลิตร นํ าไปนึ่งในหมอนึ่งไฟฟา<br />

ที่ความดัน<br />

121 ปอนดตอตารางนิ้ว<br />

เปนเวลา 15 นาที<br />

การเตรียมยาปฎิชีวนะกัน bacteria<br />

้ นํา<br />

500 มิลลิลิตร<br />

Chloram 0.5 กรัม<br />

Rifam 0.5 กรัม<br />

Streptomycin 0.5 กรัม<br />

1. นํ านํ้<br />

า 500 มิลลิลิตรใส flask และนํ าไปนึ่งในหมอนึ่งไฟฟา<br />

ที่ความดัน<br />

120 ปอนด 15 นาที<br />

ทิ้งไวใหเย็น<br />

2. นํ ายาปฏิชีวนะทั้ง<br />

3 ชนิดที่ชั่งไวแลว<br />

ละลายลงในนํ้<br />

าที่ผานการฆาเชื้อแลวโดยนํ<br />

าไปเขยาดวย<br />

เครื่องเขยา<br />

(vertex mixture) จนกวาจะละลายหมด<br />

3. ใชกระดาษอะลูมิเนียม (aluminum foil) หุม<br />

flask แลวเก็บไวในตูเย็น


Heinze<br />

Sorbital syrup<br />

Mounting media สํ าหรับไรสี่ขา<br />

Polyvinyl alcohol 10 g.<br />

Chloral hydrate 100 g.<br />

85-92% lactic acid 35 ml<br />

10% aqueous solution of phenol 25 ml<br />

glyceral 10 ml<br />

distilled water 40-60 ml<br />

1. 25% isopropyl alcohol<br />

2. Sorbitol<br />

นํ ายารักษาตัวอยางไรสี<br />

้ ่ขา<br />

เตรียมโดยใส sorbitol ลงใน 25% isopropyl alcohol จนรู สึกวามีความหนืดเล็กนอย<br />

หลังจากนั้นเต็มเกล็ดไอโอดีน<br />

1-2 เกล็ดเพื่อปองกันเชื้อรา<br />

162


สูตรอาหารเทียมเลี้ยงหนอน<br />

Spodoptera litura<br />

soked mungbean 150 g<br />

Dried brewer’s yest 10 g<br />

Agar 15 g<br />

Methyl parahydroxybenzoate 3 g<br />

Sobic acid 2 g<br />

Casein 3 g<br />

Choline Chloride 0.5 g<br />

Ascobic acid 3 g<br />

Vitamin stock 10 ml<br />

Formadehyde (40%) 2 ml<br />

Distilled water 700 ml<br />

163<br />

ชั่งสวนผสมทุกอยางยกเวน<br />

Agar และ Vitamin stock ป นใหเขากัน จากนั้นจึงใส<br />

Agar ที่<br />

ตมจนละลายดีแลว และ Vitamin stock ป นรวมใหเขากันอีกครั้งแลวเทใสภาชนะใหมีความหนา<br />

1<br />

เซนติเมตรทิ้งไวใหเย็น<br />

การเตรียม Vitamin stock<br />

Niacin (Nicotinic acid) 6 g<br />

D-Pentathenic acid 6 g<br />

Thiamine (B1) 3 g<br />

Riboflavin (B2) 3 g<br />

Pyridoxin monohydrochloride 1.5 g<br />

Folic acid 1.5 g<br />

Biotin 0.12 g<br />

Vitamin (B12) 0.012 g<br />

Distilled water 1000 ml<br />

**ผสมทุกสวนใหเขากันแลวใสขวดสีชาเพื่อปองกันแสงสวางและเก็บรักษาในตูเย็น**

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!