30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

ผลของแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ตอคุณภาพน้ําและผลผลิต<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในการเลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

Effects of Paracoccus pantotrophus on Water Quality and Production of<br />

Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) Cultured in Low Salinity Water<br />

โดย<br />

นางสาวลลิตา พาณิชกรกุล<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(วิทยาศาสตรการประมง)<br />

พ.ศ. 2550


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.ชลอ ลิ้มสุวรรณ<br />

อาจารยที่ปรึกษา<br />

วิทยานิพนธหลักที่ไดชวยเหลือในการวางแผนงานวิจัยในการทําวิทยานิพนธเลมนี้<br />

ตลอดจนการให<br />

คําปรึกษา แนะนําและตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.นิติ ชูเชิด อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมและ<br />

ดร.พรเลิศ จันทรรัชชกูล ที่กรุณาใหคําปรึกษา<br />

และแกไขทําใหวิทยานิพนธสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบพระคุณ คุณวีระ และ คุณอรพิน เลขะวิจิตรเลิศ เจาของฟารมเลี้ยงกุง<br />

ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร ที่ชวยเหลือและเอื้อเฟอสถานที่ในการวิจัย<br />

ตลอดจนอํานวยความ<br />

สะดวกตาง ๆ ในการทําวิจัยครั้งนี้<br />

ขอขอบพระคุณ บริษัท Novozymes Biological, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่สนับสนุน<br />

ทุนในการทําวิจัยครั้งนี้<br />

ขอขอบคุณพี่<br />

ๆ ปริญญาเอกและเพื่อน<br />

ๆ ปริญญาโททุกคน สําหรับกําลังใจและความ<br />

ชวยเหลือดานตาง ๆ ที่สนับสนุนในการทําวิทยานิพนธจนสําเร็จลุลวงดวยดี<br />

สุดทายนี้<br />

ขอขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม พี่สาว<br />

นองสาวและหลานสาวสุดที่รัก<br />

สําหรับ<br />

ความรัก ความอบอุนและความหวงใยซึ่งเปนกําลังใจที่สําคัญจนทําใหขาพเจาสําเร็จการศึกษาใน<br />

ครั้งนี้<br />

ดวยความดีหรือคุณประโยชนอันเกิดจากวิทยานิพนธเลมนี้<br />

ขอมอบใหแกเกษตรกรผูเลี้ยงกุง<br />

ทุกทานที่สรางคุณูปการใหแกวงการเลี้ยงกุงของชาติไทย<br />

ลลิตา พาณิชกรกุล<br />

กุมภาพันธ 2550


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารบัญ (1)<br />

สารบัญตาราง (2)<br />

สารบัญภาพ (3)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 3<br />

การตรวจเอกสาร 4<br />

อุปกรณและวิธีการ 29<br />

ผลและวิจารณ 46<br />

สรุปและขอเสนอแนะ 76<br />

สรุป 76<br />

ขอเสนอแนะ 77<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

78<br />

ภาคผนวก 92<br />

(1)


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ<br />

NaNO3ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

48<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการโดยมีการเติม<br />

NaNO3เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง 51<br />

3 น้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

53<br />

4 การเปรียบเทียบขอมูลผลผลิตกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

54<br />

5 ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนของการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลอง<br />

ที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (เฉลี่ยตอบอ)<br />

56<br />

6 คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม 64<br />

7 คาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม 74<br />

ตารางผนวกที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติของผลผลิตในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

93<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติของคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

94<br />

3 คุณสมบัติของน้ําตลอดการเลี้ยง<br />

95<br />

4 ผลการวิเคราะหทางสถิติของศักยไฟฟารีดอกซพื ้นบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

103<br />

5 ศักยไฟฟารีดอกซพี้นบอตลอดการเลี้ยง<br />

104<br />

(2)


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 ชั้นของหนาตัดดินพื้นบอ<br />

15<br />

2 การเคลื่อนที่ของน้ําและมวลสารตาง<br />

ๆ ภายในบอเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

15<br />

3 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอมีออกซิเจน<br />

16<br />

4 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอขาดออกซิเจน<br />

16<br />

5 เลนพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบางแพ<br />

จังหวัดราชบุรี 32<br />

6 แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ที่ใชในการทดลอง<br />

32<br />

7 แผนผังฟารมที่ทําการทดลอง<br />

34<br />

8 บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

35<br />

9 ลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่นํามาปลอยลงเลี้ยงในบอที่ทําศึกษาทั้ง<br />

6 บอ 44<br />

10 ลูกกุงในถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงและเปดเครื่องใหออกซิเจน<br />

44<br />

11 หลังทําการปลอยลูกกุงจะใชแบคทีเรียจํานวน<br />

0.45 กิโลกรัมตอบอทุกสัปดาห<br />

จนกระทั่งจับกุง<br />

45<br />

12 การชั่งน้ําหนักกุงดวยเครื่องชั่งน้ําหนักแบบดิจิตอล<br />

45<br />

13 การเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

53<br />

14 การเปลี่ยนแปลงความโปรงแสงตลอดการเลี้ยง<br />

65<br />

15 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

65<br />

16 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

66<br />

17 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

66<br />

18 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

67<br />

19 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

67<br />

20 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

68<br />

21 การเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดการเลี้ยง<br />

68<br />

22 การเปลี่ยนแปลงการนําไฟฟาตลอดการเลี้ยง<br />

69<br />

23 การเปลี่ยนแปลงความเปนดางรวมตลอดการเลี้ยง<br />

69<br />

24 การเปลี่ยนแปลงความกระดางตลอดการเลี้ยง<br />

70<br />

(3)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

25 การเปลี่ยนแปลงแอมโมเนียรวมตลอดการเลี้ยง<br />

70<br />

26 การเปลี่ยนแปลงไนไตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71<br />

27 การเปลี่ยนแปลงไนเตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71<br />

28 การเปลี่ยนแปลงไฮโดรเจนซัลไฟดตลอดการเลี้ยง<br />

72<br />

29 คาศักยไฟฟารีดอกซตลอดการเลี้ยง<br />

75<br />

(4)


ผลของแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ตอคุณภาพน้ําและผลผลิต<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในการเลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

Effects of Paracoccus pantotrophus on Water Quality and Production of<br />

Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) Cultured in Low Salinity Water<br />

คํานํา<br />

การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในประเทศไทยสวนใหญมีการปลอย<br />

ลูกกุงลงเลี้ยงในอัตราความหนาแนนที่สูงมากและเลี้ยงดวยอาหารเม็ดสําเร็จรูปที่มีระดับโปรตีนสูง<br />

เพื่อเปนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ใหสูงที่สุด<br />

ดังนั้นของเสียที่ขับถายจากกุงและอาหารที่เหลือ<br />

ในบอจะสะสมมากขึ้นตามระยะเวลาที่เลี้ยง<br />

ซึ่งในสภาวะที่สภาพแวดลอมในบอมีความสมดุล<br />

คือ<br />

มีปริมาณของเสียไมมากและออกซิเจนที่ละลายน้ํามีปริมาณเพียงพอ<br />

แบคทีเรียที่มีอยูภายในบอ<br />

จะยอยสลายของเสียเหลานั้นใหเปนแอมโมเนีย<br />

ไนไตรท ไนเตรทและกาซไนโตรเจนเพื่อระเหยสู<br />

อากาศ แตถาของเสียมีปริมาณมากเกินไป มีการจัดการที่ไมเหมาะสม<br />

อีกทั้งปริมาณออกซิเจนในน้ํา<br />

มีไมเพียงพอ จะมีผลตอการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของกุง<br />

(ชลอ, 2543) โดยเฉพาะ<br />

บริเวณกลางบอที่มีการสะสมของตะกอนเลนจํานวนมากอาจไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

ทําใหแบคทีเรีย<br />

ในกลุมที่ไมใชออกซิเจนสามารถเจริญเติบโตและทําการยอยสลายแทนกระบวนการเหลานี้จะ<br />

เปนไปอยางชา ๆ และผลิตสารที่มีความเปนพิษตอสัตวน้ํา<br />

ไดแก แอมโมเนีย ไนไตรท กาซมีเทน<br />

และกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) (Hargreaves, 1998; Watanabe, 2001) ซึ่งไฮโดรเจนซัลไฟดเปน<br />

สารประกอบตัวหนึ่งที่มีความเปนพิษโดยตรงตอสัตวน้ํา<br />

(นิศากร และ ชลัญญา, 2526; Bonn and<br />

Follis, 1967; Adelman and Smith, 1972; Oseid and Smith, 1972; Peturiyawate, 1982; Jayamanne,<br />

1986; Boyd and Tucker, 1998) และโดยเฉพาะในบอเลี้ยงกุง<br />

(Suplee and Cotner, 1996) ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเกิดจากกระบวนการยอยสลายของสารอินทรียของแบคทีเรียในสภาวะมีปริมาณออกซิเจน<br />

ละลายในน้ําต่ําหรือไมมีเลย<br />

เมื่อมีการสะสมของสารเหลานี้มากขึ้นจะทําใหกุงหยุดกินอาหาร<br />

ออนแอ<br />

เปนโรคและตายในที่สุด<br />

ซึ่งระดับความเขมขนของไฮโดรเจนซัลไฟดที่ทําใหเกิดพิษตอสัตวน้ําอยู<br />

ในชวง 0.01-0.05 มิลลิกรัมตอลิตร (สมพร, 2535) จึงไดมีความพยายามที่จะควบคุมปริมาณ<br />

ไฮโดรเจน ซัลไฟดดวยวิธีทางเคมีและจุลชีววิทยา โดยวิธีทางเคมีจะมีการใชสารเคมีสงผลทํา<br />

ใหแบคทีเรียที่มีประโยชนรวมทั้งสิ่งมีชีวิตเล็ก<br />

ๆ ที่อยูในน้ําถูกทําลายไปดวย<br />

นอกจากนั้นการใช


สารเคมีโดยทั่วไปจะเสียคาใชจายมากและมีความยุงยาก<br />

(Santry, 1966) ดังนั้นการใชวิธีทางจุล<br />

ชีววิทยาจึงเปนทางเลือกหนึ่งเพื่อควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

โดยอาศัยกระบวนการตาง ๆ<br />

ของแบคทีเรียจึงนาจะเปนวิธีที่เหมาะสมและสามารถชวยแกปญหาดังกลาว<br />

(อําพิน, 2540) ซึ่งใน<br />

ปจจุบันมีการใชแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ชวยในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

และคุณภาพน้ําในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

(Gallert and Winter, 2005) แบคทีเรียชนิดนี้สามารถดํารง<br />

อยูไดทั้งสภาวะที่มีออกซิเจนและไมมีออกซิเจน<br />

อาศัยอยูไดทั้งในน้ําและในดิน<br />

เมื่ออยูในสภาวะที่มี<br />

ออกซิเจนแบคทีเรียชนิดนี้สามารถออกซิไดซไฮโดรเจนซัลไฟดไดโดยตรง<br />

สวนในสภาวะที่ไมมี<br />

-<br />

ออกซิเจนแบคทีเรียจะใช NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายในกระบวนการดีไนตริฟเคชัน<br />

-<br />

(denitrification) (Heukelekian, 1948) โดยแบคทีเรียชนิดนี้ใช<br />

NO3 ในระดับที่ต่ํากวาแบคทีเรียชนิด<br />

อื่น<br />

อีกทั้งยังเปนการปองกันไมใหเกิดซัลไฟดจากกระบวนการซัลเฟตรีดักชัน<br />

(sulfate reduction)<br />

นอกจากนั้นแบคทีเรียชนิดนี้สามารถผลิตในปริมาณมาก<br />

ๆ ได มีความสะดวกตอการใชงาน งายตอ<br />

การเก็บรักษาและการขนสง<br />

ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาประสิทธิภาพของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการ<br />

ควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฏิบัติการและในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงดวยน้ํา<br />

ความเค็มต่ําเพื่อเปนแนวทางใหแกเกษตรกรในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดที่เกิดขึ้นใน<br />

บอเลี้ยงกุงและสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตของบอเลี้ยงกุงตอไป<br />

2


วัตถุประสงค<br />

1. ศึกษาการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฏิบัติการโดยใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus<br />

2. เปรียบเทียบคุณสมบัติของน้ําที่สําคัญ<br />

ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดและคาศักยไฟฟา<br />

รีดอกซ (oxidation reduction potential) ของดินพื้นบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ําที่ใช<br />

และไมใชแบคทีเรีย P. pantotrophus<br />

3. เปรียบเทียบการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและปริมาณผลผลิตของบอเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ําที่ใชและไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

4. เปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ํา<br />

ที่ใชและไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

3


1. กุงขาวแวนนาไม<br />

การตรวจเอกสาร<br />

กุงขาวแวนนาไมเปนกุงที่มีแหลงกําเนิดมาจากทวีปอเมริกา<br />

อเมริกากลางและอเมริกาใต<br />

โดยมีการเลี้ยงกันอยางแพรหลายในทวีปอเมริกาใต<br />

เชน เอกวาดอร เม็กซิโก บราซิล นอกจากนี้<br />

หลายประเทศในทวีปเอเชียก็มีการเลี้ยงกุงชนิดนี้<br />

ไดแก ไตหวัน จีนและอินโดนีเซีย (ชลอ และ<br />

คณะ, 2548) ซึ่งมีแนวโนมการผลิตกุงขาวแวนนาไมมากขึ้น<br />

โดยเฉพาะประเทศไทยหลังจากมีการ<br />

นํากุงขาวแวนนาไมมาทดลองเลี้ยงในเมื่อป<br />

พ.ศ. 2541 แตไมประสบความสําเร็จมากนักจนกระทั่ง<br />

ป พ.ศ. 2545 กรมประมงไดอนุญาตใหนําพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อมาเลี้ยง<br />

เนื่องจากลักษณะเดน<br />

ของกุงขาวแวนนาไมที่สามารถกินอาหารไดหลากหลาย<br />

มีความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

แวดลอม จึงทําใหมีการเพิ่มจํานวนการเลี้ยงมากขึ้น<br />

พบวาป พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2549 ประเทศไทย<br />

มีผลผลิตกุงขาวแวนนาไม<br />

360,000 ตัน และ 509,600 ตันตามลําดับ (สมศักดิ์,<br />

2550) โดยการเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไมในประเทศไทยแยกตามความเค็มของน้ําไดเปน<br />

2 แบบ (ชลอ และ พรเลิศ, 2547)<br />

คือ<br />

1.1 การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยความเค็มต่ํา<br />

สวนใหญการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ําจะทําในเขตพื้นที่น้ําจืดและใน<br />

พื้นที่ภาคกลางโดยใชน้ําความเค็มต่ํามากจนเกือบจะเปนระดับที่ถือวาเปนน้ําจืด<br />

โดยเกษตรกรจะซื้อ<br />

น้ําเค็มความเขมขนสูงจากนาเกลือใสรถบรรทุกน้ําคันละประมาณ<br />

12-13 ตัน ความเค็ม 100-200<br />

สวนในพันสวน (พีพีที) มาเติมในน้ําจืดเพื่อใหไดความเค็มประมาณ<br />

3-4 พีพีที สวนใหญจะกั้นคอก<br />

กอนโดยใชผาพลาสติกแลวเติมน้ําจากนาเกลือลงไปจนไดความเค็มประมาณ<br />

8-10 พีพีที หลังจาก<br />

นั้นจะนําลูกกุงขาวแวนนาไมระยะโพสลารวา<br />

10-12 (พี 10-12) ที่ปรับความเค็มจากโรงเพาะฟกมา<br />

ปลอยในคอก อนุบาลลูกกุงในคอกประมาณ<br />

3-4 วัน จึงเปดคอกใหลูกกุงกระจายทั่วบอ<br />

อีกวิธีคือ<br />

ไมกั้นคอก<br />

จะเตรียมน้ําความเค็มประมาณ<br />

3-5 พีพีที แลวใหทางโรงเพาะฟกปรับความเค็มของลูก<br />

กุงจนอยูที่ความเค็มที่ต่ําที่สุดประมาณใกลเคียงกับที่จะมาปลอยในบอแลวนําลูกกุงมาปลอยโดยตรง<br />

ซึ่งจะทําใหมีอัตราการรอดตายที่สูงกวา<br />

โดยปลอยลงเลี้ยงในอัตราความหนาแนนประมาณ<br />

70,000-<br />

80,000 ตัวตอไร สวนใหญเกษตรกรจะเลี้ยงใหไดกุงขนาดประมาณ<br />

60-80 ตัวตอกิโลกรัม คือ เลี้ยง<br />

ประมาณ 3 เดือน โดยใชอวนตาหางเพื่อลากกุงขนาดใหญออกขายประมาณครึ่งหนึ่ง<br />

หลังจากนั้น<br />

4


เติมน้ําจืดเขาบอจนเต็ม<br />

และเติมน้ําเค็มอีกรอบเพื่อเพิ่มความเค็ม<br />

เลี้ยงอีกประมาณ<br />

2 สัปดาห จะทํา<br />

ใหกุงในบอโตขึ้น<br />

เชน จากขนาด 80 ตัวตอกิโลกรัมเปน 60 ตัวตอกิโลกรัม<br />

1.2 การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มปกติ<br />

การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในพื้นที่ภาคใตที่ใชน้ําความเค็มปกติ<br />

คือ ความเค็มประมาณ<br />

10 พีพีทีขึ้นไปนั้น<br />

สวนใหญจะมีการปลอยกุงในอัตราหนาแนนมากกวา<br />

120,000 ตัวตอไร ผลผลิต<br />

ประมาณ 2 ตันตอไร อัตราการรอดตายประมาณ 80 เปอรเซ็นต การเลี้ยงกุงขาวดวยความเค็มปกติ<br />

จะไดผลดีกวาน้ําความเค็มต่ํา<br />

เนื่องจากมีการถายน้ําในปริมาณที่มากในชวงทาย<br />

ๆ ของการเลี้ยง<br />

2. คุณสมบัติของน้ําบางประการที่มีผลตอการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ปจจัยที่สําคัญในการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

คือ คุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของ<br />

น้ํา<br />

เชน ความโปรงแสง อุณหภูมิ ความเปนกรดเปนดาง (พีเอช) ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

ความเค็ม<br />

การนําไฟฟา ความเปนดางรวม ความกระดาง แอมโมเนียรวม ไนไตรท ไนเตรทและไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด (H2S) เปนตน (Brock and Main, 1994) ถาคุณสมบัติของน้ําดีมีความเหมาะสมตอการ<br />

เจริญเติบโตของกุง<br />

กุงก็จะเจริญเติบโตเร็ว<br />

แตถาคุณสมบัติของน้ําไมดีก็จะเกิดปญหาในการเลี้ยงได<br />

ความโปรงแสงของน้ําเปนดัชนีที่บงบอกถึงปริมาณแพลงกตอนพืชและตะกอนแขวนลอย<br />

ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ความขุนของน้ําที่เกิดจากแพลงกตอนโดยปกติจะมีประโยชนตอสัตว<br />

น้ํา<br />

เนื่องจากทําใหเกิดอาหารธรรมชาติสําหรับสัตวน้ําที่อุดมสมบูรณและลดปญหาพรรณไมน้ําและ<br />

สาหรายพื้นบอที่แสงแดดสองไมถึง<br />

สําหรับความขุนที่เกิดจากตะกอนดินจะไปทับถมกันที่พื้นบอ<br />

และสารแขวนลอยที่เปนสารอินทรียอาจทําใหเกิดปญหาการขาดออกซิเจนไดกอใหเกิดการเนาเสีย<br />

ที่บริเวณดังกลาวและเกิดกาซพิษตามมา<br />

ไดแก แอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟด (ยนต, 2530) หาก<br />

น้ําในบอมีความขุนมาก<br />

จะทําใหคาความโปรงแสงของน้ําในบอนอยเกินไปแสงจะสองไมถึงพื้น<br />

บอ ทําใหสาหรายพื้นบอเกิดการตายและเกิดการเนาเสียตามมา<br />

แตถาน้ําในบอเลี้ยงกุงใสเกินไป<br />

อาหารธรรมชาติจะมีนอย ความโปรงแสงที่เหมาะสมในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมจะอยูในชวง<br />

25-<br />

50 เซนติเมตร (Brock and Main, 1994)<br />

5


อุณหภูมิของน้ําเปนปจจัยหนึ่งที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการแพรพันธุของพืชและสัตว<br />

ซึ่งแหลงน้ําธรรมชาติในประเทศไทยมีอุณหภูมิอยูระหวาง<br />

23-32 องศาเซลเซียส (ศิริเพ็ญ, 2543)<br />

โดยการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีความสัมพันธโดยตรงกับฤดูกาล<br />

สภาพภูมิประเทศ กระแสลม<br />

ความลึก สภาพแวดลอม ความเขมแสงและคาการนําไฟฟา การละลายของออกซิเจนในน้ํา<br />

(Boyd,<br />

1990) โดยถาปริมาณความเขมแสงมากก็จะทําใหอุณหภูมิที่ผิวน้ําสูงขึ้น<br />

(เปยมศักดิ์,<br />

2525) สวนคา<br />

การนําไฟฟา (electrical conductivity) ถาอุณหภูมิสูงจะทําใหคาการนําไฟฟาสูงขึ้นเพราะเมื่ออุณหภูมิ<br />

ของน้ําสูงขึ้นจะทําใหการแตกตัวเปนอิออนของเกลือมากขึ้น<br />

(สุธี, 2543) โดยอุณหภูมิมีผลตอการ<br />

กินอาหารและการเจริญเติบโตของกุง<br />

ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมอยู<br />

ระหวาง 26-33 องศาเซลเซียส (Wickins and Lee, 2002) แตกุงสามารถเจริญเติบโตไดดีที่สุดที่อุณหภูมิ<br />

ระหวาง 25-30 องศาเซลเซียส สวนที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียสหรือสูงกวานี้กุงจะตาย<br />

(Boyd and<br />

Fast, 1992)<br />

การเปลี่ยนแปลงของคาพีเอชในบอเลี้ยงกุงจะถูกควบคุมโดยปริมาณคารบอนไดออกไซด<br />

และปริมาณอิออนที่มีอยูในน้ํา<br />

ซึ่งในชวงกลางวันแพลงกตอนพืชจะใชคารบอนไดออกไซดจาก<br />

ไบคารบอเนตเพื่อการสังเคราะหแสงทําใหคาพีเอชสูงขึ้น<br />

ถาแพลงกตอนพืชมีปริมาณมากจะทําให<br />

คาพีเอชสูงในตอนบาย สวนในเวลากลางคืนคารบอนไดออกไซดจะเพิ่มมากขึ้นจากกระบวนการ<br />

หายใจโดยแพลงกตอนพืชและสิ่งมีชีวิตที่อยูในบอรวมทั้งกระบวนการยอยสลายสารอินทรีย<br />

จึงทํา<br />

ใหพีเอชต่ําในตอนเชามืด<br />

(ชลอ, 2543) ปริมาณแพลงกตอนในน้ําก็มีผลตอการเปลี่ยนแปลงพีเอช<br />

ดวย คือ ถามีปริมาณแพลงกตอนมากจะทําใหเกิดความแตกตางของคาพีเอชต่ําสุดและสูงสุดในรอบ<br />

วันมาก ซึ่งจะมีผลกระทบตอปริมาณของสารพิษในบอเลี้ยงกุง<br />

เชน แอมโมเนียและไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด สําหรับระดับพีเอชมีผลตอการเลี้ยงสัตวน้ํารวมทั้งกุง<br />

ถาพีเอชนอยกวา 4 กุงจะตาย<br />

คา<br />

พีเอชระหวาง 4-6 มีการเจริญเติบโตชา คาพีเอชระหวาง 6-9 เปนระดับที่มีการเจริญเติบโตดีที่สุด<br />

คา<br />

พีเอชระหวาง 9-11 การเจริญเติบโตชาและพีเอชมากกวา 11 กุงจะตาย<br />

(Boyd, 1987) คาพีเอชยังมี<br />

บทบาทสําคัญในการควบคุมสารพิษชนิดอื่น<br />

ๆ ที่เปนอันตรายใหมีการแตกตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได<br />

คือ ถาคาพีเอชมีระดับสูงขึ้นจะทําใหความเปนพิษของแอมโมเนียเพิ่มมากขึ้น<br />

แตถาคาพีเอชมีระดับ<br />

ลดลงจะทําใหเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดเพิ่มมากขึ้น<br />

(Tucker and Boyd, 1985)<br />

ออกซิเจนเปนปจจัยสําคัญมากที่สุดสําหรับสิ่งมีชีวิต<br />

เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจําเปนตอง<br />

ใชออกซิเจนในกระบวนการตาง ๆ ภายในรางกายเพื่อการเจริญเติบโต<br />

ความสามารถในการละลาย<br />

น้ําของกาซออกซิเจนมีจํากัดและขึ้นกับความดันของบรรยากาศ<br />

อุณหภูมิของน้ํา<br />

ปริมาณเกลือแร<br />

6


ตาง ๆ ที่มีอยูในน้ํา<br />

(Boyd, 1982) โดยในบอเลี้ยงกุงการละลายของออกซิเจนในน้ําสวนใหญเกิดขึ้น<br />

จากการใชเครื่องใหอากาศ<br />

เนื่องจากในเวลากลางคืนปริมาณออกซิเจนจะลดลงจนถึงเวลาเชามืด<br />

จึง<br />

มีความจําเปนในการเปดเครื่องใหอากาศเพื่อชวยในการเพิ่มออกซิเจนใหอยูในระดับที่เหมาะสม<br />

และชวยทําใหอัตราการรอดตายเพิ่มมากขึ้นดวย<br />

(Madenjian, 1990) แตแหลงที่ใหออกซิเจนในบอ<br />

เลี้ยงกุงมากที่สุด<br />

คือ กระบวนการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชในตอนกลางวัน (Boyd, 1987)<br />

ซึ่งชลอ<br />

และ พรเลิศ (2547) กลาววา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีผลตอการกินอาหาร<br />

การ<br />

เจริญเติบโตและสุขภาพกุง<br />

ถาปริมาณออกซิเจนต่ําเกินไปอาจทําใหกุงตายได<br />

Brock and Main<br />

(1994) กลาววา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําควรมากกวา<br />

3 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณออกซิเจน<br />

ในบอเลี้ยงจะมีการเปลี่ยนแปลงคลายกับคาพีเอช<br />

คือ มีคาต่ําสุดตอนเชามืด<br />

เนื่องจากจะถูกใชไปใน<br />

การยอยสลายสารอินทรียและการหายใจของสิ่งมีชีวิตในบอ<br />

ในตอนกลางวันเมื่อมีแสงแดด<br />

แพลงก<br />

ตอนพืชเริ่มมีการสังเคราะหแสง<br />

ปริมาณออกซิเจนจะเพิ่มขึ้นและมีปริมาณสูงสุดในตอนบาย<br />

โดย<br />

ความเขมขนของออกซิเจนที่ละลายในน้ําที่ต่ํากวา<br />

3.7 มิลลิกรัมตอลิตร เปนระดับที่วิกฤตสําหรับ<br />

การดํารงชีวิตของกุงปกติ<br />

โดยปกติออกซิเจนในบอควรอยูในระดับ<br />

5-8 มิลลิกรัมตอลิตร (Chen,<br />

1985)<br />

ความเค็มมีผลตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งมีผลกับการควบคุมปริมาณ<br />

น้ําในรางกาย<br />

(ไมตรี และ จารุวรรณ, 2528) แตโดยทั่วไปแลวสัตวน้ํามีความสามารถในการปรับตัว<br />

ใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได<br />

Ponce-Palafox et al. (1997) ไดอธิบายไววา สําหรับ<br />

กุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงในความเค็มสูงกวา<br />

20 พีพีที กุงในระยะ<br />

juvenile จะมีอัตรารอดที่ดี<br />

นอกจากนี้<br />

ความเค็มและอุณหภูมิยังมีผลกับอัตราการรอดตายของสัตวในกลุมครัสเตเซียดวย<br />

(Lester and<br />

Pante, 1991) กุงขาวแวนนาไมในระยะโพสลารวาจะเจริญเติบโตไดดีที่ความเค็มประมาณ<br />

20 พีพีที<br />

และเมื่อความเค็มลดลงเหลือ<br />

5 พีพีที หรือสูงถึง 45 พีพีที การเจริญเติบโตจะลดลง โดยทั่วไปกุงขาว<br />

แวนนาไมสามารถอยูไดในชวงความเค็ม<br />

5-35 พีพีที<br />

คาการนําไฟฟาเปนคาความสามารถในการนําไฟฟาของของเหลว ประสิทธิภาพของการนํา<br />

ไฟฟาของน้ําขึ้นกับปริมาณอิออน<br />

mobility valence และ relative concentration ของน้ําหรือ<br />

ของเหลวนั้น<br />

Reid (1961) รายงานวาความเค็มสามารถวัดไดโดยคาการนําไฟฟาในดินและวัดจาก<br />

ความหนาแนนโดยใช hydrometer ถาคาการนําไฟฟาของสารละลายเพิ่มขึ้น<br />

แสดงวาปริมาณ<br />

อนินทรียสารที่ละลายน้ําสูงขึ้นและถาคานําไฟฟาของสารละลายลดลง<br />

แสดงวาปริมาณอนินทรีย<br />

สารที่ละลายน้ําต่ําลง<br />

(APHA et al., 1989) คาการนําไฟฟาของน้ําธรรมชาติทั่วไปมีคาอยูระหวาง<br />

7


100-1,500 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร (Todd, 1959) ไมตรี และ จารุวรรณ (2528) ไดกลาววา ปจจัยที่<br />

มีผลตอคาการนําไฟฟา คือ อุณหภูมิ โดยถาอุณหภูมิน้ําเปลี่ยนแปลง<br />

1 องศาเซลเซียส จะทําใหคา<br />

การนําไฟฟาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมประมาณ<br />

2 เปอรเซ็นต เนื่องจากอุณหภูมิมีผลตอการแตกตัว<br />

เปนอิออนของสารตาง ๆ นอกจากนี้<br />

สมเจตน และคณะ (2529) รายงานวาคาการนําไฟฟาที่นอยกวา<br />

1 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร จะไมมีความเค็ม สวนคาการนําไฟฟาที่อยูในชวง<br />

2-4 มิลลิซิเมนส<br />

ตอเซนติเมตร มีความเค็มต่ํา<br />

คาการนําไฟฟาอยูในชวง<br />

5-8 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตรมีความเค็ม<br />

ปานกลางและคาการนําไฟฟามากกวา 9 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร มีความเค็มสูง จากการที่การนํา<br />

ไฟฟามีความสัมพันธกับปริมาณธาตุชนิดตาง ๆ ซึ่งเปนองคประกอบหลักในน้ําทะเล<br />

ทําใหสามารถ<br />

นําคาการนําไฟฟานี้มาใชในการศึกษาหาขอบเขตการแพรกระจายความเค็มจากบอเลี้ยงกุงสูบริเวณ<br />

ขางเคียงได ดังนั้นจึงสามารถใชประโยชนจากคาการนําไฟฟามาเปนพารามิเตอรตรวจสอบการ<br />

ปนเปอนของน้ําจากบอกุงสูแหลงน้ําใตดินที่อยูบริเวณใกลเคียงได<br />

(ประวิทย และ พิภพ, 2539)<br />

ความเปนดาง (alkalinity) หมายถึง ความสามารถหรือคุณสมบัติของน้ําที่ทําใหกรดเปน<br />

2- -<br />

กลาง ความเปนดางของน้ําประกอบดวยคารบอเนต (CO3 ) ไบคารบอเนต (HCO3 ) และ<br />

ไฮดรอกไซด (OH - ) เปนสวนใหญ คาความเปนดางมีผลเกี่ยวเนื่องกับคุณสมบัติดานอื่น<br />

ๆ เชน ความ<br />

เปนกรด (acidity) และความกระดาง (hardness) เปนตน (Brawn et al., 1983) คุณสมบัติที่สําคัญ<br />

ของความเปนดางตอแหลงน้ํา<br />

คือ เปนตัวชวยควบคุมไมใหแหลงน้ํามีการเปลี่ยนแปลงของพีเอ<br />

ชรวดเร็วเกินไป เนื่องจากความเปนดางเปนตัวชวยควบคุมพีเอชในแหลงน้ําไมใหมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว<br />

น้ําที่มีพีเอชต่ํากวา<br />

4.5 จะไมพบคาความเปนดางอยูเลย<br />

(Molye, 1945;<br />

Mairs, 1966) ซึ่งถาคาพีเอชมากกวา<br />

9 หรือนอยกวา 5 จะมีผลทําใหคาการนําไฟฟาสูงขึ้นเพราะน้ําที่<br />

เปนกรดหรือดางแกจะมีปริมาณ H + และ OH - มากซึ่งมีผลตอคาการเคลื่อนที่ของอิออนสูง<br />

สวน<br />

ความรุนแรงของความเปนพิษของโลหะลดลงเมื่อความเปนดางเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากโดยทั่วไปพีเอช<br />

เพิ่มขึ้นตามความเปนดาง<br />

(Boyd and Tucker, 1998) สําหรับความเปนดางที่เหมาะสมในการเลี้ยง<br />

สัตวน้ําควรอยูในชวง<br />

100-120 มิลลิกรัมตอลิตร (Boyd, 1982)<br />

สวนใหญความกระดางของน้ํามักเกิดจากตะกอนของแคลเซียมอิออน<br />

(Ca 2+ ) และ<br />

แมกนีเซียมอิออน (Mg 2+ ) ซึ่งจะวัดออกมาเปนปริมาณแคลเซียมคารบอเนต<br />

(CaCO3) ปริมาณความ<br />

กระดางรวม หมายถึง ผลรวมของความกระดางอันเนื่องมาจากผลรวมความเขมขนของแคลเซียม<br />

และแมกนีเซียม (ศิริเพ็ญ, 2543) ในแหลงน้ําตามธรรมชาติโดยทั่วไปจะมีคาความกระดางนอยกวา<br />

1,000 มิลลิกรัมตอลิตร ความกระดางมีความสัมพันธกับคาความเปนดางและพีเอช นอกจากนี้ความ<br />

8


กระดางของน้ํายังชวยลดความเปนพิษไดเชนกัน<br />

โดยเฉพาะพวกโลหะหนัก ดังนั้นน้ํากระดาง<br />

ปานกลางหรือสูงจึงมีความเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา<br />

ในการแบงความกระดางของน้ํา<br />

จะใชปริมาณ CaCO3 ที่มีอยูเปนเกณฑ<br />

สามารถแบงไดดังนี้<br />

(Sawyer and McCarty, 1967)<br />

น้ําออน<br />

0 - 75 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ําคอนขางกระดาง<br />

75 - 150 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ํากระดาง<br />

150 - 300 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ํากระดางมาก<br />

> 300 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 แอมโมเนียเปนสารประกอบไนโตรเจนที่เปนพิษตอกุงและสัตวน้ําอื่น<br />

ๆ ยกเวน แพลงกตอน<br />

พืชและแบคทีเรียที่ใชแอมโมเนียเปนอาหาร<br />

โดยแพลงกตอนพืชจะใชไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนีย<br />

และไนเตรท (Patrick, 1977) แอมโมเนียที่พบอยูในน้ํามี<br />

2 รูปแบบ ไดแก แอมโมเนีย ที่แตกตัว<br />

+<br />

เปนอิออน (ionize ammonia; NH4 ) ซึ่งไมเปนพิษตอสัตวน้ําและแอมโมเนียที่ไมแตกตัวเปนอิออน<br />

(un-ionize ammonia; NH3) ซึ่งเปนพิษตอสัตวน้ํา<br />

โดยที่องคการอนามัยโลกไดกําหนดมาตรฐาน<br />

ของแหลงน้ําใหมีปริมาณแอมโมเนียไมเกิน<br />

0.5 มิลลิกรัมตอลิตร ทั้งสองรูปนี้จะเปลี่ยนกลับไป<br />

กลับมาขึ้นอยูกับคาพีเอชและอุณหภูมิ<br />

แตจะพบวาคาพีเอชจะสงผลตอการแตกตัวเปนแอมโมเนียที่<br />

ไม แตกตัวเปนอิออนมากกวาอุณหภูมิ (Boyd, 1989) คือ เมื่อพีเอชสูงอัตราสวนของ<br />

แอมโมเนียที่ไมแตกตัวเปนอิออนจะสูงขึ้น<br />

ทําใหความเปนพิษตอสัตวน้ําเพิ่มขึ้น<br />

การที่แอมโมเนีย<br />

ในน้ําสูงขึ้นจะทําใหกุงขับถายแอมโมเนียไดนอยลง<br />

กอใหเกิดการสะสมแอมโมเนียในเลือดและ<br />

เนื้อเยื่อ<br />

ทําใหคา พีเอชของเลือดเพิ่มขึ้นและมีผลตอการทํางานของเอนไซม<br />

แอมโมเนียจะ<br />

ทําใหการใชออกซิเจนของเนื้อเยื่อสูงขึ้น<br />

โดยจะเขาทําลายเหงือกและความสามารถในการขนสง<br />

ออกซิเจน กุงจะออนแอและติดเชื้อโรคไดงาย<br />

แตถาน้ํามีพีเอชลดลง<br />

แอมโมเนียมอิออนจะมี<br />

อัตราสวนที่เพิ่มมากขึ้น<br />

สงผลใหความเปนพิษตอสัตวน้ําลดลง<br />

สวนอุณหภูมิเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น<br />

ความเปนพิษของแอมโมเนียจะสูงตามไปดวย (Boyd, 1982) และเมื่อคาพีเอชลดลง<br />

ความเปนพิษ<br />

ของแอมโมเนียก็จะลดลง ระดับแอมโมเนียที่ทําใหกุงโตชาอยูระหวาง<br />

0.1-0.4 มิลลิกรัมตอลิตร แต<br />

ถาอยูในชวง<br />

0.4-2.0 มิลลิกรัมตอลิตร จะทําใหสัตวน้ําตาย<br />

โดยทั่วไประดับแอมโมเนียที่ปลอดภัย<br />

สําหรับการเลี้ยงกุงควรมีคานอยกวา<br />

0.1 มิลลิกรัมตอลิตร (ชลอ และ พรเลิศ, 2547)<br />

ไนไตรทเปนสารประกอบไนโตรเจนรูปแบบหนึ่งเกิดจากการที่สารอินทรียจมตัวลงและ<br />

ทับถมที่พื้นบอถูกยอยสลาย<br />

โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยูในระหวางอนุภาคตะกอนใหเปนธาตุอาหาร<br />

9


พืชตาง ๆ โดยกระบวนการยอยสลายจําเปนตองอาศัยปริมาณออกซิเจนที่เพียงพอ<br />

สําหรับกระบวน<br />

การยอยสลายกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของกาซคารบอนไดออกไซดและทําใหคาพีเอชลดลง<br />

การยอย<br />

สลายโปรตีนทําใหเกิดแอมโมเนียซึ่งเปนอันตรายตอสัตวและถาบริเวณดังกลาวมีออกซิเจนเพียงพอ<br />

และมีแบคทีเรียในกลุม<br />

nitrifying bacteria ก็อาจเกิดปฏิกิริยาตอไปไดไนไตรทและไนเตรท<br />

(จารุมาศ, 2545) กระบวนการไนตริฟเคชัน (nitrification) ซึ่งเปนกระบวนการแปรสภาพแอมโมเนีย<br />

ใหเปนไนไตรทและไนเตรทตามลําดับ โดยการทํางานของจุลินทรีย (วิทยา, 2526; เพิ่มพูน,<br />

2528;<br />

Alexander, 1961) ซึ่งกระบวนการนี้จะเกี่ยวของกับกระบวนการ<br />

amminization ซึ่งเปนกระบวนการ<br />

ที่สารประกอบโปรตีนจะสลายตัว<br />

คือ ถูกจุลินทรียยอยสลายเปนสารประกอบไนโตรเจนพวก amino<br />

compound ตาง ๆ และในที่สุดจะเปนอามีน<br />

(amine) และกรดอะมิโน (amino acid) อีกกระบวนการ<br />

หนึ่งที่เกี่ยวของกันคือ<br />

กระบวนการ ammonification ซึ่งเกิดตอเนื่องจาก<br />

amminization<br />

สารประกอบพวกอามีนหรือกรดอะมิโนจะเปลี่ยนเปนเปนแอมโมเนีย<br />

แอลกอฮอลและพลังงาน<br />

(วิทยา, 2526) การแปรสภาพแอมโมเนียจะเกิดขึ้นโดย<br />

enzymatic oxidation ซึ่งเปนกิจกรรมของ<br />

nitrifying bacteria ซึ่งเปนพวกที่ตองการออกซิเจน<br />

กระบวนการแปรสภาพจะมีอยู<br />

2 ขั้นตอน<br />

คือ<br />

+<br />

ขั้นตอนที่<br />

1 NH3 หรือ NH4 จะถูกออกซิไดซเปนไนไตรท<br />

Enzymatic<br />

+ -<br />

2NH4 + 3O2 2NO2 + 2H2O + 4H + พลังงาน<br />

oxidation<br />

แบคทีเรียที่เกี่ยวของกับกระบวนการนี้ไดแก<br />

Nitrosomonas, Nitrosococcus<br />

ขั้นตอนที่<br />

2 ไนไตรทจะถูกออกซิไดซเปนไนเตรท<br />

Enzymatic<br />

NO 2 - + O2 2NO 3 - + พลังงาน<br />

oxidation<br />

แบคทีเรียที่เกี่ยวของ<br />

ไดแก Nitrobacter<br />

ไนเตรทในแหลงน้ํามีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของแพลงกตอนพืช<br />

ปริมาณไนเตรท<br />

จึงสามารถบงชี้ถึงกําลังผลิต<br />

(productivity) ของแหลงน้ําได<br />

แหลงที่มาของไนเตรทไดมาจาก<br />

กระบวนการไนตริฟเคชัน โดยแบคทีเรีย Nitrobacter sp. นอกจากไนเตรทจะเปนธาตุอาหารที่<br />

สําคัญในการควบคุมกระบวนการสังเคราะหแสงของพืชแลว ไนเตรทยังมีบทบาทสําคัญใน<br />

10


กระบวนการยอยสลายสารอินทรียอีกดวย เนื่องจากไนเตรทเปนตัวรับอิเลคตรอนในลําดับถัดลงมา<br />

จากออกซิเจนและมีความสําคัญมากในระดับดินที่การแทรกซึมของออกซิเจนจากน้ําที่อยูเหนือ<br />

ระดับพื้นบอนั้นถูกจํากัด<br />

เมื่อปริมาณออกซิเจนลดลงจนเกือบหมด<br />

แบคทีเรียในกลุม<br />

Pseudomonas,<br />

Moraxella, Spirillum, Thiobacillus และ Bacillus จะทําการยอยสลายสารอินทรียดวยกระบวนการ<br />

ดีไนตริฟเคชัน (denitrification) โดยกระบวนการนี้จะเกิดเฉพาะในชั้นบาง<br />

ๆ ใตผิวดิน ซึ่งอยูติดกับ<br />

ชั้นที่มีออกซิเจนดานบน<br />

(จารุมาศ, 2548) ดังสมการ<br />

-<br />

4NO3 + 5CH2O (organic matter) + 4H + 2N2 + 5CO2 + 7H2O สารอินทรียจะถูกยอยสลายโดยแบคทีเรียที่ใชออกซิเจนจากไนเตรทเปลี่ยนสารอินทรียไป<br />

เปนคารบอนไดออกไซด น้ําและกาซไนโตรเจน<br />

ซึ่งกาซไนโตรเจนที่ถูกสรางขึ้นจะถูกปลอยสู<br />

-<br />

บรรยากาศ สวนคารบอนไดออกไซดจะทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดเปนไบคารบอเนต<br />

(HCO3 ) ปฏิกิริยานี้<br />

จะทําใหความเปนกรดของดินลดลง (Boyd, 1995)<br />

ในสภาวะที่ไมมีออกซิเจนแบคทีเรียบางชนิดสามารถใชซัลเฟตและสารประกอบซัลเฟอร<br />

ออกไซดอื่น<br />

ๆ เปนตัวรับอิเลคตรอนในกระบวนการเมตาบอลิซึมจะไดพวกซัลไฟดออกมา ซึ่งซัลไฟด<br />

เปนอิออนที่แตกตัวอยูในสภาวะที่สมดุลกับไฮโดรเจนซัลไฟดซึ่งมีคาพีเอชเปนตัวกําหนดวาซัลไฟด<br />

จะอยูในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

(H2S) ไฮโดรซัลไฟดอิออน (HS - ) หรือไบซัลไฟดอิออน (S 2- ) ซัลไฟด<br />

ที่เปนพิษตอสัตวน้ําจะอยูในรูปของไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนา<br />

โดยมีระดับความเขมขนอยู<br />

ในชวง 0.01-0.05 มิลลิกรัมตอลิตร สมพร (2535) รายงานวาไฮโดรเจนซัลไฟดที่ความเขมขน<br />

1.3<br />

มิลลิกรัมตอลิตร จะมีผลทําใหกุงเกิดอาการช็อกเปนอัมพาตและจะตายในที่สุด<br />

3. ความสัมพันธระหวางดินและน้ําในการเลี้ยงกุง<br />

ดินพื้นบอมีความสําคัญในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

คือ ทําหนาที่ในการเก็บกักน้ําเปนที่อยู<br />

อาศัยของสัตวและพืชน้ํา<br />

เปนที่เก็บสะสมของสาร<br />

และเปนศูนยกลางการหมุนเวียนของธาตุอาหาร<br />

ตาง ๆ ภายในบอ (Boyd, 1990; Matida, 1966) อีกทั้งยังเปนบัฟเฟอร<br />

(buffer) และเปนตัวกรองทาง<br />

ชีวภาพโดยดูดยึดสารอินทรียตกคางจากอาหาร สิ่งขับถายและสารเมตาบอไลทตาง<br />

ๆ (Ray and<br />

Chien, 1992) คุณภาพของดินพื้นบอจะสงผลกระทบตอคุณภาพน้ําในบอและตอตัวกุงโดยตรง<br />

11


เนื่องจากกุงใชเวลาสวนใหญอยูบริเวณพื้นกนบอ<br />

(ยนต และ พรพันธ, 2534; Boyd, 1990; Hajek<br />

and Boyd, 1994)<br />

สําหรับกระบวนการทางฟสิกส เคมีและชีวภาพของดินพื้นบอจะเกี่ยวของกับคุณภาพน้ํา<br />

สภาพดินที่ไมดีจะเปนขอจํากัดที่รุนแรงตอการเลี้ยงกุงแบบกึ่งพัฒนาและพัฒนา<br />

(Boyd, 1992; Ray<br />

and Chien, 1992) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหวางดินและน้ําจะสงผลตอคุณภาพน้ํา<br />

การเจริญเติบโตและ<br />

อัตราการรอดตายของสัตวน้ํา<br />

(Hajek and Boyd, 1994) การแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นระหวางดินและน้ํา<br />

จะเกี่ยวของกับอินทรียวัตถุและออกซิเจน<br />

โดยจะเปนพลังงาน แรธาตุและอาหารสําหรับสิ่งมีชีวิต<br />

ในดินขนาดเล็กและสัตวหนาดิน (Guy, 1992) โดยสามารถแบงดินพื้นบอออกเปนชั้นตามระดับ<br />

ความลึกและปริมาณออกซิเจนที่ใชในการยอยสลายสารอินทรีย<br />

(Barnes and Hughs, 1982; Brown<br />

and McLachlan, 1990; Munsiri et al., 1995) ได 4 ชั้น<br />

คือ<br />

3.1 flocculent layer เปนชั้นบนสุดของดินพื้นบอ<br />

ประกอบดวยพวกซากแพลงกตอนที่ตาย<br />

อาหารเหลือสิ่งขับถาย<br />

จุลินทรีย และอนุภาคขนาดเล็ก การเคลื่อนที่ของน้ําผานบริเวณนี้จะชา<br />

เนื่องจากมีความหนืดสูงกวาน้ําที่หมุนเวียนอยูขางบน<br />

(freely-circulating water) สารตาง ๆ เคลื่อนที่<br />

โดยการพา (convection) และการแพรโดยเฉพาะอยางยิ่งการแพรจะมีบทบาทหลักตอการ<br />

ปลดปลอยสารหรืออิออนตาง ๆ จากน้ําในดิน<br />

(interstitial water) สูน้ําในบอ<br />

สวนการเคลื่อนที่ของ<br />

สารลงสูดินชั้นลางตามชองวางระหวางอนุภาคดินเกิดการแพรและการดูดซึมลงสูดานลาง<br />

(downward seepage) (Boyd, 1995)<br />

3.2 oxidized layer หรือ aerobic zone คือ ดินชั้นบนที่มีออกซิเจน<br />

ไนโตรเจนและซัลเฟอร<br />

ซึ่งอยูในสภาพออกซิไดซ<br />

(oxidized states) ไดแก ไนเตรทและซัลเฟตโดยมีคาศักยไฟฟารีดอกซ<br />

ระหวาง 200-400 มิลลิโวลต ดินชั้นนี้จะเกิดกระบวนการไนตริฟเคชันโดยกลุมแบคทีเรียพวก<br />

คีโมลิโทโทรฟ (chemolithotroph) กระบวนการนี้จะเริ่มจากแอมโมเนียมอิออนจะถูกออกซิไดซเปน<br />

ไนไตรทโดยแบคทีเรีย Nitrosomonas และขั้นที่สองไนไตรทถูกออกซิไดซเปนไนเตรทโดย<br />

แบคทีเรีย Nitrobacter ทั้งสองกระบวนการเปนการหายใจแบบใชออกซิเจน<br />

เรียกแบคทีเรียกลุมนี้วา<br />

ไนตริไฟอิ้งแบคทีเรีย<br />

ดินในชั้นนี้ยังมีกระบวนการตรึงกาซไนโตรเจนโดยเปลี่ยนกาซไนโตรเจน<br />

กลับมาเปนไนเตรท (ดวงพร, 2545; ชลอ และ พรเลิศ, 2547) และกระบวนการดีซัลเฟอริเซชัน<br />

(desulferization) คือ กระบวนการกําจัดซัลเฟอรออกจากสารอินทรียทําใหเกิดซัลเฟตโดยแบคทีเรีย<br />

บางชนิดในชั้นที่มีออกซิเจน<br />

12


3.3 redox potential discontinuity layer (RPD) คือ ดินชั้นกลางซึ่งอยูระหวางชั้นที่มี<br />

ออกซิเจนและไมมีออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนจากสภาวะออกซิไดซเปนสภาวะรีดิวซ<br />

ออกซิเจนใน<br />

ดินชั้นนี้จะลดลงจนเกือบหมด<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซจะมีคาใกลเคียง 0 มิลลิโวลต (Brown and<br />

McLachlan, 1990) เริ่มมีการเกิดกระบวนการดีไนตริฟเคชัน<br />

โดยไนเตรทจะทําหนาที่เปนตัวรับ<br />

อิเลคตรอนตัวสุดทาย เรียกวา การหายใจแบบไมใชออกซิเจน (anaerobic respiration ในที่นี้ก็คือ<br />

nitrate respiration) ไนเตรทถูกเปลี่ยนเปนกาซไนโตรเจน<br />

สําหรับการใชกลูโคสโดยผานการรีดิวซ<br />

ไนเตรทสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

-<br />

4NO3 + C6H12O6 2N2 + 6CO2 + 6H2O ดังนั้นกระบวนการดีไนตริฟเคชันที่เกิดโดยแบคทีเรียบางชนิด<br />

เชน Escherichia coli<br />

ซึ่งมีความสามารถรีดิวซไนเตรทเปนไนไตรท<br />

แตแบคทีเรียอื่น<br />

ๆ สามารถทําขั้นตอนตอจากนี้ไดอีก<br />

2 ขั้นตอนของการหายใจแบบไมใชออกซิเจน<br />

คือ การรีดิวซไนไตรทเปนกาซไนตรัสออกไซด<br />

(N2O) และรีดิวซตอเปนกาซไนโตรเจน เมื่อเกิดกาซไนตริกออกไซดหรือไนตรัสออกไซดหรือ<br />

ไนโตรเจนถือวาเกิดกระบวนการดีไนตริฟเคชัน ตัวอยางแบคทีเรียที่ทําใหเกิดกระบวนการนี้<br />

เชน<br />

Pseudomonas, Moraxella, Spirillum, Thiobacillus และ Bacillus การเกิดไนตรัสออกไซดเกิดไดดี<br />

เมื่อสิ่งแวดลอมมีไนเตรทปริมาณมากและมีคาพีเอชที่ต่ําแตการเกิดกาซไนโตรเจนจะเกิดไดดีกวา<br />

เมื่อมีสารอินทรียเพียงพอที่จะเปนแหลงพลังงานสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

-<br />

4NO3 + 5CH2O (organic matter) 2N2 + 5CO2 + 7H2O สารอินทรียจะถูกแบคทีเรียที่ใชออกซิเจนจากไนเตรทเปลี่ยนสารอินทรียไปเปน<br />

คารบอนไดออกไซด น้ําและกาซไนโตรเจน<br />

ซึ่งกาซไนโตรเจนที่ถูกสรางขึ้นจะถูกสงออกไปสู<br />

-<br />

บรรยากาศ คารบอนไดออกไซดจะทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดเปนไบคารบอเนต<br />

(HCO3 ) ปฏิกิริยานี้จะ<br />

ทําใหดินมีความเปนกรดลดลง (Boyd, 1995)<br />

3.4 reduced layer คือ ดินชั้นลางสุดที่ไมมีออกซิเจนซึ่งเปนชั้นรีดิวซ<br />

ในดินชั้นนี้จะมีคา<br />

-<br />

ศักยไฟฟารีดอกซเปนลบ ภายหลังจากการใชไนเตรท (NO3 ) แมงกานีสออกไซด (MnO2) และเหล็ก<br />

2-<br />

ออกไซด (Fe2O3) จนหมดแลว แบคทีเรียพื้นบอบางชนิดจะใชซัลเฟต<br />

(SO4 ) เปนตัวรับอิเลคตรอน<br />

ซึ่งการใชซัลเฟตในการหายใจเปนการรีดิวซซัลเฟตแบบสลาย<br />

(dissimilatory sulfate reduction)<br />

13


และแบคทีเรียกลุมนี้เจริญในสภาวะไมมีออกซิเจนเทานั้น<br />

เรียกแบคทีเรียกลุมนี้วา<br />

sulfate reducing<br />

bacteria ไดแก Desulfovibrio, Desulfomonas (ดวงพร, 2545) ผลจากการรีดิวซทําใหเกิดไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

2-<br />

SO4 + 2CH2O (organic matter) S 2- + 2CO2 + 2H2O S 2- + 2H + H2S ซัลไฟดซึ่งจะอยูในสามรูปแบบ<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ไฮโดรซัลไฟดอิออน<br />

(HS - ) และไบซัลไฟดอิออน (S 2- ) ในน้ําที่มีพีเอชต่ําจะมีเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดสูง<br />

แตถา<br />

น้ํามีคาพีเอชสูงขึ้นเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดจะลดลง<br />

แตไฮโดรซัลไฟดอิออนและไบซัลไฟด<br />

อิออนมากขึ้นความเปนพิษตอสัตวน้ําลดลงดวย<br />

(ชลอ และ พรเลิศ, 2547) พวกโลหะหนักที่มีความ<br />

วองไวมากจะรวมตัวกับกาซไฮโดรเจนซัลไฟด แลวอยูในรูปตกตะกอนเปนโลหะซัลไฟดซึ่งมีสีดํา<br />

(ดวงพร, 2545)<br />

สําหรับรูปแบบการเคลื่อนยายของสารตาง<br />

ๆ ภายในบอในทางเคมีมี 2 ลักษณะ คือ<br />

ผิวดินพื้นบอที่มีออกซิเจน<br />

(oxidized layer) และผิวดินพื้นบอที่ไมมีออกซิเจน<br />

(reduced layer)<br />

แตน้ําที่อยูขางบนยังมีอากาศ<br />

ชั้นที่มีออกซิเจนจะควบคุมไมใหสารรีดิวซ<br />

เชน พวกไนไตรท เฟอรรัส<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด กาซมีเทนและสารรีดิวซตัวอื่น<br />

ๆ แพรขึ้นไปสูน้ําขางบน<br />

ถาน้ําในบอมีออกซิเจน<br />

สารรีดิวซเหลานี้จะตกตะกอนลงมาอีกครั้ง<br />

อยางไรก็ตามการตกคางนาน ๆ จะเปนอันตรายตอกุง<br />

โดยตรง (สุวณิช, 2540; Boyd, 1992; Masuda and Boyd, 1994)<br />

14


ภาพที่<br />

1 ชั้นของหนาตัดดินพื้นบอ<br />

ที่มา:<br />

Munsiri et al. (1995)<br />

ภาพที่<br />

2 การเคลื่อนที่ของน้ําและมวลสารตาง<br />

ๆ ภายในบอเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1990)<br />

15


ภาพที่<br />

3 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอมีออกซิเจน<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1995)<br />

ภาพที่<br />

4 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอขาดออกซิเจน<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1995)<br />

16


4. การวัดคาความเนาเสียของพื้นบอโดยใชคาศักยไฟฟารีดอกซในดิน<br />

(redox potential)<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซเปนการวัดเชิงปริมาณของแนวโนมในระบบที่จะออกซิไดซหรือ<br />

รีดิวซสารประกอบ คาศักยไฟฟารีดอกซจะเปนบวกและมีคาสูงในระบบออกซิเดชันในดินที่มี<br />

ออกซิเจนอยูเพียงพอ<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซอยูในชวง<br />

0 ถึง +600 มิลลิโวลต และมีคาเปนลบหรือต่ํา<br />

ในระบบรีดักชันรุนแรง คือ ดินที่เนาเสียหรือไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

(ทัศนีย, 2534; Guy, 1992; Boyd,<br />

1995) โดยมีคาศักยไฟฟารีดอกซอยูในชวงติดลบอาจต่ําลงถึง<br />

-200 มิลลิโวลตหรือนอยกวานี้<br />

ดังนี้<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซโดยประมาณที่สารประกอบตาง<br />

ๆ ในดินจะถูกรีดิวเปนไปตามสมการ<br />

5. กาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

O 2 H 2O +380 ถึง +320 มิลลิโวลต<br />

-<br />

NO3 N2, Mn 4+ Mn 2+ +280 ถึง +220 มิลลิโวลต<br />

Fe 3+ Fe 2+ +180 ถึง +150 มิลลิโวลต<br />

2- 2-<br />

SO4 S -120 ถึง -180 มิลลิโวลต<br />

CO 2 CH 4 -200 ถึง -280 มิลลิโวลต<br />

5.1 คุณสมบัติของไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดเปนกาซพิษ ไมมีสี มีกลิ่นเหม็นคลายไขเนา<br />

จึงมีชื่อเรียกโดยทั่วไป<br />

วากาซไขเนา (Gregg, 1966) เปนกาซที่มีคุณสมบัติติดไฟได<br />

ในอากาศจะมีอยูเจือจาง 0.002 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร เมื่อเผาไหมในอากาศจะใหเปลวไฟสีน้ําเงินออน<br />

หนักกวาอากาศ 1.5392 กรัมตอลิตร (ที่<br />

0<br />

องศาเซลเซียส 760 มิลลิเมตรปรอท) มีความหนาแนนเมื่อเทียบกับอากาศ<br />

1.19 (อากาศ = 1.00) และ<br />

ความสามารถในการละลายน้ําของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิ<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

17


1 กรัม จะละลายอยูในน้ํา<br />

187 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ<br />

10 องศาเซลเซียส (Windholz, 1976) ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเมื่อละลายน้ําจะไมเสถียรจะแตกตัวออกเปน<br />

2 รูปแบบ คือ รูปที่ไมแตกตัวเปนอิออน<br />

ไดแก<br />

H2S และรูปที่แตกตัวเปนอิออน<br />

ไดแก HS - และ S 2- โดยถูกควบคุมดวยคาพีเอชของน้ํา<br />

ซึ่งจะอยูใน<br />

สภาพที่สมดุลกัน<br />

ดังสมการ (Sawyer and McCarty, 1967)<br />

5.2 แหลงของไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

H 2S HS - + H +<br />

HS - S 2- + H +<br />

แหลงที่มาของไฮโดรเจนซัลไฟดในแหลงน้ํา<br />

มักจะมาจากกระบวนการยอยสลายสาร<br />

โดยธรรมชาติ น้ําเสีย<br />

และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งโดยปกติในแหลงน้ําธรรมชาติมักจะ<br />

2-<br />

มีซัลเฟตอิออน (SO4 ) อยูมากและสามารถถูกรีดิวซไดภายใตสภาวะที่ไมมีออกซิเจน<br />

(anaerobic<br />

condition) โดยอาศัยแบคทีเรียสกุล Desulfovibrio ซึ่งมักจะใชไฮโดรเจนอิออน<br />

(H + ) จาก lactate<br />

และ pyruvate เปนแหลงพลังงาน เกิดเปนไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดจากการยอยสลายซากของสิ่งมีชีวิต<br />

ซึ่งมีซัลเฟอร<br />

(S) เปน<br />

องคประกอบของกรดอะมิโนบางชนิด เชน ซิสเตอีน (cysteine) เมทไธโอนีน (methionine) ซิสติน<br />

(cystine) รวมทั้งวิตามินและโคเอนไซม<br />

(co-enzyme) บางชนิด (Funchel and Blackbun, 1979) ใน<br />

การยอยสลายพวกซากอินทรียจะมีคา turn over ของซัลไฟดเพียง 4 เปอรเซ็นต (Jørgensen, 1977)<br />

โดยแบคทีเรียสกุล Escherichia และ Proteus ชวยยอยสลายภายใตสภาพที่ไมมีออกซิเจนจะได<br />

ซัลไฟด (S 2- ) และไฮโดรเจนซัลไฟด เปนตน (สมสุข, 2528)<br />

นอกจากนั้นมักพบไฮโดรเจนซัลไฟดในปริมาณที่คอนขางสูง<br />

ในบริเวณที่อยูใกลกับ<br />

แหลงที่มีสารประกอบซัลเฟอรเปนองคประกอบ<br />

เชน พวกไพไรท (pyrite) (FeS) ยิปซั่ม<br />

(gypsvum)<br />

(CaSO4.2H2O) และซัลไฟดของสารทองแดง (Cu) chalcopyrite bornite ซัลไฟดของสังกะสี เชน<br />

sphalerrite ซัลไฟดของตะกั่ว<br />

เชน Galena ซึ่งสารประกอบเหลานี้จะถูกยอยสลายโดยแบคทีเรีย<br />

ภายใตสภาพที่ไมมีออกซิเจนก็จะไดไฮโดรเจนซัลไฟดออกมา<br />

(Jorgensen, 1977; Nurnerg, 1984)<br />

จากการรายงานของ Serokin (1968) และ Dunnettle et al. (1985) กลาววามักพบไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

18


ในแหลงน้ําที่อยูชั้นลางสุดและในตะกอนดินในปริมาณที่คอนขางสูง<br />

เนื่องจากบริเวณนี้มีพวกซาก<br />

สิ่งมีชีวิตและอนินทรียสารมากและไมคอยมีสารที่สามารถออกซิไดซได<br />

จึงมักตองอาศัยการทํางาน<br />

ของแบคทีเรียชวยยอยสลายเทานั้น<br />

ซึ่ง<br />

Novazhilova and Berezina (1966) พบวาจํานวนแบคทีเรียที่<br />

ใชในการรีดิวซซัลเฟอรนั้นจะมีอยูในน้ํานอยมาก<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับในตะกอนดินโคลนและปริมาณ<br />

ของแบคทีเรียจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลดวยคือ<br />

ในฤดูรอนจะพบวามีปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ในตะกอนโคลนมากกวาในฤดูใบไมผลิ ซึ่งอาจเกิดจากหลังกระบวนการที่เกิดขึ้นในฤดูหนาว<br />

ซึ่ง<br />

มักจะมีกระแสลมและพายุมาก ทําใหแหลงน้ําเกิดการหมุนเวียนไฮโดรเจนซัลไฟดจึงมีโอกาสฟุง<br />

กระจายในมวลน้ํา<br />

ทําใหสัตวน้ําตายเปนจํานวนมากและบางสวนของกาซไขเนานั้นจะระเหยออกสู<br />

บรรยากาศได<br />

5.3 ลักษณะการแพรกระจายของปริมาณซัลไฟดในดินตะกอน<br />

จารุมาศ (2548) กลาวไววาซัลไฟดในรูปแบบตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในดินตะกอน<br />

เกิดจาก<br />

กระบวนการชีวภาพและกระบวนการทางอนินทรียเคมี สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทโดยตรงตอการเกิดซัลไฟด<br />

2-<br />

คือ แบคทีเรียกลุมที่ทําการยอยสลายสารอินทรียในดินแบบไมใชออกซิเจน<br />

แตใชซัลเฟต (SO4 )<br />

เปนตัวรับอิเลคตรอนในปฏิกิริยาแบคทีเรียกลุมนี้เรียกวา<br />

sulfate reducing bacteria (เชน<br />

Desulfovibrio) และปฏิกิริยาที่เกิดการยอยสลายของสารอินทรียในกระบวนการ<br />

sulfate reduction<br />

ผลของปฏิกิริยา sulfate reduction จะใหสารประกอบ เชน แอมโมเนียและซัลไฟด<br />

ออกมาสะสมอยูในดินบริเวณนั้นและ/หรืออาจมีการแพรกระจายขึ้นไปที่ผิวดินไดซัลไฟดที่ผลิตใน<br />

ดินจะมีการรวมตัวกับธาตุเหล็กเกิดเปนสารประกอบในรูป FeS ซึ่ง<br />

FeS ก็ยังมีการเปลี่ยนรูปแบบได<br />

สารประกอบที่เรียกวา<br />

pyrite (FeS2) ซึ่งเปนรูปที่ไมละลายน้ําและถือเปนองคประกอบหลักขั้น<br />

สุดทายจากกระบวนการ sulfate reduction ในสภาพดินที่ไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

แตจะพบวาบริเวณ<br />

ผิวหนาดิน โดยทั่วไปที่มีโอกาสสัมผัสกับออกซิเจนในน้ําเหนือผิวดินหรือผิวหนาดินที่มีลักษณะ<br />

โปรง ซึ่งน้ําแทรกซึมผานไดดีจะไมพบปริมาณซัลไฟดอยูเลย<br />

ปฏิกิริยาการยอยสลายสารอินทรียที่<br />

บริเวณดังกลาวก็จะเกิดขึ้นภายใตสภาพที่มีออกซิเจนโดยที่ซัลไฟดหรือไฮโดรเจนซัลไฟดจะเริ่ม<br />

ปรากฏขึ้นเมื่อระดับความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น<br />

ระดับที่มีการสะสมของซัลไฟดสูงสุดมีความ<br />

แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดและองคประกอบทางอินทรียสารของดินตะกอนนั้น<br />

ดินตะกอนใน<br />

ธรรมชาติที่มีลักษณะเปนทรายอาจมีระดับสูงสุดของไฮโดรเจนซัลไฟดที่ประมาณ<br />

6-8 เซนติเมตร<br />

ขณะที่ในดินที่เปนโคลนปนทรายอาจมีระดับสูงสุดอยูที่ใกลผิวดินมากกวา<br />

คือ ในระดับประมาณ<br />

19


2-3 เซนติเมตร เทานั้น<br />

เมื่อพิจารณาดินในระดับที่มีความลึกมากขึ้น<br />

สวนใหญซัลไฟด<br />

ในดินจะมีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณอินทรียสารใหม<br />

ๆ ซึ่งแบคทีเรียนํามาใชจะอยูเฉพาะ<br />

บริเวณผิวหนาดิน นอกจากนี้สารละลายซัลเฟต<br />

(ซึ่งมีแหลงที่มาจากผิวน้ําดานบน)<br />

จะมีปริมาณที่<br />

ลดลงตามความลึกของดินดวย<br />

ในดานการศึกษาการเกิดสารประกอบซัลไฟดในดินจะพบวาอัตราการเกิดไดรับ<br />

อิทธิพลจากปริมาณซัลเฟตตลอดจนกระบวนการทางอนินทรียเคมีที่ทําใหมีการเปลี่ยนรูปตาง<br />

ๆ<br />

ของซัลไฟด (Jørgensen, 1977) และบทบาทดังกลาวอาจสูงกวา 50 เปอรเซ็นตของการยอยสลายเกิด<br />

ขึ้นทั้งหมดในดินในเขตใกลฝงที่มีการสะสมของอินทรียสารสูงอีกดวย<br />

5.4 การผลิตกลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดโดยจุลินทรีย<br />

กลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดโดยกิจกรรมของจุลินทรีย<br />

ซึ่งสามารถเกิดได<br />

2 วิธี คือ<br />

5.4.1 การยอยสลายสารอินทรียโดยเฉพาะโปรตีนที่มีกํามะถันเปนองคประกอบภาย<br />

ใตสภาวะที่ไมมีออกซิเจน<br />

โดยแบคทีเรียพวก proteolytic bacteria ไดแก Proteus, Escherichia และ<br />

Pseudomonas เรียกปฏิกิริยานี้วา<br />

ดีซัลเฟอเรชัน แบคทีเรียกลุมนี้เปน<br />

facultative anaerobe ดํารงชีวิต<br />

อยูไดในสภาวะที่มีและไมมีออกซิเจน<br />

แตสําหรับการสรางไฮโดรเจนซัลไฟดจะเกิดในสภาวะที่ไม<br />

มีอากาศเทานั้น<br />

5.4.2 การรีดิวซซัลเฟตภายใตสภาวะไมมีออกซิเจน การรีดิวซซัลเฟตที่พื้นบอเกิด<br />

จากกิจกรรมของแบคทีเรียในขณะที่ไมมีออกซิเจน<br />

โดยสามารถใชออกซิเจนในซัลเฟตสําหรับการ<br />

ออกซิไดซสารอินทรีย กลาวคือ ใชซัลเฟตเปนตัวรับอิเลคตรอน ผลคือ ซัลเฟตจะถูกรีดิวซใหเปน<br />

ซัลไฟด ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นเมื่อไมมีตัวรับอิเลคตรอนอื่น<br />

ๆ เชน ออกซิเจนหรือไนเตรทดวย แตถา<br />

มีตัวรับอิเลคตรอนทั้งสามชนิดอยูดวยกันแลว<br />

ลําดับที่จะถูกใช<br />

คือ ออกซิเจน ไนเตรทและซัลเฟต<br />

ตามลําดับ (Heukelekian, 1948) แบคทีเรียที่มีความสามารถในการรีดิวซซัลเฟต<br />

คือ พวก sulfatereducing<br />

bacteria เชน Desulfovibrio, Desulfomonas, Desulfotomaculum โดยมี Desulfovibrio<br />

desulfuricans เปนแบคทีเรียที่พบบอยที่สุดและการเกิดซัลไฟดโดยวิธีนี้เปนกลไกที่สําคัญที่สุดของ<br />

การเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดในน้ําเสีย<br />

(Dague, 1972)<br />

20


Heukelekian (1948) ไดสรุปวาในน้ําที่ไหลซึ่งจะมีปริมาณออกซิเจนสูงคาศักย<br />

ไฟฟารีดอกซจะสูงตามไปดวยโอกาสที่จะเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดเนื่องจากแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟต<br />

จึงมีนอยมาก คาศักยไฟฟารีดอกซที่จุลินทรียพวกที่รีดิวซซัลเฟตจะเจริญไดดีมีคา<br />

-200 ถึง -300<br />

มิลลิโวลต (Eliassen, 1949; Boon, 1995) สวนพีเอชที่เหมาะสมตอการรีดิวซซัลเฟตอยูในชวง<br />

6.5-<br />

8.0 (Boon, 1995)<br />

จากการศึกษาไดมีการยอมรับกันอยางกวางขวางวา การตกทับถมกันของ<br />

ตะกอนและเมือกของแบคทีเรียในทอน้ําทิ้งเปนที่เกิดของซัลไฟด<br />

(Heukelekian, 1948; Santry,<br />

1966) ในบริเวณบอเก็บรวบรวมและบําบัดน้ําเสีย<br />

แบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตสามารถเจริญและสราง<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดได เนื่องจากมีปริมาณสารอินทรียและมีตัวรับอิเลคตรอน<br />

คือ ซัลเฟตจากน้ําเสีย<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดที่สรางขึ้นจะซึมผานเขาไปในน้ําเสียที่ไหลอยูแลวทําใหคาศักยไฟฟารีดอกซ<br />

ของน้ําลดลงและถาน้ําเสียที่ไหลนี้ไมไดรับการเติมอากาศเลยและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

คือ 21-32<br />

องศาเซลเซียส จะเกิดสภาวะที่ทําใหแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตเจริญขึ้นมาอยางมากมาย<br />

กอใหเกิด<br />

ปญหาเรื่องกลิ่นของไฮโดรเจนซัลไฟดขึ้น<br />

(Dague, 1972) แมในบอน้ําเสียที่มีการใหอากาศก็มีการ<br />

ตกตะกอนทับถมกันเปนจํานวนมาก เมื่อมีการกวนน้ําในบอจะทําใหเกิดการฟุงกระจายของกลิ่น<br />

ออกมาจากตะกอนจนถึงระดับที่เกิดปญหาเรื่องกลิ่นขึ้นไดเชนกัน<br />

สภาวะแวดลอมอื่นที่มีผลตอแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟต<br />

เชน คาพีเอช โดยพบวา<br />

แบคทีเรียพวกนี้สามารถปรับตัวเจริญและสรางไฮโดรเจนซัลไฟดอยางรวดเร็วในชวงพีเอชต่ํากวา<br />

6<br />

จนถึง 9 เปนอยางนอย สวนคาพีเอชที่เหมาะสมมีคาระหวาง<br />

7.5-8.0 (Pomeroy and Bowlus, 1946<br />

อางโดย Dague, 1972)<br />

คาพีเอชยังมีความสําคัญในดานอื่นนอกจากผลตอแบคทีเรียกลุมนี้ดวยเพราะ<br />

เมื่อไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดในน้ําเสียแลวจะเกิดการแตกตัวไดเปนไฮโดรเจนอิออนและซัลไฟด<br />

อิออน 2 แบบ ดังนี้<br />

H 2S H + + HS -<br />

HS - H + + S 2-<br />

21


ถาคาพีเอชเปลี่ยนแปลงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสมดุลนี้<br />

นั่นคือ<br />

ถาความ<br />

เขมขนของไฮโดรเจนอิออนสูงพีเอชจะลดลงจะเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดมาก ถาความเขมขนของ<br />

ไฮโดรเจนอิออนต่ําจะเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดนอย<br />

ซึ่งความสําคัญในที่นี้<br />

คือ เฉพาะกาซไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเทานั้นที่หนีออกจากของเหลวไดแลวออกสูบรรยากาศทําใหเกิดกลิ่นเหม็นขึ้น<br />

(Dague, 1972)<br />

5.5 ความเขมขนต่ําสุดของกลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดที่รับรูได<br />

ความเขมขนของกลิ่นแสดงอยู<br />

ในรูปมวลตอปริมาตร มีหนวยเปนสวนในลานสวน<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) โดยความเขมขนต่ําสุดที่สามารถรับรูไดภายใตสภาวะหนึ่ง<br />

เรียกวา threshold<br />

odor (TO) ซึ่งสารประกอบตาง<br />

ๆ ที่มีกลิ่นจะมีคา<br />

TO แตกตางกันและเปลี่ยนแปลงไปตามผูรับกลิ่น<br />

และสภาวะแวดลอม (Dague, 1972) ในกรณีของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดมีคา TO เทากับ 0.0011 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร (Cheremisinoff, 1995)<br />

5.6 ผลเสียของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

จารุมาศ (2545) กลาวไววา กาซไฮโดรเจนซัลไฟดกอใหเกิดผลเสีย คือ<br />

5.6.1 กอใหเกิดปญหาเรื่องกลิ่น<br />

เนื่องจากมีกลิ่นคลายกาซไขเนา<br />

ระดับความเขมขน<br />

ของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดที่รับรูไดมีคาต่ํามาก<br />

คือ 0.0011 มิลลิกรัมตอลิตร (Cheremisinoff, 1995)<br />

5.6.2 เปนพิษตอสิ่งมีชีวิต<br />

กาซไฮโดรเจนซัลไฟดในปริมาณความเขมขนที่สูงขึ้นจะ<br />

ทําใหประสาทรับกลิ่นเกิดอาการลา<br />

ในที่สุดกลิ่นเหม็นจึงหายไป<br />

เมื่อมนุษยไดรับกาซนี้เขาไปจะทํา<br />

ใหหมดสติและถึงตายอยางรวดเร็วถาในบรรยากาศมีกาซนี้อยูในปริมาณ<br />

300 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

นอกจากนี้ยังเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําแมในปริมาณนอยกวา<br />

1 มิลลิกรัมตอลิตร ระดับความเปนพิษ<br />

ยังเปลี่ยนแปลงไดตามพีเอช<br />

อุณหภูมิ และการแตกตัวของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดเอง<br />

5.6.3 ทําใหเกิดการกัดกรอนของทอคอนกรีตหรืออุปกรณที่ทําจากโลหะ<br />

เนื่องจากเมื่อ<br />

กาซไฮโดรเจนซัลไฟดถูกออกซิไดซจะเกิดเปนกรดซัลฟูริกซึ่งมีฤทธิ์ในการกัดกรอนและเมื่อกรดนี้<br />

ถูกชะลงสูแหลงน้ําจะเกิดสภาวะกรดที่เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ํานั้นไฮโดรเจนซัลไฟดที่<br />

22


เกิดขึ้นในระบบทอน้ําที่มีการเนาเสียภายในนั้นไดมีการกลาวถึงอยางละเอียดโดย<br />

Boon (1995) ทั้ง<br />

ดานสาเหตุ ผลเสียหายที่เกิดขึ้นและการควบคุม<br />

5.6.4 ทําใหแหลงน้ํามีสภาพไมนาดูเพราะเกิดการตกตะกอนสีดําที่คงตัวของโลหะ<br />

ซัลไฟด เนื่องจากกาซไฮโดรเจนซัลไฟดทําปฏิกิริยากับโลหะ<br />

เชน Fe 2+ , Pb 2+ และ Zn 2+<br />

5.7 การควบคุมกลิ่นของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

วิธีการที่ใชในการควบคุมกลิ่นตองพิจารณารวมกับปจจัยอื่น<br />

ๆ ณ จุดที่มีกลิ่น<br />

กลาวคือ<br />

ปจจัยทางเคมี ฟสิกสและชีววิทยาและการเลือกวิธีการควบคุมนั้นจําเปนตองศึกษาลงไปใน<br />

รายละเอียดของการเกิดกลิ่นจึงจะสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมได<br />

(Hartman, 1976) ปจจัยตาง ๆ ที่<br />

ตองพิจารณาในการเลือกวิธีที่ดีที่สุด<br />

คือ สภาพภูมิอากาศทองถิ่น<br />

วิธีการบําบัด ประสบการณ<br />

ความสามารถของผูปฏิบัติงาน<br />

ระยะเวลาและความถี่ที่เกิดกลิ่นแตละชนิดและคาใชจายในการ<br />

แกปญหา (Boon, 1995)<br />

วิธีปฏิบัติในการควบคุมกลิ่น<br />

แบงไดเปน 3 วิธีใหญ ๆ คือ วิธีทางเคมี ฟสิกสและ<br />

ชีววิทยา โดยอาจใชแตเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งหรืออาจใชหลายวิธีรวมกันขึ้นกับความเหมาะสม<br />

วิธีทางเคมีโดยการใชสารเคมีในการควบคุมกลิ่นนั้นจะตองใชสารเคมีที่ไมรบกวนตอ<br />

ระบบการบําบัดทางชีววิทยาของโรงบําบัดน้ําเสียและตองไมเปนพิษตอคน<br />

ปลา พืชและสิ่งมีชีวิต<br />

ตาง ๆ การบําบัดโดยใชสารเคมีนี้โดยทั่วไปเสียคาใชจายมากและมีความยุงยาก<br />

(Santry, 1966)<br />

สารเคมีที่ใชในการควบคุมกลิ่น<br />

ไดแก ไนเตรท<br />

ไนเตรทควบคุมการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดโดยแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตในน้ําเสียได<br />

จาก<br />

การวิจัยของ Jenneman et al. (1986) ที่ทําการศึกษาถึงผลของไนเตรทที่มีตอการผลิตซัลไฟด<br />

โดยแบคทีเรีย พบวาการเติมไนเตรทจะชวยยับยั้งการผลิตซัลไฟดไดเปนเวลานาน<br />

โดยเหตุผล 2<br />

ประการ คือ ประการแรกการเติมไนเตรททําใหคาศักยไฟฟารีดอกซสูงขึ้นจากการเกิดไนตรัสออกไซด<br />

หรือไนตริกออกไซดหรือทั้งสองอยางทําใหเกิดสภาพแวดลอมแบบออกซิไดซ<br />

สวนประการที่สอง<br />

คือ ปริมาณของแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตลดลงจากการที่ตองอยูในสภาพแวดลอมแบบออกซิไดซ<br />

เปนเวลานานและมีความเขมขนของไนตรัสออกไซดสูง เนื่องจากไนตรัสออกไซดเปนพิษตอเซลล<br />

23


(Thom and Marquis, 1984) และไนตริกออกไซดนั้นก็มีฤทธิ์ในการควบคุมการเจริญของแบคทีเรีย<br />

บางชนิด (Mancinelli and McKay, 1983) สําหรับ Jobbagy et.al. (1994) ไดใหเหตุผลของการที่<br />

ไนเตรทสามารถลดการรีดิวซซัลเฟตไปเปนไฮโดรเจนซัลไฟดวาเกิดได 2 ทาง คือแบคทีเรียพวก<br />

denitrifying bacteria มีความสามารถทางเมทาบอลิซึมดีกวาแบคทีเรียพวกที่รีดิวซซัลเฟต<br />

จึง<br />

สามารถใชสิ่งปนเปอนหรือสารที่ไฮโดรไลซไดในน้ําเสียดิบไปเปนสารประกอบที่ใชผลิตไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดไมไดอีก อีกทางหนึ่ง<br />

คือ ในการแขงขันเพื่อแยงสารตั้งตนชนิดเดียวกันพวก<br />

denitrifying<br />

bacteria จะทําใหไดดีกวา<br />

สําหรับการดัดแปลงกลิ่น<br />

(odor modification) แบงเปน 2 แบบ คือ odor counteraction<br />

และ odor masking โดย counteraction หมายถึง การเติมสารที่มีกลิ่นชนิดหนึ่งลงไปผสมกับกลิ่น<br />

ที่ไมตองการเกิดเปนของผสมที่ไมมีกลิ่นหรือมีกลิ่นนอยมาก<br />

สวน masking คือ การเติมสารที่มีกลิ่น<br />

ลงไปและดวยคุณลักษณะและความเขมขนของสารนี้จะทําใหไมสามารถรับรูกลิ่นที่ไมตองการได<br />

ทั้ง<br />

2 แบบมีกลไกที่ซอนทับกันอยูและความแตกตางกันก็ไมชัดเจน<br />

แตอาศัยหลักการที่ทําใหประสาท<br />

รับกลิ่นไมรับรูกลิ่นชั่วคราว<br />

การตอบสนองตอกลิ่นจึงนอยลงหรือเมื่อสารสองชนิดผสมกันในอัตรา<br />

สวนหนึ่งจะไดสารผสมที่มีกลิ่นนอยลงหรือกลิ่นเหม็น<br />

เมื่อไปรวมกับสวนผสมจะทําใหกลิ่นโดยรวม<br />

ดีขึ้น<br />

(Cheremisinoff, 1995) การเลือกและการประยุกตใชที่ถูกตอง<br />

สวนมากจะเปนการลองผิดลอง<br />

ถูก หลักการสําคัญ คือ ใชสารเคมีที่ถูกตองในปริมาณเทาที่จําเปน<br />

ในสถานที่ที่ถูกตองในเวลาที่<br />

ตองการซึ่งเปนงานที่ยาก<br />

โดยเฉพาะในแงของกลิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงและขึ้นกับสภาพ<br />

อุตุนิยมวิทยา วิธีการแบบ masking มีการประยุกตใชกันมากในการควบคุมกลิ่น<br />

(Post, 1956;<br />

Dague, 1972)<br />

สวนวิธีทางชีววิทยาเปนการควบคุมกลิ่นของไฮโดรเจนซัลไฟดโดยอาศัยการทํางานของ<br />

แบคทีเรียซึ่งแบงได<br />

2 กรณี คือ แบคทีเรียที่เติมลงไปจะใชกาซไฮโดรเจนซัลไฟดที่เกิดขึ้นเปนแหลง<br />

ของพลังงานในการเจริญซึ่งเปนการกําจัดกลิ่นและกรณีที่สอง<br />

คือ การเติมแบคทีเรียบางชนิดซึ่งเปน<br />

ปฏิปกษตอแบคทีเรียที่สรางไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

เชน ทําใหเกิดการแกงแยงกัน การสรางสารพิษเปน<br />

ตน จัดเปนการปองกันการเกิดกลิ่น<br />

แบคทีเรียที่ใชไฮโดรเจนซัลไฟดเปนแหลงของพลังงานในการ<br />

เจริญสามารถแบงแบคทีเรียเปน 2 กลุม<br />

คือ กลุมแบคทีเรียสังเคราะหแสง<br />

(purple sulfur bacteria, green<br />

sulfur bacteria และ purple nonsulfur bacteria) และกลุม<br />

colorless sulfur bacteria<br />

24


ปฏิกิริยา<br />

แบคทีเรียสังเคราะหแสงกําจัดไฮโดรเจนซัลไฟดไดโดยการออกซิไดซซัลไฟดตาม<br />

HS - -2<br />

+ 2H2O + 2CO2 SO4 + 2(CH2O) + H +<br />

สวนกลุม<br />

colorless sulfur bacteria ออกซิไดซซัลไฟดตามปฏิกิริยา<br />

2- +<br />

H2S + 2O2 SO4 + 2H<br />

กลุม<br />

purple sulfur bacteria สกุลที่มีการศึกษา<br />

คือ Ectothiorhodospira เนื่องจากสะสม<br />

กํามะถันนอกเซลล (Brock, 1994) มีการศึกษาการเปลี่ยนซัลไฟดใหเปนกํามะถัน<br />

โดยแบคทีเรียใน<br />

สกุลนี้พบวาไมมีการสะสมของสารที่มีฤทธิ์กัดกรอนและมีศักยภาพที่จะใชในสภาพแวดลอม<br />

อุตสาหกรรม (Vainstein et al., 1994)<br />

กลุม<br />

green sulfur bacteria สกุลที่มีการศึกษา<br />

คือ Chlorobium โดยพบวาสามารถกําจัด<br />

กํามะถันและตรึงกาซคารบอนไดออกไซดในกาซที่มีองคประกอบเปนกรด<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

และกาซคารบอนไดออกไซด (Cork et al., 1983)<br />

กลุม<br />

purple nonsulfur bacteria แบคทีเรียกลุมนี้สวนใหญสามารถใชซัลไฟดไดใน<br />

ปริมาณความเขมขนต่ํา<br />

ระดับซัลไฟดที่พวก<br />

purple และ green sulfur bacteria สามารถใชไดดีนั้น<br />

จะเปนพิษตอพวก purple nonsulfur bacteria แบคทีเรียพวกนี้บางชนิดสามารถเจริญไดในสภาวะที่<br />

ไมมีออกซิเจนและสวนมากเจริญไดในสภาวะมีออกซิเจนและอยูในที่มืด<br />

ตัวอยางแบคทีเรียกลุมนี้<br />

ไดแก สกุล Rhodospirillum (Brock, 1994)<br />

กลุม<br />

colorless sulfur bacteria โดยทั่วไปอาจเรียกสมาชิกสกุลนี้วา<br />

nonphotosynthetic<br />

sulfur bacteria (Brock, 1994) สามารถเปลี่ยนซัลไฟดไดเปนซัลเฟตทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจน<br />

และไมมีออกซิเจน (Sublette and Sylvester, 1987 a, b, c; Sublette, 1987) การศึกษาผลของ sulfide<br />

loading ที่มีตอการทํางานของถังปฏิกิริยา<br />

(Sublette and Sylvester, 1987 a; Sublette, 1987) และการ<br />

25


สราง Thiobacillus denitrificans สายพันธุทนตอซัลไฟดเพื่อใชในการออกซิไดซซัลไฟดในปริมาณ<br />

ที่สูงขึ้น<br />

(Sublette and Woolsey, 1989)<br />

แบคทีเรียในสกุล Thiobacillus สายพันธุอื่น<br />

ๆ ที่ไดรับความสนใจและมีการศึกษา<br />

เชน<br />

T. intermedius strain 031 (Cho et al., 1991a) Thiobacillus sp. HA 43 (Cho et al., 1991b)<br />

T. thioparus DW44 (Cho et al., 1991c) และ T. thioparus TK-m (Tanji et al., 1989)<br />

นอกจากนี้ในกลุม<br />

colorless sulfur bacteria ยังมีแบคทีเรียในสกุล Xanthomonas แยก<br />

ไดโดย Cho et al. (1992) ซึ่งพบวามีศักยภาพดีกวาสกุล<br />

Thibacillus คือ ใหผลผลิตของการ<br />

ออกซิไดซซัลไฟดเปนพวกโพลีซัลไฟดทําใหไมมีการเปลี่ยนแปลงพีเอชในถังปฏิกิริยา<br />

จากผลของการออกซิไดซไฮโดรเจนซัลไฟดดวยออกซิเจน โดยใชแบคทีเรียพวก<br />

Thiobacillus ผลผลิตสุดทายจะไดซัลเฟตที่ละลายน้ําแลวมีฤทธิ์เปนกรดกอใหเกิดปญหาการ<br />

กัดกรอนและจัดเปนมลภาวะอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

การศึกษาในทางเทคโนโลยีชีวภาพแบบใหมจึงใช<br />

หลักการออกซิไดซซัลไฟดใหเปนกํามะถันแทนที่จะออกซิไดซตอจนไดซัลเฟต<br />

ซึ่งทําไดโดยการ<br />

ควบคุมปริมาณออกซิเจน (Buisman et al., 1990 a, b, c) แตจากการวิจัยของ Janssen et al. (1995) ที่<br />

ศึกษาการออกซิไดซซัลไฟดในถังปฏิกิริยาแบบ fed-batch โดยใชแบคทีเรียผสมพวก thiobacilli<br />

พบวา การควบคุมปริมาณออกซิเจนไมสามารถทําใหเกิดเปนธาตุกํามะถันเพียงอยางเดียวได<br />

ทางดาน ไคเนติกสของการออกซิไดซซัลไฟดดวยวิธีเคมีและชีวภาพ (Buisman et al.,<br />

1990d) และไคเนติกสของเชื้อแบคทีเรียผสมในการออกซิไดซซัลไฟดและซัลเฟอรดวยออกซิเจน<br />

(Buisman et al., 1991)<br />

ในสวนของแบคทีเรียที่เปนปฏิปกษตอจุลินทรียที่สรางไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ซึ่งในสภาพ<br />

แวดลอมตามธรรมชาติมีแบคทีเรียหลายประเภทที่สามารถยับยั้งการเจริญของกันและกันได<br />

เชน<br />

มีการสรางสารพิษ สารปฏิชีวนะหรือสารบางอยางที่ทําใหแบคทีเรียอีกประเภทหนึ่งไมเจริญไดหรือ<br />

ถูกทําลายไป แบคทีเรียที่สรางกรดก็เปนพวกหนึ่งที่เปนปฏิปกษตอแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

เนื่องจากกรด<br />

ที่เกิดขึ้นสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียชนิดอื่นได<br />

ตัวอยางแบคทีเรียที่สรางกรดที่สําคัญ<br />

เชน<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดโพรพิโอนิค<br />

(proprionic acid) แบคทีเรียที่ผลิตกรดอะซีติก<br />

(acetic acid) และ<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติก<br />

(lactic acid)<br />

26


แบคทีเรียโพรพิโอนิคหมักน้ําตาลกลูโคส<br />

กรดแลกติก กรดไพรูวิก (pyruvic acid) และ<br />

คารโบไฮเดรตไดกรดโพรพิโอนิค กรดแอซีติกและคารบอนไดออกไซด (Buchanan et al., 1974)<br />

ในกระบวนการหมักที่ใชแบคทีเรียโพรพิโอนิคจึงสามารถปองกันการปนเปอนจากจุลินทรียอื่น<br />

ๆ<br />

ได เนื่องจากกรดที่เกิดขึ้น<br />

เชื้อที่ถูกยับยั้ง<br />

ไดแก แบคทีเรียและรา (Noyes, 1969)<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกเปนผลิตผลหลักจากการหมักน้ําตาลตาง<br />

ๆ และสาร<br />

ประกอบบางชนิดที่หมักได<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกแบงเปน<br />

2 กลุมคือ<br />

พวก homofermentative<br />

เปลี่ยนน้ําตาลกลูโคสไปเปนเอทิล<br />

แอลกอฮอล (ethyl alcohol) กรดแอซีติก กรดโพรพิโอนิกและ<br />

คารบอนไดออกไซด การลดลงของพีเอชในสภาพแวดลอมที่แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกเจริญอยู<br />

เกิดจากกรดแลกติกเปนสวนใหญและทําใหมีฤทธิ์ตอตานแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

ๆ ตัวอยางแบคทีเรีย<br />

กลุมนี้ที่สําคัญ<br />

ไดแก Lactobacillus และ Streptococcus (Salminen and Wright, 1993; Brock, 1994)<br />

การหมักที่เกิดกรดแลกติกสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

เชน การทําอาหารหมักดอง<br />

ตาง ๆ เปนตน<br />

6. แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus<br />

บริเวณพื้นบอหลังจากออกซิเจนถูกใชจนหมดจากกระบวนการหายใจ<br />

ทําใหเกิดสภาพไร<br />

ออกซิเจนในดิน แบคทีเรียในกลุม<br />

facultative anaerobe และ obligate anaerobe (เปนแบคทีเรียพวก<br />

ที่ไมตองการออกซิเจน<br />

โดยพลังงานที่เกิดขึ้นภายในเซลลไดจากขบวนการหมัก<br />

(fermentation)<br />

หรือ การหายใจแบบไมใชออกซิเจน) จะดึงโมเลกุลออกซิเจนจากสารประกอบอื่น<br />

ๆ มาใชแทนโดย<br />

-<br />

เลือกใชสารประกอบที่มีระดับออกซิเดชันสูง<br />

ๆ มาใชกอนเรียงตามลําดับดังนี้<br />

คือ NO3 , MnO2,<br />

2- -<br />

Fe2O3 และ SO4 ตามลําดับ หลังจากใช NO3 , MnO2 และ Fe2O3 จนหมดแลว แบคทีเรียในกลุม<br />

2-<br />

sulfate reducing bacteria จะรีดิวซ SO4 ทําใหเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด หลังจากนั้นแบคทีเรีย<br />

P.<br />

pantotrophus (Ralney et al., 1999) ซึ่งเปนแบคทีเรียแกรมลบที่สามารถดํารงชีวิตไดทั้งสภาวะที่มี<br />

ออกซิเจนและไมมีออกซิเจน (facultatively lithoautotrophic bacterium) พบทั่วไปทั้งในดินและน้ํา<br />

2-<br />

จะออกซิไดซ H2S ใหเปนซัลเฟต (SO4 )ได (Friedrich et al., 2001; Rother et al., 2001) ดังสมการ<br />

ที่<br />

1<br />

H 2S + 2O 2 SO 4 2- + 2H + (1)<br />

27


2- 2- 2-<br />

อีกทั้งยังสามารถออกซิไดซไธโอซัลเฟต<br />

(S2O3 ) และซัลไฟท (SO3 ) ใหเปน SO4 ได<br />

(Friedrich et al., 2001) ดังสมการที่<br />

2 และ 3 ตามลําดับ<br />

- 2- +<br />

S2O3 + 5H2O 2SO4 + 10H (2)<br />

Sulfur-oxidizing enzyme system<br />

2- 2- +<br />

SO3 + H2O SO4 + 2H (3)<br />

Sulfur-oxidizing system, sulfite oxidoreductase<br />

-<br />

นอกจากนี้<br />

P. pantotrophus ยังสามารถใช NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายในการ<br />

ออกซิไดซซัลเฟอร (S) ดังสมการที่<br />

4<br />

- 2-<br />

4 NO3 + 3S 3SO4 + 2N2 (4)<br />

จากคุณสมบัติเหลานี้แบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีการนํามาใชในการปรับปรุงและบําบัด<br />

คุณภาพน้ําในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

(Gallert and Winter, 2005)<br />

28


อุปกรณและวิธีการ<br />

การศึกษาครั้งนี้ไดแบงออกเปน<br />

2 ขั้นตอน<br />

คือ การศึกษาการใชแบคทีเรีย Paracoccus<br />

pantotrophus ในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฎิบัติการและการศึกษาการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในที่เลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

โดยทั้ง<br />

2 ขั้นตอนมีวิธี<br />

การศึกษาดังนี้<br />

1. การศึกษาในหองปฏิบัติการ<br />

1.1 การเตรียมการทดลอง<br />

1.1.1 การเตรียมไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ทําการทดลองในหองปฏิบัติการ ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยนําเลนจากพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบาง<br />

แพ จังหวัดราชบุรี (ภาพที่<br />

5) มาผสมกับอาหารกุงในอัตราสวนเลนพื้นบอปริมาณ<br />

200 กรัมตอ<br />

อาหารกุง<br />

50 กรัม นํามาใสใน flask ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร กอนที่จะเติมน้ําจากบอเลี้ยงกุงความ<br />

เค็มประมาณ 5 พีพีที ลงไปจนไดปริมาตรรวม 1,000 มิลลิลิตร<br />

1.1.2 การเตรียมแบคทีเรีย<br />

แบคทีเรียที่ใชในการทดลอง<br />

คือ P. pantotrophus หรือ PondDtox ซึ่งไดรับความ<br />

อนุเคราะหจากบริษัท Novozymes Biological, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา (ภาพที่<br />

6) ประกอบ<br />

ดวยแบคทีเรีย 1 สายพันธุ<br />

คือ P. pantotrophus จํานวน 3.1x10 9 cfu/gram บรรจุอยูในถุงที่สามารถ<br />

ละลายน้ําได<br />

แตละถุงมีน้ําหนัก<br />

0.45 กิโลกรัม<br />

1.2 การดําเนินการทดลอง<br />

จากการทดลองขั้นตน<br />

เมื่อทําการศึกษาเปรียบเทียบหาระดับความเขมขนที่เหมาะสม<br />

ในการเติมแบคทีเรีย P. pantotrophus พบวาระดับความเขมขนต่ําสุดที่สามารถควบคุมปริมาณ<br />

29


ไฮโดรเจนซัลไฟดไดมีคาไมเกิน 10 มิลลิกรัมตอลิตร จากนั้นจึงนําคาความเขมขนที่ไดจากการทดลอง<br />

ขั้นตนนี้ไปใชในการจัดระดับความเขมขนที่เหมาะสมในการทดลองทั้ง<br />

2 การทดลองตอไปไดดังนี้<br />

การทดลองที่<br />

1 การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO3 ในการ<br />

ควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

นําเลนจากพื้นบอกุงผสมรวมกับอาหารกุงในขอ<br />

1.1 มาหมักทิ้งไวนาน<br />

3 วันเพื่อให<br />

เกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดและบรรจุลง flask จํานวน 12 ใบ จากนั้นจึงแบงกลุมการทดลองออกเปน<br />

4 กลุม<br />

กลุมละ<br />

3 ซ้ํา<br />

ดังนี้<br />

กลุมที่<br />

1 (กลุมควบคุม)<br />

ไมมีการเติมแบคทีเรียและ NaNO3 ลงไปใน flask ทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เติมเฉพาะ NaNO3 ปริมาณ 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

3 เติมแบคทีเรียปริมาณ 5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

4 เติมแบคทีเรียปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

การทดลองที่<br />

2 การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการ<br />

ปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการโดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่<br />

ตลอดระยะเวลาการทดลอง<br />

นํา flask ที่มีเลนจากพื้นบอกุงผสมรวมกับอาหารกุงในขอ<br />

1.1 จํานวน 18 ใบ จากนั้น<br />

จึงแบงกลุมการทดลองออกเปน<br />

6 กลุม<br />

กลุมละ<br />

3 ซ้ํา<br />

ดังนี้<br />

กลุมที่<br />

1 (กลุมควบคุม)<br />

ไมมีการเติมแบคทีเรียและ NaNO3 ลงไปใน flask<br />

กลุมที่<br />

2 เติมเฉพาะ NaNO3 ปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

3 เติมแบคทีเรียปริมาณ 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

4 เติมแบคทีเรียปริมาณ 1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

5 เติมแบคทีเรียปริมาณ 5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

6 เติมแบคทีเรียปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

30


จากนั้นนํา<br />

flask ทั้งสองการทดลองเก็บไวในที่มืดที่อุณหภูมิ<br />

28-30 องศาเซลเซียส ซึ่ง<br />

-<br />

ตรวจวัดปริมาณ H2S โดยใชชุดทดสอบ H2S ในน้ําจากบริษัท<br />

Hach (U.S.A.) สวนปริมาณ NO3 ใน<br />

-<br />

น้ําตรวจวัดโดยใชชุดทดสอบ<br />

NO3 จากภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

โดยทําการทดลองเปนระยะเวลา 7 วัน<br />

1.3 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

การศึกษาทั<br />

้ง 2 การทดลองทําการวิเคราะหความแตกตางทางสถิติโดยใชโปรแกรม<br />

สําเร็จรูปดวยวิธีการของ Tukey’s test<br />

31


ภาพที่<br />

5 เลนพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบางแพ<br />

จังหวัดราชบุรี<br />

ภาพที่<br />

6 แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ที่ใชในการทดลอง<br />

32


2. การศึกษาในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ทําการศึกษาในฟารมเลี้ยงกุงเอกชน<br />

ที่ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปน<br />

ฟารมเลี้ยงกุงดวยน้ําความเค็มต่ําเลี้ยงแบบระบบปดน้ําหมุนเวียน<br />

คือ ขณะจับกุงจะมีการระบายน้ํา<br />

ออกจากบอเลี้ยงเขาสูบอพักน้ํา<br />

หลังจากทําการบําบัดน้ําใหมีคุณภาพที่เหมาะสมแลวก็จะนําน้ํากลับ<br />

มาใชเลี้ยงกุงในรุนตอไป<br />

พื้นที่ฟารมทั้งหมด<br />

52 ไร ประกอบดวยพื้นที่บอพักน้ําประมาณ<br />

10 ไร พื้นที่<br />

บอเลี้ยงกุงประมาณ<br />

18 ไร ทั้งหมด<br />

7 บอ โดย แตละบอมีพื้นที่บอละ<br />

2.5 ไร มีความลึกประมาณ<br />

1.60 เมตร ขึงเชือกเพื่อปองกันนกและมีการลอมตาขายรอบบอเพื่อปองกันปู<br />

ซึ่งอาจจะเปนพาหะ<br />

ของโรคไวรัสหลายชนิดเขาไปในบอ การศึกษาครั้งนี้ใชบอทดลองทั้งหมด<br />

6 บอ (ภาพที่<br />

8) โดย<br />

แบงเปน 2 กลุม<br />

คือ<br />

กลุมทดลองประกอบดวยบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จํานวน 3 บอ คือ บอที่<br />

1-3 ใชเปนบอ<br />

ทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

กลุมควบคุมประกอบดวยบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จํานวน 3 บอ คือ บอที่<br />

4-6 ใชเปนบอ<br />

ควบคุมที่ไมมีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

33


บอทดลองที่<br />

1<br />

บอทดลองที่<br />

2<br />

บอทดลองที่<br />

3<br />

โรงเก็บอาหาร<br />

บานพัก<br />

ภาพที่<br />

7 แผนผังฟารมที่ทําการทดลอง<br />

คลองสงน้ํา<br />

(คลองราชพฤกษ)<br />

บอพักน้ํา<br />

บอพักน้ํา<br />

ทางเขาฟารม<br />

บอทดลองที่<br />

4<br />

บอทดลองที่<br />

5<br />

บอทดลองที่<br />

6<br />

บอเลี้ยง<br />

N<br />

34


ภาพที่<br />

8 บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

บอที่<br />

1<br />

บอที่<br />

2<br />

35


ภาพที่<br />

8 (ตอ)<br />

บอที่<br />

3<br />

บอที่<br />

4<br />

36


ภาพที่<br />

8 (ตอ)<br />

บอที่<br />

5<br />

บอที่<br />

6<br />

37


2. 1 การเตรียมบอ<br />

สําหรับบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus หลังจากการเลี้ยงรอบที่ผานมาตากบอนาน<br />

2 สัปดาหและนําดินเลนพื้นบอออกกอนหวานปูนมารลในปริมาณ<br />

500-1,000 กิโลกรัมตอไร และ<br />

ใช PondDtox ซึ่งประกอบดวยแบคทีเรีย<br />

1 สายพันธุ<br />

คือ P. pantotrophus จํานวน 3.1x10 9 cfu/gram<br />

บรรจุอยูในถุงที่สามารถละลายน้ําได<br />

แตละถุงมีน้ําหนัก<br />

0.45 กิโลกรัม ใสบอละ 1 ถุง โดยแชลงใน<br />

ถังที่มีน้ําบรรจุอยูผสมใหเขากัน<br />

แลวนําไปสาดใหทั่วบนดินพื้นบอที่เปยกชื้นใชเวลาในการปรับ<br />

สภาพบอนานประมาณ 7 วัน จึงนําน้ําเขาบอ<br />

สวนบอควบคุมตากบอนาน 2 สัปดาห และนําดินเลน<br />

พื้นบอออกกอนหวานปูนมารลในปริมาณ<br />

500-1,000 กิโลกรัมตอไร<br />

2.2 การเตรียมน้ํา<br />

หลังจากเตรียมบอเรียบรอย สูบน้ําจากคลองราชพฤกษซึ่งมีความเค็มอยูระหวาง<br />

5-8<br />

พีพีที เขาสูบอพักน้ํา<br />

หลังจากนั้นใสไตรคลอรฟอนในอัตราความเขมขน<br />

1.0 มิลลิกรัมตอลิตร เพื่อ<br />

กําจัดสัตวจําพวกกุงและปู<br />

ซึ่งอาจจะเปนพาหะนําเชื้อไวรัสดวงขาวหรือไวรัสชนิดอื่น<br />

ๆ และเปด<br />

เครื่องใหอากาศเต็มที่เปนเวลา<br />

1 วัน เพื่อใหสารเคมีผสมทั่วบอ<br />

พักน้ําไวเปนเวลา<br />

1 เดือน หลังจาก<br />

นั้นสูบน้ําจากบอพักน้ําเขาสูบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ โดยผานถุงกรองไนลอน เพื่อปองกันสัตวน้ําตาง<br />

ๆ<br />

เขาไปในบอใหไดระดับน้ําสูงประมาณ<br />

1.30 เมตร เปดเครื่องใหอากาศเพื่อใหน้ําหมุนเวียน<br />

ใสปูน<br />

ขาวและโดโลไมท (CaMg(CO3) 2) ทิ้งไวประมาณ<br />

2-3 วัน เพื่อใหคุณภาพน้ําตาง<br />

ๆ มีความเหมาะสม<br />

และเกิดอาหารธรรมชาติ เชน แพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว ในบอทดลองกอนปลอยลูกกุง<br />

1 วัน จะใชแบคทีเรีย P. pantotrophus บอละ 1 ถุง แชลงในถังที่มีน้ําบรรจุอยูผสมใหเขากัน<br />

แลว<br />

นําไปสาดใหทั่วบอ<br />

(ภาพที่<br />

11) หลังจากนั้นจึงปลอยลูกกุง<br />

สวนบอควบคุมปลอยลูกกุงตามปกติ<br />

แต<br />

ไมมีการใสแบคทีเรีย P. pantotrophus<br />

2.3 การปลอยลูกกุง<br />

นําลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่ผานการตรวจดวยเทคนิคพีซีอาร<br />

(PCR:<br />

polymerase chain reaction) หรือปฏิกิริยาลูกโซโพลีเมอเรสวาปลอดเชื้อไวรัสดวงขาว<br />

(White Spot<br />

Syndrome Virus; WSSV) ไวรัสหัวเหลือง (Yellow Head Virus; YHV) ไวรัสทอรา (Taura<br />

Syndrome Virus; TSV) และไวรัสตัวพิการ (Infectious Hypodermal and Hematopoietic Necrosis<br />

38


Virus; IHHNV) (ภาพที่<br />

9) และผานการปรับระดับความเค็มจากโรงเพาะฟกลงมาที่<br />

5 พีพีที เมื่อลูก<br />

กุงลําเลียงมาถึงฟารมในเวลาประมาณ<br />

17.00 น. แลวจึงนําลูกกุงที่บรรจุอยูในถุงพลาสติกใสลงใน<br />

ถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงปริมาตรประมาณ<br />

400 ลิตร พรอมทั้งเปดเครื่องให<br />

อากาศตลอดเวลา เพื่อปรับอุณหภูมิของน้ําในบอและในถุงที่บรรจุลูกกุงใหมีอุณหภูมิใกลเคียงกัน<br />

ประมาณ 30 นาที หลังจากนั้นปลอยลูกกุงผานทางสายยางที่ตออยูกับถังไฟเบอรกลาสลงสูบอเลี้ยง<br />

ในอัตราความหนาแนน 60,000 ตัวตอไร (38 ตัวตอตารางเมตร) ทั้ง<br />

6 บอ (ภาพที่<br />

10)<br />

2.4 การเลี้ยงและการใหอาหาร<br />

ใชอาหารเม็ดสําเร็จรูปสําหรับกุงขาวแวนนาไมที่มีปริมาณโปรตีน<br />

34 เปอรเซ็นต<br />

ไขมัน 5 เปอรเซ็นต ความชื้น<br />

12 เปอรเซ็นต และใยอาหาร (fiber) 4 เปอรเซ็นต ใหอาหารวันละ<br />

4 ครั้ง<br />

คือ 7.00, 11.00, 16.00 และ 22.00 น. โดยเดินหวานรอบบอจากขอบบอเขาไปภายในบอ โดย<br />

เริ่มใหอาหารวันแรกในปริมาณ<br />

1 กิโลกรัมตอกุง<br />

100,000 ตัว หลังจากนั้นเพิ่มอาหาร<br />

200 กรัมตอ<br />

กุง<br />

100,000 ตัวตอวัน เมื่อกุงอายุ<br />

20 วัน จึงเริ่มทําการปรับอาหารตามยอ<br />

โดยเริ่มจากใสอาหารในยอ<br />

5 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 3 ชั่วโมง<br />

เมื่อกุงอายุ<br />

60 วัน ใสอาหารในยอ 5<br />

กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 2.5 ชั่วโมง<br />

และเมื่อกุงอายุ<br />

90 วัน ใสอาหารใน<br />

ยอ 5 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 2 ชั่วโมง<br />

ในระหวางการเลี้ยงไมมีการถาย<br />

น้ํา<br />

แตจะมีการเติมน้ําจากบอพักน้ําเขามาทดแทนสวนที่ระเหยหรือซึมออกไปและเมื่อความเค็มของ<br />

น้ําในบอเลี้ยงลดลงเรื่อย<br />

ๆ ในกรณีที่มีฝนตกติดตอกันหลายวันจะนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติมเพื่อ<br />

เพิ่มความเค็มของน้ําในบอเลี้ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโต<br />

2.5 การใชเครื่องใหอากาศ<br />

ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมทั้ง<br />

6 บอ ใชเครื่องใหอากาศแบบเครื่องยนตขนาด<br />

10 แรงมา<br />

โดยใชเครื่องยนต<br />

2 เครื่องตอบอ<br />

แตละเครื่องจะมีแขนตีน้ํา<br />

4 แขน แตละแขนมีใบพัดตีน้ําจํานวน<br />

12-14 วง และเครื่องใหอากาศแบบมอเตอรไฟฟาขนาด<br />

3 แรงมาอีก 1 เครื่อง<br />

ซึ่งแตละเครื่องมี<br />

2<br />

แขน แตละแขนมีใบพัดตีน้ําจํานวน<br />

12 วง การเปดเครื่องใหอากาศในเวลากลางวันเริ่มเปดหลังจาก<br />

หวานอาหารไปแลว 2.5 ชั่วโมง<br />

และปดกอนใหอาหาร 0.5 ชั่วโมง<br />

สําหรับเวลากลางคืนเริ่มเปดเวลา<br />

20.00 น. เปนตนไปจนถึงตอนเชาเวลาประมาณ 7.00 น. ในกรณีที่บางชวงที่สภาพอากาศมืดครึ้มหรือ<br />

39


มีฝนตกปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีคาต่ํา<br />

ปริมาณแอมโมเนียหรือไนไตรทสูงหรือมีแพลงกตอน<br />

พืชตายเปนจํานวนมากก็จะเปดเครื่องใหอากาศตลอดเวลา<br />

2.6 การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและผลผลิตของกุงขาวแวนนาไม<br />

ในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

เมื่อกุงอายุ<br />

35 วัน จะเริ่มสุมกุงโดยใชแหเพื่อนํามาชั่งน้ําหนักและหลังจากนั้นทุก<br />

ๆ 2<br />

สัปดาหจนกระทั่งสิ้นสุดการเลี้ยง<br />

(ภาพที่<br />

12) โดยจะสุมกุงอยางนอยบอละ<br />

2 จุด คือ บริเวณมุมบอ<br />

และบริเวณหนาเครื่องใหอากาศ<br />

หลังจากนั้นนําคาที่ไดมาคํานวณหาน้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญ<br />

เติบโตของกุง<br />

การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต<br />

อัตราการเจริญเติบโตแตละชวง = น้ําหนักกุงเฉลี่ยปจจุบัน<br />

- น้ําหนักกุงเฉลี่ยครั้งกอน<br />

(กรัมตอตัวตอวัน) ระยะเวลาที่เพิ่มจากการชั่งครั้งกอน<br />

(วัน)<br />

อัตราการเจริญเติบโตสะสม = น้ําหนักกุงเฉลี่ยปจจุบัน<br />

- น้ําหนักลูกกุงตอนปลอย<br />

(กรัมตอตัวตอวัน) อายุการเลี้ยง<br />

(วัน)<br />

การศึกษาปริมาณผลผลิต<br />

ปริมาณผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) = น้ําหนักกุงที่จับไดทั้งหมด<br />

พื้นที่บอ<br />

(ไร)<br />

การศึกษาอัตราการรอดตาย<br />

อัตราการรอดตาย (เปอรเซ็นต) = จํานวนกุงที่เหลือ<br />

x 100<br />

จํานวนกุงที่ปลอยทั้งหมด<br />

40


2.7 การศึกษาคุณสมบัติของน้ํา<br />

เก็บตัวอยางน้ําในบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ เพื่อวิเคราะหคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

อุณหภูมิและความเปนกรดเปนดาง (พีเอช) โดยทําการวิเคราะหทุกวัน ๆ ละ 2 ครั้ง<br />

ในเวลา 7.00 น.<br />

และ 16.00 น. สวนคุณสมบัติของน้ําอื่น<br />

ๆ ไดแก ความเค็ม ความเปนดางทั้งหมด<br />

ความกระดางรวม<br />

ความนําไฟฟา ความโปรงแสง ปริมาณแอมโมเนีย ไนไตรท ไนเตรทและปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

จะทําการวิเคราะหทุก ๆ 7 วัน จนกระทั่งจับกุง<br />

การวิเคราะหคุณสมบัติของน้ําที่ทําการศึกษา<br />

มีดังนี้<br />

- ความโปรงแสง วิเคราะหโดยใช Secchi disk<br />

- อุณหภูมิน้ํา<br />

วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI DO 200-4M<br />

- พีเอช วิเคราะหโดยใชเครื่องวัดพีเอช<br />

Ecoscan pH 5/6<br />

- ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI DO 200-4M<br />

- ความเค็ม วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI 30/10 FT<br />

- ความนําไฟฟา วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI 30/10 FT<br />

- ความเปนดางรวม วิเคราะหโดยใชวิธี Titration (APHA et al., 1995)<br />

- ความกระดาง วิเคราะหโดยใชวิธี EDTA Titrimetric Method (APHA et al., 1995)<br />

- แอมโมเนียรวม วิเคราะหโดยใชวิธี Phenol-hypochlorite method (APHA et al.,<br />

1995)<br />

- ไนไตรท วิเคราะหโดยใชวิธีของ APHA et al.(1995)<br />

- ไนเตรท วิเคราะหโดยใชชุดทดสอบไนเตรทในน้ํา<br />

ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร<br />

- ไฮโดรเจนซัลไฟด วิเคราะหโดยใชชุดทดสอบปริมาณ H2S ในน้ําจากบริษัท<br />

Hach<br />

(U.S.A.)<br />

ควบคุม<br />

2.8 การศึกษาคาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอ<br />

ในระหวางการเลี้ยงทําการวิเคราะหคาศักยไฟฟารีดอกซทั้ง<br />

6 บอจะวิเคราะหทุก ๆ<br />

2 สัปดาหดวยเครื่อง<br />

Ecoscan EUTECH Instruments ในบริเวณแนวหวานอาหารจํานวน 4 จุด และ<br />

บริเวณกลางบอจํานวน 4 จุด จนกระทั่งสิ้นสุดการเลี้ยง<br />

41


3. การศึกษาเปรียบเทียบผลตอบแทนการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

3.1 การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

ตามวิธีของ ศศิวิมล (2544) และ จักรกฤษ (2547) มีรายละเอียด ดังนี้<br />

ตนทุน = คาพันธุกุง<br />

+ คาอาหารกุง<br />

+ คาไฟฟาและน้ํามันเชื้อเพลิง<br />

+ คาน้ําเค็ม<br />

+<br />

คาวัสดุ + ปูนและเคมีภัณฑ + คาแรงงาน + คาอุปกรณและซอมบํารุง +<br />

คาใชจายเบ็ดเตล็ด + คาเชาที่ดิน<br />

+ คาปรับปรุงบอ + คาดอกเบี้ย<br />

ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

= ปริมาณผลผลิตกุง<br />

x ราคากุงที่ขายได<br />

ผลตอบแทนสุทธิ = ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

– ตนทุนผันแปร<br />

กําไรสุทธิ = ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

– ตนทุนทั้งหมด<br />

3.2 องคประกอบของผลตอบแทนของการลงทุนประกอบดวยผลตอบแทนทางตรงจาก<br />

รายไดจากการขายกุงที่ไดจากการเลี้ยงซึ่งคํานวณจาก<br />

รายไดจากการขายกุง<br />

= ปริมาณผลผลิตกุง<br />

x ราคากุงที่ขายได<br />

ซึ่งผลตอบแทนหรือรายไดมาจากการขายกุ<br />

งเพียงอยางเดียว<br />

4. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

นําขอมูลอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ผลผลิต คุณสมบัติของน้ําและคาศักย<br />

ไฟฟารีดอกซของบอที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุมมาเปรียบเทียบกันทาง<br />

สถิติโดยใชวิธี t-test (Steel and Torrie, 1980)<br />

42


5. สถานที่ทําการวิจัย<br />

5.1 ฟารมเลี้ยงกุงเอกชน<br />

ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

5.2 อาคารจินดาเทียมเมธ ภาควิชาชีววิทยาประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต<br />

บางเขน กรุงเทพมหานคร<br />

6. ระยะเวลาการวิจัย<br />

ระหวางเดือนกรกฎาคม 2549 – กุมภาพันธ 2550<br />

43


ภาพที่<br />

9 ลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่นํามาปลอยลงเลี้ยงในบอที่ทําศึกษาทั้ง<br />

6 บอ<br />

ภาพที่<br />

10 ลูกกุงในถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงและเปดเครื่องใหอากาศ<br />

ตลอดเวลา กอนปลอยลูกกุงผานทางสายยางที่ตออยูกับถังไฟเบอรกลาสลงสูบอเลี้ยง<br />

44


ภาพที่<br />

11 หลังจากปลอยลูกกุงจะใชแบคทีเรียจํานวน<br />

0.45 กิโลกรัมตอบอทุกสัปดาห<br />

จนกระทั่งจับกุง<br />

ภาพที่<br />

12 การสุมกุงชั่งน้ําหนักดวยเครื่องชั่งน้ําหนักแบบดิจิตอล<br />

45


ผลและวิจารณ<br />

1. การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO 3 ในการควบคุมปริมาณ H 2S ใน<br />

หองปฏิบัติการ<br />

จากผลการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO3ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ แสดงไวดังตารางที่<br />

1 พบวา<br />

กลุมที่<br />

1 ซึ่งเปนกลุมควบคุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จะมีคา H2S เพิ่มขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่อง<br />

เนื่องจากในกลุมควบคุมไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จึงทําใหไมสามารถควบคุมคา<br />

H2S ได คา H2S จึงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เปนกลุมที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร คา H2S จะคอย ๆ ลดลง<br />

-<br />

จนถึงวันที่<br />

5 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 คอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

5 เปนตนไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

3 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200<br />

มิลลิกรัมตอลิตร คา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยาง<br />

-<br />

ตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะคอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

4<br />

เปนตนไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

4 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้น<br />

-<br />

อยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะคอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

3 เปนตนไปสิ้นสุดการทดลอง<br />

จากผลการทดลองแสดงใหเห็นวาการเติมแบคทีเรีย P. pantotrophus รวมกับ NaNO3 สามารถลดปริมาณ H2S ไดผลดีที่สุด<br />

รองลงมา คือ การเติม NaNO3 เพียงอยางเดียวและการไมเติม<br />

ทั้งแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 ตามลําดับ โดยกลุมที่<br />

3 ที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถลดปริมาณ H2S ไดผลดีที่สุดและการลดลง<br />

46


-<br />

ของปริมาณ NO3 ในกลุมทดลองที่<br />

2, 3 และ 4 จะแตกตางกัน เนื่องจากการเติมแบคทีเรียของแตละ<br />

-<br />

กลุมมีปริมาณแตกตางกัน<br />

โดยกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียที่มีความเขมขนสูงจะมีปริมาณ<br />

NO3 ลดลง<br />

มากกวากลุมที่มีการเติมแบคทีเรียที่มีความเขมขนต่ําและกลุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรีย<br />

เนื่องจาก<br />

-<br />

ในสภาวะที่ไมมีออกซิเจนแบคทีเรียจะใช<br />

NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายแทนออกซิเจน<br />

(ดวงพร, 2545) การรีดิวซไนเตรทจะทําใหการเจริญเติบโตของพวกแบคทีเรียที่สรางซัลไฟดเจริญ<br />

ไดชาลงทําใหมีการผลิตซัลไฟดลดลงอีกดวย โดยแบคทีเรีย P. pantotrophus มีความตองการ<br />

ไนเตรทในปริมาณที่นอยมาก<br />

ทําใหกระบวนการดีไนตริฟเคชันไมตองใชไนเตรทในปริมาณสูงจน<br />

เกิดการขาดแหลงออกซิเจน จึงเปนการชวยปองกันการเกิดการออกซิไดซซัลเฟตไปเปนซัลไฟดอีก<br />

ทางหนึ่งดวย<br />

ซึ่งจากการศึกษาของ<br />

พุทธ และ วลีรัตน (2547) พบวาการเติม NaNO3 ลงไปเพื่อรักษา<br />

-<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซใหอยูในชวงที่มี<br />

NO3 และการเกิดขึ้นของ<br />

H2S จะลดนอยลง ดังนั้น<br />

คา H2S จึง<br />

-<br />

มีคาลดลงซึ่งสัมพันธกับคา<br />

NO3 ที่ลดลง<br />

เนื่องจากเลนพื้นบอที่เลี้ยงกุงอาจมีแบคทีเรียบางชนิดอยู<br />

-<br />

เมื่อมีการเติม<br />

NaNO3 ลงไปทําให NO3 ถูกนําไปใชในกระบวนการของแบคทีเรียซึ่งเปนการชวย<br />

เพิ่มการทํางานของแบคทีเรียที่มีอยูในปริมาณนอยใหสามารถทํางานไดดีขึ้น<br />

จึงชวยลดคา H2S ได<br />

ในระดับหนึ่ง<br />

ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ<br />

Santschi et al. (1990) ที่กลาวไววา<br />

ในสภาวะที่<br />

- -<br />

ตะกอนดินขาดออกซิเจน NO3 จะถูกเปลี่ยนเปนไนไตรท<br />

(NO2 ) ไนตรัสออกไซด (N2O) และกาซ<br />

ไนโตรเจน (N2) โดยกระบวนการดีไนตริฟเคชันซึ่งออกซิเจนจะถูกดึงออกจากสารประกอบ<br />

-<br />

ไนโตรเจนเพื่อนําไปใชในการสรางพลังงานของแบคทีเรียทําใหปริมาณ<br />

NO3 ลดลง<br />

47


ตารางที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ<br />

NaNO3 ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

่ ่ ่ ่ วัน พารามิเตอร<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร)<br />

กลุมที<br />

1 กลุมที<br />

2 กลุมที<br />

3 กลุมที<br />

4<br />

0 H2S 3.98 ± 0.00<br />

- NO3 a<br />

0.00a 3.98 ± 0.00 a 3.98 ± 0.00<br />

0.00<br />

a 3.98 ± 0.00<br />

0.00<br />

a<br />

0.00a 1 H2S 4.77 ± 0.27<br />

- NO3 c<br />

0.00 a<br />

3.89 ± 0.16 bc<br />

10.00± 0.00 b<br />

3.53 ± 0.31 ab<br />

10.00± 0.00 b<br />

2.65 ± 0.53 a<br />

10.00± 0.00 b<br />

2 H2S 5.04 ± 0.27<br />

- NO3 d<br />

0.00 a<br />

3.71 ± 0.27 c<br />

5.00 ± 0.00b 3.09 ± 0.41 b<br />

5.00 ± 0.00b 1.59 ± 0.00 a<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

3 H2S 5.30 ± 0.27<br />

- NO3 d<br />

0.00 a<br />

3.36 ± 0.40 c<br />

5.00 ± 0.00 b<br />

2.21 ± 0.16 b<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.00 a<br />

0.00 a<br />

4 H2S 5.83 ± 0.00<br />

- NO3 c<br />

0.00 a<br />

2.47 ± 0.31 b<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

1.06 ± 0.92 a<br />

0.00 a<br />

1.80 ± 0.28 ab<br />

0.00 a<br />

5 H2S 6.01 ± 0.16 b 2.30 ± 0.31 a 1.59 ± 0.00 a 2.21 ± 0.67 a<br />

NO 3 -<br />

6 H 2S<br />

NO 3 -<br />

7 H 2S<br />

NO 3 -<br />

0.00 a<br />

6.54 ± 0.16 b<br />

0.00 a<br />

6.89 ± 0.27 c<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

2.69 ± 1.21 a<br />

0.00 a<br />

3.36 ± 0.40 b<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.94 ± 0.31 a<br />

0.00 a<br />

2.12 ± 0.53 a<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

3.18 ± 0.27 a<br />

0.00 a<br />

3.71 ± 0.27 b<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย<br />

± สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกัน<br />

มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


2. การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ใน<br />

หองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการ<br />

ทดลอง<br />

ผลการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง แสดงไวดังตารางที่<br />

2 พบวา<br />

กลุมที่<br />

1 ซึ่งเปนกลุมควบคุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จะมีคา H2S เพิ่มขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่องตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เปนกลุมที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S คอย ๆ<br />

ลดลงจนถึงวันที่<br />

4 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา<br />

-<br />

NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

อาจเนื่องจากแมมีการเติม<br />

NaNO3 ลงไปแตไมมี<br />

การเติมแบคทีเรีย ซึ่งแบคทีเรียที่มีอยูในเลนพื้นบอกุงอาจสามารถลดคา<br />

H2S ไดระดับหนึ่ง<br />

แต<br />

แบคทีเรียยังมีปริมาณไมเพียงพอที่จะทําใหคา<br />

H2S หมดไปได<br />

กลุมที่<br />

3 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

0.1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

กลุมที่<br />

4 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

กลุมที่<br />

5 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

49


กลุมที่<br />

6 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

จากการศึกษาในกลุมที่<br />

3, 4, 5 และ 6 พบวาจากการเติมทั้งแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 ทําใหคา<br />

H2S ลดลงอยางตอเนื่อง<br />

แตความเขมขนที่เหมาะสมที่สุด<br />

คือ กลุมที่<br />

5 และ 6 เนื่องจากสามารถลด<br />

คา H2S จนมีคาเปนศูนยไดภายใน 3 วันเทานั้น<br />

สวนในกลุมที่<br />

3 และ4 สามารถลดคา H2S ไดหมด<br />

-<br />

ภายใน 4 วัน ที่เปนเชนนี้เนื่องจากแบคทีเรียที่เติมลงไปสามารถใช<br />

NO3 จากการเติม NaNO3 ได<br />

อยางเพียงพอตลอดการทดลอง ทําใหกระบวนการทํางานของแบคทีเรียเกิดขึ้นไดอยางตอเนื่องและ<br />

สมบูรณ สวนกลุมที่<br />

2 ที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตรอยางเดียว สามารถลดปริมาณ<br />

H2S ไดในระดับหนึ่ง<br />

คือ สามารถลดไดถึงวันที่<br />

4 แตไมสามารถกําจัดไดหมดและตั้งแตวันที่<br />

5 เปน<br />

ตนไปปริมาณ H2S จะคอย ๆ เพิ่มขึ้นจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

ดังนั้นจากการทดลองขั้นตนในหองปฏิบัติการ<br />

พบวาความเขมขนของแบคทีเรีย P.<br />

pantotrophus ที่ต่ําที่สุดและมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะสามารถลดปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไดหมด คือ 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร จึงมีการนําแบคทีเรีย P. pantotrophus ที่ความเขมขนนี้มาใช<br />

ทดลองในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

50


ตารางที่<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความ<br />

เขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง<br />

วัน พารามิเตอร<br />

(มก./ล)<br />

0 H2S NO 3 -<br />

1 H 2S<br />

NO 3 -<br />

2 H 2S<br />

NO 3 -<br />

3 H 2S<br />

NO 3 -<br />

4 H 2S<br />

NO 3 -<br />

5 H 2S<br />

NO 3 -<br />

6 H 2S<br />

NO 3 -<br />

7 H 2S<br />

NO 3 -<br />

กลุมที่<br />

1 กลุมที่<br />

2<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

0.00 a<br />

1.42 ± 0.15 b<br />

0.00 a<br />

1.50 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

1.59 ± 0.27 c<br />

0.00 a<br />

2.03 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

2.48 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

2.74 ± 0.40 c<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.42 ± 0.41 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.24 ± 0.16 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.15 ± 0.16 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.42 ± 0.41 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.68 ± 0.55 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

3<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.59 ± 0.00 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.42 ± 0.15 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

4<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.50 ± 0.15 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.24 ± 0.31 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

5<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.80 ± 0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.35 ± 0.31 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

51<br />

กลุมที่<br />

6<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.53 ± 0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.18 ± 0.31 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย<br />

± สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกันมีความแตกตาง<br />

กันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


3. การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus ตออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและ<br />

ผลผลิตของกุงขาวแวนนาไมในบอเลี้ยง<br />

ปลอยลูกกุงขาวแวนนาไมในบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ ในวันที่<br />

19 สิงหาคม 2549 และจับกุงใน<br />

วันที่<br />

7 ธันวาคม 2549 โดยผลการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P.<br />

pantotrophus และบอควบคุม แสดงไวในตารางที่<br />

3 และภาพที่<br />

9 ตลอดระยะเวลาการเลี้ยงไมพบกุง<br />

ปวยเปนโรคหรือแสดงอาการผิดปกติ เนื่องจากกุงขาวแวนนาไมที่มาใชศึกษาในครั้งนี้ไดผานการ<br />

ตรวจดวยเทคนิคพีซีอารวาปลอดเชื้อไวรัสดวงขาว<br />

ไวรัสหัวเหลือง ไวรัสทอราและ IHHNV ผล<br />

การศึกษาพบวา บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ใหผลผลิตเฉลี่ย<br />

840±40.0 กิโลกรัมตอ<br />

ไร กุงมีน้ําหนักเฉลี่ย<br />

16.77±0.43 กรัม อัตราการเจริญเติบโต 0.15±0.01 กรัมตอวัน อัตราการรอด<br />

ตาย 83.6±6.08 เปอรเซ็นตและอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.16±0.06 ในขณะที่บอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ใหผลผลิตเฉลี่ย<br />

633.33±41.63 กิโลกรัมตอไร กุงมีน้ําหนักเฉลี่ย<br />

15.31±0.35 กรัม<br />

อัตราการเจริญเติบโต 0.14±0.01 กรัมตอวัน อัตราการรอดตาย 69.03±6.18 เปอรเซ็นต และอัตรา<br />

การแลกเนื้อ<br />

1.52±0.17 เมื่อนําคาเฉลี่ยทั้งหมดนี้มาทดสอบทางสถิติพบวามีความแตกตางกันอยาง<br />

มีนัยสําคัญ (P


ตารางที่<br />

3 น้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) น้ําหนักเฉลี่ย<br />

อัตราการเจริญเติบโต น้ําหนักเฉลี่ย<br />

อัตราการเจริญเติบโต<br />

(กรัม) (กรัมตอตัวตอวัน) (กรัม) (กรัมตอตัวตอวัน)<br />

5 3.06 0.09 2.91 0.08<br />

7 5.15 0.15 4.71 0.13<br />

9 7.26 0.15 6.17 0.1<br />

11 10.51 0.23 9.18 0.21<br />

13 13.89 0.24 12.34 0.23<br />

15 16.77 0.21 15.31 0.21<br />

กรัม<br />

20.00<br />

15.00<br />

10.00<br />

5.00<br />

0.00<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

5 7 9 11 13 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

13 การเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

53


ตารางที่<br />

4 การเปรียบเทียบขอมูลผลผลิตกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

บอ ขนาดบอ ระยะเวลา น้ําหนัก<br />

อัตราการ อัตราการ ผลผลิต อัตราการ<br />

(ไร) ที่เลี้ยง<br />

เฉลี่ย<br />

รอดตาย แลกเนื้อ<br />

(กิโลกรัม/ไร) เจริญเติบโต<br />

(วัน) (กรัม) (เปอรเซ็นต)<br />

(กรัม/วัน)<br />

บอทดลอง ( เติมจุลินทรีย P. pantotrophus )<br />

1 2.5 111 17.24 77.33 1.22 800 0.16<br />

2 2.5 111 16.39 89.47 1.11 880 0.15<br />

3 2.5 111 16.67 84.00 1.16 840 0.15<br />

เฉลี่ย<br />

2.5 111 16.77±0.43a 83.6±6.08a 1.16±0.06a 840±40.00a 0.15±0.01a บอควบคุม ( ไมเติมจุลินทรีย P. pantotrophus )<br />

4 2.5 111 15.38 67.17 1.62 620 0.14<br />

5 2.5 111 15.63 64.00 1.62 600 0.14<br />

6 2.5 111 14.93 75.93 1.32 680 0.13<br />

เฉลี่ย<br />

2.5 111 15.31±0.35b 69.03±6.18 b 1.52±0.17b 633.33±41.63b 0.14±0.01b หมายเหตุ 1 ไร เทากับ 1,600 ตารางเมตร<br />

คาเฉลี่ย±คาเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวตั้งที่กํากับ<br />

54


4. การศึกษาเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนขั้นตนจากการเลี้ยงและจําหนายกุงขาวแวนนาไม<br />

ระหวางบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

จากการศึกษาเปรียบเทียบตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนจากการเลี้ยงกุงขาว<br />

แวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (ตารางที่<br />

5) พบวาบอ<br />

ทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีตนทุนการผลิตเฉลี่ยเทากับ<br />

52,446 บาทตอไร รายไดเฉลี่ย<br />

เทากับ 117,600 บาทตอไร สวนบอควบคุมมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยเทากับ<br />

47,892 บาทตอไร<br />

รายไดเฉลี่ยเทากับ<br />

85,500 บาทตอไร ซึ่งการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองจะใหผลตอบแทน<br />

ที่ดีกวาบอควบคุมซึ่งจะเห็นไดจากบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus จะมีกําไรสุทธิขั้นตน<br />

เฉลี่ย<br />

65,154 บาทตอไร โดยมีคามากกวาในบอควบคุม ซึ่งมีกําไรสุทธิขั้นตนเฉลี่ยเพียง<br />

37,608 บาท<br />

ตอไรอยางมีนัยสําคัญ (P


ตารางที่<br />

5 ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนของการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลอง<br />

ที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (เฉลี่ยตอบอ)<br />

หนวย : บาท<br />

บอทดลอง บอควบคุม<br />

ตนทุน<br />

<br />

- คาแบคทีเรีย P. pantotrophus 12,750 -<br />

- คาลูกพันธุ<br />

10,500 10,500<br />

- คาอาหาร 65,131 66,030<br />

- คาสารเคมีและปจจัยการผลิต 14,400 14,400<br />

- คาน้ํามัน<br />

10,167 10,333<br />

- คาซอมแซมและคาใชจายอื่น<br />

ๆ 9,900 10,200<br />

- คาแรงงาน 8,267 8,267<br />

- รวมตนทุนทั้งหมด<br />

131,114 119,730<br />

- รวมตนทุน (บาทตอไร) 52,446 47,892<br />

- รวมตนทุน (บาทตอกิโลกรัม)<br />

- กุงขนาด<br />

60 ตัวตอกิโลกรัม ๆ ละ 140 บาท<br />

62 76<br />

- กุงขนาด<br />

65 ตัวตอกิโลกรัม ๆ ละ 135 บาท<br />

- ผลผลิตทั้งหมด<br />

(กิโลกรัม) 2,100 1,583<br />

- ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม)<br />

รายได<br />

840 633<br />

- รายไดทั้งหมด<br />

294,000 213,750<br />

- รายได (บาทตอไร) 117,600 85,500<br />

- รายได (บาทตอกิโลกรัม)<br />

ผลตอบแทน<br />

140 135<br />

กําไรขั้นตนทั้งหมด<br />

162,886 94,020<br />

กําไรสุทธิขั้นตน(บาทตอไร)<br />

65,154 37,608<br />

กําไรสุทธิขั้นตน<br />

(บาทตอกิโลกรัม) 78 59<br />

* ราคากุงขาวแวนนาไม<br />

ณ วันที่<br />

7 ธันวาคม พ.ศ.2549<br />

56


5. การศึกษาคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองและบอควบคุม<br />

แสดงไวในตารางที่<br />

6<br />

5.1 ความโปรงแสง<br />

ความโปรงแสงของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7-40<br />

เซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

16.82±8.00 เซนติเมตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

8-35 เซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

18.13±8.57 เซนติเมตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ย<br />

ความโปรงแสงของบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

14)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) คาความโปรงแสงทั้งใน<br />

บอทดลองและบอควบคุมมีคาที่สูงในชวงแรกของการเลี้ยง<br />

เนื่องจากปริมาณแพลงกตอนยังมีนอย<br />

แตในขั้นตอนการเตรียมน้ํามีการใชโดโลไมท<br />

ซึ่งมีองคประกอบหลัก<br />

คือ แคลเซียมและแมกนีเซียม<br />

ซึ่งเปนธาตุอาหารสําคัญสําหรับแพลงกตอนพืชและจากปริมาณอาหารที่เพิ่มขึ้นในระหวางการเลี้ยง<br />

ทําใหปริมาณแพลงกตอนเพิ่มขึ้นเรื่อย<br />

ๆ โดยเฉพาะในชวงทายของการเลี้ยงนั้นคาความโปรงแสง<br />

ลดต่ําลงมากเนื่องจากแพลงกตอนพืชจะใชทั้งแอมโมเนียและไนเตรทเปนแหลงของไนโตรเจน<br />

(จูอะดี และ คณะ, 2528) แตในระหวางการศึกษาครั้งนี้ไมพบสาหรายตามพื้นบอ<br />

เนื่องจากปริมาณ<br />

แพลงกตอนชวยปองกันการเกิดสาหรายตามพื้นบอหรือขี้แดด<br />

(benthic algae) ซึ่งเกิดบอยเมื่อน้ําใส<br />

หรือมีความโปรงแสงมาก โดยเฉพาะถาน้ําใสมากในระยะแรกเปนเวลานาน<br />

(ชลอ, 2534; Boyd,<br />

1989)<br />

5.2 อุณหภูมิน้ํา<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

29.0-30.1 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

29.5±0.28 องศาเซลเซียส สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

29.0-29.9 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

29.6±0.23 องศาเซลเซียส<br />

สวนอุณหภูมิน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

31.0-33.5<br />

องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

32.0±0.69 องศาเซลเซียส สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

30.3-33.5 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

32.0±0.73 องศาเซลเซียส<br />

(ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยอุณหภูมิน้ําในบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

15-16)<br />

57


ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) เนื่องจากบอเลี้ยงกุงที่ใช<br />

ในการศึกษาครั้งนี้อยูในฟารมเดียวกันอุณหภูมิน้ําจึงไมแตกตางกัน<br />

โดยตลอดระยะเวลาการเลี้ยง<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชาและบายอยูในระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ซึ่งอุณหภูมิที่<br />

เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมอยูระหวาง<br />

26-33 องศาเซลเซียส (Wickins and Lee, 2002)<br />

5.3 พีเอช<br />

พีเอชของน้ําในตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.61-7.92 และมีคาเฉลี่ย<br />

7.75±0.07 สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยู<br />

ระหวาง 7.60-7.84 และมีคาเฉลี่ย<br />

7.73±0.06 สวนพีเอชของน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

8.24-8.48 และมีคาเฉลี่ย<br />

8.37±0.05 สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus อยูระหวาง<br />

8.22-8.55 และมีคาเฉลี่ย<br />

8.38±0.06 (ตารางผนวกที่<br />

3)<br />

พีเอชของน้ําของบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

17-18) ไมมีความแตกตางกันทาง<br />

สถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยการเปลี่ยนแปลงของพีเอชในบอเลี้ยงกุงใน<br />

ตอนกลางวันแพลงกตอนพืชจะใชคารบอนไดออกไซด ซึ่งไดจากการหายใจของสิ่งมีชีวิตและ<br />

ไบคารบอเนตในน้ําเพื่อการสังเคราะหแสงทําใหคาพีเอชสูงขึ้น<br />

สวนในตอนกลางคืนคารบอน<br />

ไดออกไซดถูกปลอยออกมาจากการหายใจของแพลงกตอนและสิ่งมีชีวิตในน้ําทําใหปริมาณ<br />

คารบอนไดออกไซดสะสมเพิ่มขึ้นและมากที่สุดในตอนเชามืดทําใหพีเอชลดลง<br />

(Boyd, 1982) โดย<br />

แหลงน้ําที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของกุงไมควรมีการเปลี่ยนแปลงของพีเอชเกินกวา<br />

0.5 หนวย<br />

ในรอบวัน (ชลอ, 2543) พีเอชของน้ําที่เหมาะสมแกการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมควรอยูระหวาง<br />

7.0-<br />

9.0 (Brock and Main, 1994) ดังนั้นพีเอชของน้ําในตอนเชาและบายตลอดการศึกษาในครั้งนี้จึงมีคา<br />

พีเอชอยูในชวงที่เหมาะสม<br />

5.4 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

4.81-5.37 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

5.08±0.18 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอ<br />

ควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

4.81-5.30 มิลลิกรัมตอลิตร และมี<br />

คาเฉลี่ย<br />

5.03±0.14 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.13-9.68 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.59±0.62<br />

58


มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.04-9.96<br />

มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.20±0.74 มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยปริมาณ<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําของบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

19-20) มีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2 ) โดยความเค็มของน้ําทั้งบอทดลองและบอควบคุมจะคอย<br />

ๆ ลดลงเมื่อ<br />

ระยะเวลาการเลี้ยงเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องมาจากมีการเติมน้ําจืดเขาไปทดแทนน้ําสวนที่ระเหยและรั่วซึม<br />

ออกไปเพื่อรักษาระดับน้ําในบอใหมีความลึกประมาณ<br />

1.3 เมตร สวนในสัปดาหที่<br />

12 ของการเลี้ยง<br />

ไดนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติมเพื่อเพิ่มความเค็ม<br />

แตความเค็มของน้ําเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น<br />

Wickins and Lee (2002) รายงานวา กุงขาวแวนนาไมสามารถเจริญเติบโตไดในน้ําความเค็มระหวาง<br />

0-35 พีพีที แต ชลอ และ พรเลิศ (2547) แนะนําวาการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ําใน<br />

ระหวางการเลี้ยงควรรักษาระดับความเค็มไมใหต่ํากวา<br />

3 พีพีที จะทําใหการเลี้ยงไดผลผลิตสูงและ<br />

สามารถเลี้ยงกุงไดขนาดใหญ<br />

5.6 การนําไฟฟา<br />

คาการนําไฟฟาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

4.90-<br />

11.87 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.30±2.17 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร สวนบอควบคุม<br />

ที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.10-9.86 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร และมี<br />

59


คาเฉลี่ย<br />

7.69±1.58 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยของคาการนําไฟฟาในบอ<br />

ทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

22) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ<br />

(P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) คาการนําไฟฟามีความสัมพันธกับความเค็มและมีการเปลี่ยนแปลงไป<br />

ในทิศทางเดียวกันกับความเค็มตลอดระยะเวลาในการทดลอง (Boyd, 1982; 2002)<br />

5.7 ความเปนดางรวม<br />

คาความเปนดางรวมของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

94-303 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

194±51 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

93-244 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

182±38 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

(ตารางผนวกที่<br />

3) คาความเปนดางรวมของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

23)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยคาความเปนดาง<br />

รวมมีความสําคัญมากในการเพาะเลี้ยงกุง<br />

ซึ่งจะมีความสัมพันธกับอัตราการรอดตายและการเจริญ<br />

เติบโตของกุงทะเลทุกชนิด<br />

(ชลอ และ พรเลิศ, 2547) โดยคาความเปนดางรวมของบอทดลองและ<br />

บอควบคุมตลอดระยะเวลาการเลี้ยงอยูในระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

แตชวง<br />

ทายของการเลี้ยงมีฝนตกติดตอกันหลายวันจึงไดมีการเติมวัสดุปูนลงไปเพื่อรักษาคาความเปนดาง<br />

รวมใหเหมาะสมตอการเลี้ยง<br />

ซึ่งคาความเปนดางรวมที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมมีคา<br />

อยูระหวาง<br />

120-180 (สุรศักดิ์,<br />

2546)<br />

5.8 ความกระดาง<br />

คาความกระดางของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

758-1826 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

1260±329 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

772-1532 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

1142±220<br />

มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาความกระดางของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และ<br />

ภาพที่<br />

24) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) ตลอด<br />

ระยะเวลาที่ทําการเลี้ยง<br />

พบวาความกระดางมีคาคอนขางคงที่หรือลดลงบางเล็กนอยในบางชวงจาก<br />

การเติมน้ําจืด แตเนื่องจากในระหวางการเลี้ยงไดมีการเติมแรธาตุลงไปในชวงเวลาที่กุงมีการลอก<br />

คราบเพื่อรักษาระดับของความกระดางไมใหเปลี่ยนแปลงมากเกินไป<br />

คาความกระดางของน้ําทั้งใน<br />

บอทดลองและบอควบคุมของการศึกษาครั้งนี้สวนใหญอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเลี้ยงกุง<br />

คือ<br />

60


ไมต่ํากวา<br />

1,000 มิลลิกรัมตอลิตร (ชลอ และ พรเลิศ, 2547) แตมีบางชวงเวลาที่ต่ํากวาระดับที่<br />

เหมาะสม คือ ชวงกอนที่จะมีการนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติม<br />

5.9 แอมโมเนียรวม<br />

ปริมาณแอมโมเนียรวมของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.02-0.81 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.27±0.18 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.01-0.78 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.30±0.21<br />

มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) แอมโมเนียรวมของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และ<br />

ภาพที่<br />

25) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดย<br />

แอมโมเนียรวมมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามระยะเวลาการเลี้ยงที่เพิ่มขึ้นโดยในชวงแรกของการเลี้ยง<br />

ทั้งในบอทดลองและบอควบคุมปริมาณอาหารที่ใชในการเลี้ยงกุงยังมีไมมากนัก<br />

เนื่องจากกุงยังมี<br />

ขนาดเล็ก แตในชวงทายของการเลี้ยงทั้งในบอทดลองและบอควบคุมมีแอมโมเนียรวมเพิ่มสูงขึ้น<br />

เนื่องจากกุงมีขนาดใหญขึ้นปริมาณอาหารที่ใหในแตละวันจะมากขึ้นดวย<br />

ดังนั้นเมื่อกุงกินอาหาร<br />

มากขึ้นของเสียที่ขับถายออกมาจากกุงและเศษอาหารที่เหลือเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย<br />

รวมทั้งปริมาณ<br />

แพลงกตอนที่เพิ่มมากขึ้นและบางสวนที่ตายจะเพิ่มแอมโมเนีย<br />

แตอยางไรก็ตามระดับแอมโมเนีย<br />

รวมของบอทดลองและบอควบคุมตลอดระยะเวลาการเลี้ยงยังอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

ซึ่งแอมโมเนียรวมที่เหมาะสมตอการเลี้ยงกุงควรจะมีปริมาณนอยกวา<br />

1 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร (Brock and Main, 1994)<br />

5.10 ไนไตรท<br />

ปริมาณไนไตรทของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.00-<br />

0.09 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.04±0.02 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.01-0.08 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.04±0.02 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไนไตรทของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

26)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยในชวงทายของการ<br />

เลี้ยงปริมาณไนไตรททั้งในบอทดลองและบอควบคุมมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น<br />

เนื่องจากปริมาณ<br />

แอมโมเนียรวมที่เพิ่มสูงขึ้นตามระยะการเลี้ยงจึงเกิดกระบวนการไนตริฟเคชัน<br />

โดยแบคทีเรียกลุม<br />

nitrifying bacteria เชน Nitrosomonas sp. และ Nitrococcus sp. เปลี่ยนแอมโมเนียเปนไนไตรทกอนที่ไน<br />

61


ไตรท จะเปลี่ยนเปนไนเตรทโดย<br />

Nitrobacter sp. ในสภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ<br />

แตไน<br />

ไตรทในบออาจเกิดจากไนเตรทเปลี่ยนเปนไนไตรทไดโดยแบคทีเรียในบริเวณเลนพื้นบอ<br />

โดยเฉพาะบริเวณกลางบอที่มีตะกอนตาง<br />

ๆ ทับถมในปริมาณมากจึงทําใหกระบวนการไนตริฟเค<br />

ชันเกิดไมสมบูรณสงผลใหเกิดการสะสมไนไตรทในบอขึ้นได (ชลอ และ พรเลิศ, 2547; Boyd,<br />

1982) อยางไรก็ตามปริมาณไนไตรททั้งในบอทดลองและบอควบคุมที่ทําการศึกษาอยูในระดับที่<br />

เหมาะสมตอการเลี้ยงกุง<br />

คือ มีคาปริมาณไนไตรทนอยกวา 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร (Brock and<br />

Main, 1994)<br />

5.11 ไนเตรท<br />

ปริมาณไนเตรทของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.0-<br />

10.0 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

9.11±1.93 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.0-10.0 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.89±2.10 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไนเตรทของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

27)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

3) เนื่องจากชวงเวลาที่<br />

ทําการศึกษาไดมีการใชเครื่องใหอากาศอยางเพียงพอทําใหเกิดการยอยสลายสารอินทรียแบบใช<br />

ออกซิเจนของแบคทีเรียกลุมไนตริไฟอิ้งแบคทีเรีย<br />

(nitrifying bacteria) ในกระบวนการ<br />

ไนตริฟเคชัน (nitrification) เริ่มจากแอมโมเนียมอิออนถูกออกซิไดซเปนไนไตรทโดยแบคทีเรีย<br />

Nitrosomonas และถูกออกซิไดซตอไปเปนไนเตรทโดยแบคทีเรีย Nitrobacter<br />

5.12 ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ไมพบ<br />

ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.00-1.86 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.74±0.67มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดของบอ<br />

ทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

28) มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ<br />

(P


กวาบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus เนื่องจากสารอินทรียถูกทั้งยอยสลายโดยแบคทีเรีย<br />

กลุม<br />

sulfate reducing bacteria ไดแก Desulfovibrio, Desulfotomaculum และ Desulfomonas ผลจาก<br />

การรีดิวซทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนา (ดวงพร, 2545) แตในบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus ซึ่งเปนแบคทีเรียกลุม<br />

sulfur-oxidizing bacteria สามารถออกซิไดซกาซ<br />

2- 2- 2-<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด ซัลเฟอร (S) ไธโอซัลเฟต (S2O3 ) ซัลไฟท (SO3 ) ใหเปนซัลเฟต (SO4 )<br />

63


ตารางที่<br />

6 คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คุณสมบัติของน้ํา<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

ความโปรงแสง (เซนติเมตร) 7.0-40.0 16.82±8.00 a 8.0-35.0 18.13±8.57 a<br />

อุณหภูมิน้ํา<br />

(องศาเซลเซียส) -เชา 29.0-30.1 29.5±0.28 a 29.0-29.9 29.6±0.23 a<br />

-บาย 31.0-33.5 32.0±0.69 a 30.3-33.5 32.0± 0.73 a<br />

พีเอช -เชา 7.61-7.92 7.75±0.07 a 7.60-7.84 7.73±0.06 a<br />

-บาย 8.24-8.48 8.37±0.05 a 8.22-8.55 8.38±0.06 a<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

-เชา 4.81-5.37 5.08±0.18 a 4.81-5.30 5.03±0.14 a<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) -บาย 7.13-9.68 8.59±0.62 b 7.04-9.96 8.20±0.74 a<br />

ความเค็ม (พีพีที) 2.60-6.80 4.68±1.30 a 2.80-5.50 4.28±0.87 a<br />

การนําไฟฟา (มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร) 4.90-11.87 8.30±2.17 a 5.10-9.86 7.69±1.58 a<br />

ความเปนดางรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 94-303 194±51 a 93-244 182±38 a<br />

ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 758-1826 1260±329 a 772-1532 1142±220 a<br />

แอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.02-0.81 0.27±0.18 a 0.01-0.78 0.30±0.21 a<br />

ไนไตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.00-0.09 0.04±0.02 a 0.01-0.08 0.04±0.02 a<br />

ไนเตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 5.0-10.0 9.11±1.93 a 5.0-10.0 8.89±2.10 a<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.00-0.00 0.00±0.00 b 0.00-1.86 0.74±0.67 a<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย±คาเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกันมีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


เซนติเมตร<br />

ภาพที่<br />

14 การเปลี่ยนแปลงความโปรงแสงตลอดการเลี้ยง<br />

องศาเซลเซียส<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

ความโปรงแสง<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P . pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

15 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

65


องศาเซลเซียส<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

ภาพที่<br />

16 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

7.90<br />

7.80<br />

7.70<br />

7.60<br />

7.50<br />

อุณหภูมิน้ําตอนบาย<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พีเอชตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

17 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

66


ภาพที่<br />

18 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

8.50<br />

8.40<br />

8.30<br />

8.20<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

พีเอชตอนบาย<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

19 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

67


ภาพที่<br />

20 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

พีพีที<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

1<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบาย<br />

ภาพที่<br />

21 การเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดการเลี้ยง<br />

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ความเค็ม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

68


มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร<br />

ภาพที่<br />

22 การเปลี่ยนแปลงการนําไฟฟาตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

300.00<br />

250.00<br />

200.00<br />

150.00<br />

100.00<br />

50.00<br />

0.00<br />

การนําไฟฟา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ความเปนดางรวม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

23 การเปลี่ยนแปลงความเปนดางรวมตลอดการเลี้ยง<br />

69


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

ภาพที่<br />

24 การเปลี่ยนแปลงความกระดางตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

2000.00<br />

1500.00<br />

1000.00<br />

500.00<br />

0.80<br />

0.60<br />

0.40<br />

0.20<br />

0.00<br />

0.00<br />

ความกระดาง<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

แอมโมเนียรวม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

25 การเปลี่ยนแปลงแอมโมเนียรวมตลอดการเลี้ยง<br />

70


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

ภาพที่<br />

26 การเปลี่ยนแปลงไนไตรทตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

0.10<br />

0.08<br />

0.06<br />

0.04<br />

0.02<br />

0<br />

12.00<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

ไนไตรท<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ไนเตรท<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

27 การเปลี่ยนแปลงไนเตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

3<br />

2.5<br />

2<br />

1.5<br />

1<br />

0.5<br />

0<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

28 การเปลี่ยนแปลงไฮโดรเจนซัลไฟดตลอดการเลี้ยง<br />

72


6. การศึกษาคาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซบริเวณแนวหวานอาหารของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

-15 ถึง -67 มิลลิโวลต และมีคาเฉลี่ย<br />

-45.29±20.22 มิลลิโวลต สวนบอควบคุมที่ไม<br />

ใชแบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

-53 ถึง -102 มิลลิโวลต และมีคาเฉลี่ย<br />

-82.57±20.33<br />

มิลลิโวลต พบวาคาศักยไฟฟารีดอกซทั้งในบริเวณแนวหวานอาหารและกลางบอของบอทดลอง<br />

และบอควบคุม (ตารางที่<br />

7 และภาพที่<br />

29) มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


บอควบคุมมีคาเปนลบทุกระยะเวลาที่ทําการศึกษาและมีแนวโนมคาติดลบมากขึ้น<br />

เมื่อระยะเวลา<br />

การเลี้ยงมากขึ้น<br />

(ดํารง, 2540)<br />

ตารางที่<br />

7 คาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

ระยะเวลา<br />

เลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) แนวหวานอาหาร กลางบอ แนวหวานอาหาร กลางบอ<br />

(มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต)<br />

2 -15 -29 -53 -92<br />

4 -26 -45 -83 -106<br />

6 -42 -64 -91 -111<br />

8 -54 -78 -84 -113<br />

10 -61 -86 -96 -116<br />

12 -52 -93 -82 -124<br />

14 -67 -98 -102 -146<br />

74


มิลลิโวลต<br />

-30<br />

-80<br />

-130<br />

-180<br />

ศักยไฟฟารีดอกซ<br />

1 2 3 4 5 6 7<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ( แนวหวานอาหาร )<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ( กลางบอ )<br />

บอควบคุม ( แนวหวานอาหาร )<br />

บอควบคุม ( กลางบอ )<br />

ภาพที่<br />

29 คาศักยไฟฟารีดอกซตลอดการเลี้ยง<br />

75


สรุปและขอเสนอแนะ<br />

สรุป<br />

1. การเติมแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus สามารถควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ที่เกิดขึ้นจากการผสมเลนพื้นบอกุงและอาหารกุงได<br />

อยางไรก็ตามจําเปนจะตองมีปริมาณไนเตรทที่<br />

เพียงพอตลอดการทดลองเพื่อใหกระบวนการทํางานของแบคทีเรียเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจึงจะไดผลดี<br />

2. บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

ไดผลผลิต 840 กิโลกรัมตอไร มีอัตราการรอดตาย 84 เปอรเซ็นต อัตราการเจริญเติบโต 0.15 กรัม<br />

ตอวัน น้ําหนักเฉลี่ยของกุง<br />

17 กรัม และอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.16 ซึ่งใหผลดีกวาบอควบคุมซึ่งไดผล<br />

ผลิต 633 กิโลกรัมตอไร มีอัตราการรอดตาย 69 เปอรเซ็นต อัตราการเจริญเติบโต 0.14 กรัมตอวัน<br />

น้ําหนักเฉลี่ยของกุง<br />

15 กรัม และอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.52 ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมี<br />

นัยสําคัญ<br />

3. คุณภาพน้ําตลอดระยะเวลาที่ทําการศึกษาในบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอ<br />

ควบคุมมีคาใกลเคียงกัน แตพบวาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําชวงบายของบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรียชนิดนี้มีคาสูงกวาบอควบคุม<br />

ไมตรวจพบปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

ชนิดนี้ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

สวนในบอควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดจะเริ่มตรวจพบใน<br />

สัปดาหที่<br />

5 เปนตนไปจนกระทั่งจับกุง<br />

ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญและคา<br />

ศักยไฟฟารีดอกซของบอทดลองที่ใชแบคทีเรียชนิดนี้มีคาเปนลบต่ํากวาบอควบคุม<br />

ซึ่งมีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญเชนกัน<br />

4. ในบอทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในระหวางการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จะมีตนทุนในการผลิตสูงกวาบอที่ไมใชแบคทีเรียชนิดนี้<br />

แตจะใหผลผลิตและผลตอบแทนที่สูงกวา<br />

76


ขอเสนอแนะ<br />

1. ในชวง 4 สัปดาหแรกของการเลี้ยงอาจไมตองใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus<br />

เนื่องจากไมมีการตรวจพบไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ดังนั้นจึงควรเริ่มใสแบคทีเรียชนิดนี้หลังจากการเลี้ยง<br />

ผานไปประมาณ 4 สัปดาห ซึ่งจะเปนการลดคาใชจายในดานตนทุนในการเลี้ยงได<br />

2. ควรเก็บแบคทีเรีย P. pantotrophus ไวในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท<br />

เก็บไวในบริเวณแหง<br />

และเย็น หางจากแสงแดด ความรอน นอกจากนั้นควรหลีกเลี่ยงการหายใจเอาแบคทีเรียเขาไป<br />

3. ควรมีการศึกษาผลของการใชแบคทีเรีย P. pantotrophus ในฤดูกาลอื่น<br />

ๆ และในบอ<br />

เลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงในอัตราความหนาแนนที่สูงกวานี้<br />

4. ควรมีการทดลองใชแบคทีเรีย P. pantotrophus ในการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมและ<br />

กุงกุลาดําที่มีความหนาแนนระดับตาง<br />

ๆ เพื่อหาระดับที่เหมาะสมและใหผลตอบแทนสูงสุด<br />

77


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

จักรกฤษ พรหมชนะ. 2547. การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินของการเลี้ยงกุงขาว<br />

ในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

จารุมาศ เมฆสัมพันธ. 2548. ดินตะกอน. ภาควิชาชีววิทยาประมง, คณะประมง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 146 น.<br />

จารุวัฒน นภีตะภัฏ และ สมนึก กบิลรัตน. 2530. การบริโภคออกซิเจนเปรียบเทียบของกุงกุลาดํา.<br />

กรมประมง. กรุงเทพฯ : (สถานีประมงน้ํากรอย<br />

จังหวัดระยอง) เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

13.<br />

กองประมงน้ํากรอย<br />

กรมประมง. 43 น.<br />

จูอะดี พงศมณีรัตน, สิริ ทุกขวินาศ และ สถาพร ดิเรกบุษราคม. 2528. ความชุกชุมของแพลงก<br />

ตอนพืชและความสัมพันธกับคุณสมบัติบางประการของน้ําทางเคมี-ฟสิกสและผลผลิตในนา<br />

กุง<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช. เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

28 สถาบันเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง<br />

จังหวัดสงขลา. กรมประมง, กรุงเทพฯ.<br />

ชลอ ลิ้มสุวรรณ.<br />

2534. คัมภีรการเลี้ยงกุงกุลาดํา.<br />

สํานักพิมพฐานเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ. 202 น.<br />

. 2543. กุงไทย<br />

2000 สูความยั่งยืน<br />

และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม.<br />

เจริญการพิมพ,<br />

กรุงเทพฯ. 260 น.<br />

และ พรเลิศ จันทรรัชชกูล. 2547. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุงในประเทศไทย.<br />

บริษัท เมจิค พับบลิเคชั่น<br />

จํากัด, กรุงเทพฯ. 206 น.<br />

, นิติ ชูเชิด, ทิมโมที วิลเลียม เฟลเกล, ภิญโญ เกียรติภิญโญ และบริษัท ซาย<br />

อาคควาสยาม จํากัด. 2548. รายงานการวิจัยการศึกษาการขยายพันธุพอแมพันธุกุงขาว<br />

แวนนาไมปลอดเชื้อ.<br />

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 34 น.<br />

78


ดวงพร คันธโชติ. 2545. นิเวศวิทยาของจุลินทรีย. สํานักพิมพ โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 206 น.<br />

ดํารง โลหะลักษณาเดช. 2540. การศึกษาเปรียบเทียบการใชระบบการใหอากาศตาง ๆ กันเพื่อ<br />

จัดการคุณภาพน้ําและดินพื้นบอในการเลี้ยงกุงกุลาดําในระบบปด.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ทัศนีย อัตตะนันทน. 2534. ดินที่ใชปลูกขาว.<br />

ภาควิชาปฐพีวิทยา, คณะเกษตร,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 420 น.<br />

นิศากร ลุลิตานนท และ ชลัญญา ธารบุปผา. 2526. พิษเฉียบพลันของไฮโดรเจนซัลไฟดตอกุง<br />

แชบวยขาว. รายงานวิชาการ. กองประมงทะเล, กรมประมง. 7 น.<br />

ประวิทย โตวัฒนะ และ พิภพ ปราบณรงค. 2539. การสะสมตัวและการเคลื่อนที่ของไอออน<br />

จากน้ําทะเลที่ใชเลี้ยงกุงในหนาดินตัดที่มีผลกระทบตอสภาพแวดลอมและทรัพยากรดิน<br />

ในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารสงขลานครินทร. 18(1): 113-127.<br />

เปยมศักดิ์<br />

เมนะเศวต. 2525. แหลงน้ํากับปญหามลภาวะ.<br />

สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,<br />

กรุงเทพฯ. 307 น.<br />

พุทธ สองแสงจินดา และ วลีรัตน มูสิกะสังข. 2547. คุณภาพน้ําและการเปลี่ยนแปลงปริมาณ<br />

แบคทีเรียในระบบการจัดการเลี้ยงกุงกุลาดําวิธีการตางๆ<br />

กัน. เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

72/2547. สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง<br />

กรมประมง. 16 น.<br />

เพิ่มพูน<br />

กีรติกสิกร. 2528. เคมีของดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตร คณะเกษตรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน. 249 น.<br />

ไมตรี ดวงสวัสดิ์<br />

และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ําและวิธีการวิเคราะหสําหรับวิจัย<br />

ทางการประมง. สถาบันประมงน้ําจืดแหงชาติ,<br />

กรมประมง, กรุงเทพฯ. 115 น.<br />

79


ยนต มุสิก. 2530. กําลังผลิตทางชีวภาพในบอเลี้ยงปลา<br />

II. เอกสารประกอบการสอนวิชา<br />

เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

551. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 87 น.<br />

และ พรพันธ ยุทธรักษานุกูล. 2534. อัตราการตกตะกอน คุณสมบัติของดินตะกอน<br />

และดินพื้นบอในบอพักน้ําและบอเลี้ยงปลาในระบบการเลี้ยงกุงแบบหนาแนนบริเวณกน<br />

อาวไทย. วารสารวิทยาศาสตรการประมง 1(1): 47-55.<br />

วรวิทย ชีวาพร. 2531. คุณภาพน้ํา-ดินในการเลี้ยงกุงกุลาดํา,<br />

น. 171-182. ใน การเพาะเลี้ยงกุง<br />

กุลาดํา. คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ชลบุรี.<br />

วิทยา มะเสนา. 2526. จุลวิทยาทางดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตร คณะเกษตรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน. 228 น.<br />

ศศิวิมล ไชยพรวัฒนา. 2544. การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการผลิต<br />

กุงกามกรามในจังหวัดสุพรรณบุรีป<br />

2543. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ศิริเพ็ญ ตรัยไชยาพร. 2543. การวิเคราะหคุณภาพน้ํา.<br />

ภาควิชาจุลชีววิทยา, คณะวิทยาศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 125 น.<br />

สมพร ธนวิริยะกุล. 2535. การคัดเลือกแบคทีเรียเฮตเทอโรโทรปจากธรรมชาติและความสามารถ<br />

ในการยอยสลายอินทรียในบอเลี้ยงกุง.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร.<br />

สมสุข มัจฉาชีพ. 2528. นิเวศวิทยา. เจริญการพิมพ, บางปะกอก. กรุงเทพฯ. 292 น.<br />

สมศักดิ์<br />

ปณีตัธยาศัย. 2550. สถานการณผลผลิตกุงไทย.<br />

แหลงที่มา<br />

http://www.newswit.com, 16<br />

กุมภาพันธ 2550.<br />

80


สมเจตน จันทวัฒน, ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา,<br />

จงรัก จันทรเจริญสุข, วิโรจน อิ่มพิทักษ<br />

และ อัญชลี สุทธิปราการ. 2529. ปฐพีวิทยาเบื้องตน.<br />

คณะเกษตร,<br />

มหาวิทยาลัยกษตรศาสตร. 117 น.<br />

สุธี เกื้อเกตุ.<br />

2543. การสะสมและการกระจายของไอออนจากน้ําทะเลในแหลงเลี้ยงกุงกุลาดํา<br />

เขตน้ําจืด:<br />

กรณีศึกษาที่อําเภอบานสราง<br />

จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

สุรศักดิ์<br />

ดิลกเกียรติ. 2546. กุงไทย<br />

กาวใหม. กรุงเทพฯ. 394 หนา.<br />

สุวนิช ชัยนาค. 2540. การเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินพื้นบอเลี้ยงกุงกุลาดําบริเวณอาวไทยตอนใน.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

อําพิน กันธิยะ, 2540. การควบคุมการผลิตไฮโดรเจนซัลไฟดโดยวิธีจุลชีววิทยา.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

Adelman, I. R. and L. L. Smith. 1972. Toxicity of hydrogen sulfide to goldfish (Carassius<br />

auratus) as influenced by temperature, oxygen and bioassay techniques. J. Fish. Res.<br />

Board Can. 29: 1309-1377.<br />

Alexander, M. 1961. Introduction to Soil Microbiology. John Wiley & Sons Inc., New<br />

York. 472 p.<br />

APHA, AWWA. and WEF. 1989. Standard Method for the Examination of Water and<br />

Wastewater. 17 th ed. American Public Health Association, Washington, D. C.<br />

1,134 p.<br />

. 1995. Standard Method for the Examination of Water and Wastewater. 20 th ed.<br />

United Book Press, Maryland. 1,220 p.<br />

81


Arrignon, J. V. C., J. V. Huner, P. J. Laurent, J. M. Griessinger, D. Lacroix, P. Gonduin and M.<br />

Autrand. 1994. Warm-Water Crustaceans. The Macmillan Press Ltd. London and<br />

Basingstoke. 114 p.<br />

Barnes, R. S. K. and R. N. Hughes. 1982. An Introduction to Marine Ecology. Blackwell<br />

Scientific Publ., Oxford, London. 339 p.<br />

Bonn, E. W. and B. J. Follis. 1967. Effects of hydrogen sulfide on channel catfish (Ictalurus<br />

punctatus). Trans Am. Fish. Soc. 96: 31-36.<br />

Boyd, C. E. 1982. Water Quality in Management for Fish Pond Culture. Elsevier Scientific<br />

Publishing Co., Amsterdam, Netherlands. 318 p.<br />

Boyd, C. E. 1987. Evaluation of Water Quality and Water Quality Management Techniques<br />

for Brackishwater Aquaculture in Ponds in Thailand. Report for the Asian<br />

Development Bank, Manila, Phillippines. 29 p.<br />

. 1989. Water Quality Management and Aeration in Shrimp Farming. Fisheries<br />

and Allied Aquaculture Departmental Series No. 2. Alabama Agricultural Experiment<br />

Station, Auburn University, Alabama. 83 p.<br />

. 1990. Water Quality in Pond for Aquaculture. Alabama Agricultural Experiment<br />

Station, Auburn University. 482 p.<br />

. 1992. Shrimp pond bottom soil and sediment management, pp. 16-181. In<br />

Proceeding of the Special Session on Shrimp Farming. World Aquaculture Society<br />

Baton Rouge Louisiana, USA.<br />

. 1995. Bottom Soils, Sediment and Pond Aquaculture. Alabama Agricultural<br />

Experiment Station, Auburn University, Alabama, USA. 347 p.<br />

82


Boyd, C. E. 2002. Dissolved salt in water for inland low-salinity shrimp culture. Glob. Aquac.<br />

Advocate. 5: 40-50.<br />

and A. W. Fast. 1992. Pond monitoring and management, pp. 497-513. In A. W. Fast<br />

and L. J. Lester, eds. Marine Shrimp Culture: Principles and Practices. Elsevier<br />

Science B. V., Amsterdam.<br />

and C. S. Tucker. 1992. Water Quality and Pond Soil Analyses for<br />

Aquaculture. Alabama Agricultural Experiment Station, Auburn University, Alabama,<br />

USA. 183 p.<br />

and . 1998. Pond Aquaculture Water Quality Management.<br />

Kluwer Academic Publishers, Boston. 700 p.<br />

Boon, A. G. 1995. Septicity in sewers: causes, consequences and containment. Wat. Sci. Tech.<br />

31 (7): 237-253.<br />

Brawn, T. E., A. W. Morley., N. T. Sanderson and R. D. Tait. 1983. Report of a large fish kill<br />

resulting from natural acid water condition in Austrawa. J. Fish. Biol. 22 (1): 43-47.<br />

Brock, J. A. and K. Main. 1994. A Guide to the Common Problems and Diseases of<br />

Cultured Penaeus vannamei. Publ. by the Oceanic Institute, Makapu Point, Honolulu,<br />

HI, USA. 241 p.<br />

Brown, A. C. and A. McLachlan. 1990. Ecology of Sandy Shores. Elsevier Sciences<br />

Publishers B. V., Amsterdam. 328 p.<br />

Buchanan, R. E. and N. E. Gibbons. 1994. Bergey’s Manual of Determinative Bacteriology.<br />

8 th ed., The Williams and Wilkins Co., Baltimore. 1,268 p.<br />

83


Buisman, C. J. N., B. G. Geraats, P. Ijspeert and G. Lettinga. 1990a. Optimozation of sulfur<br />

Production in a biotechnological sulfide-removing reactor. Biotech. Bioeng. 35: 50-56.<br />

, B. Wit and G. Lettinga. 1990b. Biotechnological sulfide removal in three polyurethane<br />

carrier reactors: stirred reactor, biorotor and upflow reactor. Wat. Res. 24 (2): 245-251.<br />

, and G. Lettinga. 1990c. Sulfide-removal from anaerobic waste water treatment effluent<br />

of a papermill. Wat. Res. 24 (3) : 313-319.<br />

, P. Ijspeert, A. Janssen and G. Lettinga. 1990d. Kinetics of chemical and biochemical<br />

sulphide oxidation in aqueous solution. Wat. Res. 24 (5): 667-671.<br />

, , A. Hof, A. J. H. Janssen, R. ten Hagen and G. Lettinga. 1991. Kinetic<br />

parameters of a mixed culture oxidizing sulfide and sulfur with oxygen. Biotech. Bioeng.<br />

38: 813-820.<br />

Chen, H. C. 1985. Water quality criteria for farming the grass shrimp Penaeus monodon, pp. 165.<br />

In Proceeding of the First International Conference on the Culture of Penaeid<br />

Prawn/Shrimps. 4-7 December 1981, SEAFDEC, Iloilo, Philippines.<br />

Cheremisinoff, P. N. 1995. Handbook of Water and Wastewater Treatment Technology.<br />

Marcel Dekker, Inc., New Jersy, USA. 833 p.<br />

Cho, K. S., L. Zhang, M. Hirai and M. Shoda. 1991a. Removal characteristics of hydrogen<br />

sulfide and methanethiol by Thiobacillus sp. isolated from peat in biological<br />

deodorizarion. J. Ferment. Bioeng. 71 (1): 44-49.<br />

, M. Hirai and M. Shoda. 1991b. Removal of dimethyl disulfide by the peat biofilter<br />

seeded with night soil sludge. J. Ferment. Bioeng. 71 (4): 289-291.<br />

84


Cho, K. S., M. Hirai and M. Shoda. 1991c. Degradation characteristics of hydrogen sulfide,<br />

methanethiol, dimethyl sulfide and dimethyl disulfide by Thiobacillus thioparus DW 44<br />

isolated from peat biofilter. J. Ferment. Bioeng. 71 (6): 384-389.<br />

. 1992. Degradation of hydrogen sulfide by Xanthomonas sp. strain DY 44 isolated from<br />

peat. Appl. Environ. Microbiol. 58 (4): 1183-1189.<br />

Cork, D. J., R. Garunas and A. Sajjad. 1983. Chlorobium limicola forma thiosulfatophilum:<br />

biocatalyst in the production of sulfur and organic carbon from a gas stream containing<br />

H 2S and CO 2. Appl. Environ. Microbiol. 45 (3): 913-918.<br />

Dague, R. R. 1972. Fundamental of odor control. J. Wat. Control Fed. 44 (4): 583-589.<br />

Dunnettle, D. A., D. P. Chynoweth and K. H. Mascy. 1985. The source of hydrogen sulfide in<br />

aerobic sediment. Wat. Res. 19: 875-884.<br />

Eliassen, R., A. N. Heller and G. Kishch. 1949. The effect of chlorinated hydrocarbon and<br />

hydrogen sulfide production. Sewage Works 21 (3): 457-470.<br />

Friedrich, C. G., D. Rother, F. Bardischewsky, A. Quentmeier and J. Fisher. 2001. Oxidation of<br />

reduced inorganic sulfur compounds by bacteria: emergence of a common mechanism.<br />

Appl. Environ. Microbiol. 67: 2873-2882.<br />

Gallert, C. and J. Winter. 2005. Bacterial Metabolism in Wastewater Treatment Systems.<br />

in Environmental Biotechnology. Wiley-VCH Weinheim. 40 p.<br />

Gregg, D. C. 1966. College Chemistry. Allon and Bacon Inc., Boston, America. 606 p.<br />

Guy, D. 1992. The Ecology of the Fish Pond System. Institute of Animal Ecology, University<br />

of Ghent, Belgium. 230 p.<br />

85


Hajek, B. B. and C. E. Boyd. 1994. Rating soil and water information for aquaculture. Aquac.<br />

Eng. 13: 115-128.<br />

Hargreaves, J. A., 1998. Nitrogen biogeochemistry of aquaculture ponds. Aquaculture<br />

166: 181-212.<br />

Hartman, W. J. and D. A. Long. 1976. Municipal wastewater “odor still a problem” part 2.<br />

Water & Sewage Works 123 (1): 38-41.<br />

Heukelekian, H. 1948. Some bacteriological aspects of hydrogen sulfide production from<br />

sewage. Sew. Works. J. 20 (3): 490-498.<br />

Janssen, A. J. H., R. Sleyster, C. van der Kaa, A. Jochemsen. J. Bontsema and G. Lettinga. 1995.<br />

Biological sulfide oxidation in a fed-batch reactor. Biotech. Bioeng. 47 (3): 327-333.<br />

Jenneman, G. E., M. J. McInerney and R. M. Knapp. 1986. Effects of nitrate on biogenic sulfide<br />

production. Appl. Environ. Microbiol. 51 (6): 1205-1211.<br />

Jayamanne, S. C. 1986. A Preliminary Study of H 2S Toxicity on Juveniles of<br />

Macrobrachium rosenbergii. NACA/WP/86/42, Bangkok. 19 p.<br />

Jobbagy, A., I. Szanto, G. I. Varga and J. Simon. 1994. Sewer system odour control in the Lake<br />

Balaton area. Wat. Sci. Tech. 30 (1): 195-204.<br />

Jørgensen, B. B. 1977. The sulfur cycle of a coastal marine sediment (Limfjorden, Denmark).<br />

Limnol. Oceanogr. 22: 814-832.<br />

Lester, L. J. and J. R. Pante. 1991. Penaeid temperature and salinity response, pp. 515-534. In<br />

A. W. Fast and L. J. Lester, eds. Marine Shrimp Culture Principle and Practices.<br />

Elsevier Amsterdam.<br />

86


Madenjian, C. P. 1990. Patterm of oxygen production and consumption in intensively managed<br />

shrimp ponds. Aquac. Eng. 21: 407-417.<br />

Mairs, D. F. 1966. A total alkalinity atlas for marine lake water. Limnol. Oceanogr. 11: 68-72.<br />

Mancinelli, R. L. and C. P. McKay. 1983. Effects of nitric oxide and nitrogen dioxide on<br />

bacterial growth. Appl. Environ. Microbiol. 46 (1): 198-202.<br />

Masuda, K. and C. E. Boyd. 1994a. Phosphorus fraction in soil and water of aquaculture ponds<br />

built on Clayey, Ultisols at Auburn, Alabama. J. World Aquac. Soc. 25: 379-395.<br />

Matida, Y. 1966. The role of soil in fish pond productivity in Asia and the Far East, pp. 1-10. In<br />

Proceedings of the World Symposium on Warm Water Pond Fish Culture. FAO,<br />

United Nation Fish, Rep., Rome.<br />

Moyle, J. B. 1945. Some chemical factors. Influencing the distribution of aquatic plants in<br />

minnesota. Am. Midl. Natur. 34: 402-420.<br />

Munsiri, P., C. E. Boyd, and B. J. Hajek, 1955. Physical and chemical characteristics of bottom<br />

soil profiles in ponds at Auburn, Alabama, USA, and a proposed method for describing<br />

pond soil horizons. J. World Aquac. Soc. 26: 346-377.<br />

Novazhilova, M. I. and E. S. Berezina. 1966. Character of the distribution of sulfate reducing<br />

and sulfur bacteria in the sediments of lake Balkhash. Microbiol. 34 : 436-440.<br />

Noyes, R. 1969. Vitamin B 12 Manufacture. Noyes Development Corp., New jersey. 412 p.<br />

Nurnerg, G. 1984. Iron and hydrogen sulfide interferrance in the analysis of soluble reaction<br />

phosphorus in anoxic water. Water Res. 18: 367-377.<br />

87


Oseid, D. M. and L. L. Smith. 1972. Swimming endurance and resistance to copper and<br />

malathion of bluegill treated by long-term exposure to sublethal levels of hydrogen<br />

sulfide. Trans. Am. Fish. Soc. 4: 620-625.<br />

Patrick, R. 1977. Ecology of freshwater diatoms-diatom communities, pp. 284-332. In<br />

D. Werener, eds. The Biology of Diatoms. University of California Press, Berkeley.<br />

Peturiyawate, O. 1982. Effect of Hydrogen Sulfide on Catfish (Clarias batrachus Linn.) and<br />

Its Antagonistic Action with Some Inorganic Compound. MS. Thesis, Mahiodol<br />

University, Bangkok. 65 p.<br />

Pomeroy, R. and F. D. Bowlus. 1946. Progress report on sulfide control research. Cited by R. R.<br />

Dague. 1972. Fundamental of odor control. J. Wat. Control Fed. 44 (4): 583-589.<br />

Ponce-Palafox, J., C. A. Martinez-Palacios and L. G. Ross. 1997. The effects of salinity and<br />

temperature or the growth and survival rates of juvenile white shrimp, Penaeus vannamei,<br />

Boone, 1931. Aquaculture 157:107-115.<br />

Post, N. 1956. Counteraction of sewage odors. Sew & Ind. Wastes 28 (2): 221-225.<br />

Ralney, F. A., D. P. Kelly, E. Stackebrandt, J. Burghardt, A. Hiraishi, Y. Katayama and A. P.<br />

Wood. 1999. A re-evaluation of the taxonomy of Paracoccus denitrificans and a<br />

proposal for the combination Paracoccus pantotrophus comb. nov. Int. J. Syst.<br />

Bacteriol. 49: 645-651.<br />

Ray, W. M. and Y. H. Chien. 1992. Effect of stocking density and aged sediment on tiger prawn,<br />

Penaeus monodon, nursery system. Aquaculture 104: 231-248.<br />

Reid, G. H. 1961. Ecology of Inland Water and Estuarine. Reingold Pulb. CO.,<br />

New York. 375 p.<br />

88


Rother, D., H. J. Henrich, A. Quentmeier, F. Bardischewsky and C. G. Friedrich. 2001. Novel<br />

genes of the sox gene cluster, mutagenesis of the flavoprotein SoxF, and evidence for a<br />

general sulfur-oxidizing system in Paracoccus pantotrophus GB17. J. Bacteriol. 183:<br />

4499-4508.<br />

Salminen, S. and A. V. Wright (eds.). 1993. Lactic Acid Bacteria. Marcel Dekker, Inc., New<br />

York. 441 p.<br />

Santry, I. W. 1966. Hydrogen sulfide odor control measures. Wat. Pollut. Cotrol Fed. 38(3):<br />

459-463.<br />

Santschi, P., P. Hohener, G. Benoit and M. B. Brink. 1990. Chemical processes at the<br />

sediment-water interface. Mar. Chem. 30: 269-315.<br />

Sawyer, N. G. and P. L. McCarty. 1967. Chemistry or Sanitary Engineers. McGraw-Hill<br />

Book Company, New York. 518 p.<br />

Serokin, Y. I. 1968. Processes of chemical and biological oxidation of hydrogen sulfide in the<br />

water column of meromictic lakes. Microbiol. 34: 428-435.<br />

Steel, R. G. D. and J. H. Torrie. 1980. Principles and Procedures of Statistics: A Biometerial<br />

Approach. 2 nd ed. McGraw-Hill Publishing Co., New York, U.S.A.<br />

Sublette, K. L. 1987. Aerobic oxidation of hydrogen sulfide by Thiobacillus denitrificans.<br />

Biotech. Bioeng. 29: 690-695.<br />

and M. E. Woolsey. 1989. Sulfide and glutaraldehyde resistant strains of Thiobacillus<br />

denitrificans. Biotech. Bioeng. 34: 595-569.<br />

89


Sublette, K. L. and N. D. Sylvester. 1987a. Oxidation of hydrogen sulfide by Thiobacillus<br />

denitrificans: desulfurization of natural gas. Biotech. Bioeng. 29: 249-257.<br />

. 1987b. Oxidation of hydrogen sulfide by continuous culture of Thiobacillus<br />

denitrificans. Biotech. Bioeng. 29: 753-758.<br />

. 1987c. Oxidation of hydrogen sulfide by mixed cultures of Thiobacillus denitrificans<br />

and heterotrophs. Biotech. Bioeng. 29: 759-761.<br />

Suplee, M. W. and J. B. Cotner. 1996. Temporal changes in oxygen demand and bacterial<br />

sulfate reduction in inland shrimp ponds. Aquaculture 145: 141-158.<br />

Tanji, Y., T. Kanagawa and E. Mikami. 1989. Removal of dimethyl sulfide, methyl mercaptan,<br />

and hydrogen sulfide by immobilized Thiobacillus thioparus TK- m. J. Ferment.<br />

Bioeng. 67 (4): 280-285.<br />

Thom, S. R. and R. E. Marquis. 1984. Microbial growth modification by compressed gases and<br />

hydrostatic pressure. Appl. Environ. Microbiol. 47 (4): 780-787.<br />

Todd, D. K. 1959. Ground Water Hydrology. John Wiley & Sons. Inc., New York. 336 p.<br />

Tucker, C. S. and C. E. Boyd. 1985. Water quality, pp. 135-227. In C. S. Tucker, ed.<br />

Channel Catfish Culture. Elsevier Scientific Publishing Co., Amsterdam, Netherlands.<br />

Vainshtein, M. B., G. I. Gogotova and N. J. Heinritz. 1994. Removal of H 2S by the purple sulfur<br />

bacterium Ectothiorhodospira shaposhnikovii. World. J. Microbiol. Biotech. 10: 110-<br />

111.<br />

Watanabe, K., 2001. Microorganism relevant to bioremediation. Curr. Opin. Biotechnol. 12:<br />

237-241.<br />

90


Wickins, J. F. and D. O’C. Lee. 2002. Crustacean Farming Ranching and Culture.<br />

Blackwell Science Ltd, UK. 446 p.<br />

Windholz, M. 1976. An Encyclopedia of Chemical and Drugs. Merck & Go. Inc., Rahway,<br />

New York. 1,313 p.<br />

91


ภาคผนวก<br />

92


ตารางผนวกที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติของผลผลิตในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาเฉลี่ย<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม t df P<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กิโลกรัมตอไร) 840.0±40.00 633.3±41.63 -6.200 4


ตารางผนวกที่<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติของคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาเฉลี่ย<br />

บอทดลอง บอควบคุม t df P<br />

ความโปรงแสง (เซนติเมตร) 16.8±8.00 18.1±8.57 0.750 88 >0.05<br />

อุณหภูมิน้ํา<br />

(องศาเซลเซียส) - เชา 29.5±0.28 29.6±0.23 0.962 88 >0.05<br />

94<br />

- บาย 32.0±0.69 32.0± 0.73 -0.359 88 >0.05<br />

พีเอช - เชา 7.8±0.07 7.7±0.06 -1.239 88 >0.05<br />

- บาย 8.4±0.05 8.4±0.06 0.165 88 >0.05<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) - เชา 5.1±0.18 5.0±0.14 -1.285 88 >0.05<br />

- บาย 8.6±0.62 8.2±0.74 -2.708 88 0.05<br />

การนําไฟฟา (มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร) 8.3±2.17 7.7±1.58 -1.537 88 >0.05<br />

ความเปนดางรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 194±51.00 182 ±38.00 -1.302 88 >0.05<br />

ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 1260±329.00 1142±220.00 -1.994 88 >0.05<br />

แอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.3±0.18 0.3±0.21 -0.628 88 >0.05<br />

ไนไตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.04±0.02 0.04±0.02 0.314 88 >0.05<br />

ไนเตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 9.1±1.93 8.9±2.10 -0.522 88 >0.05<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.0±0.00 0.7±0.67 -7.349 88


ตารางผนวกที่<br />

3 คุณสมบัติของน้ําตลอดการเลี้ยง<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

1 1 35 29.7 32.9 7.64 8.37 5.26 9.68 3.80 5.65 190.67 758.00 0.02 0.00 5.00 0.00<br />

2 40 29.8 32.7 7.69 8.34 4.96 8.72 5.80 10.34 202.67 1438.00 0.02 0.00 10.00 0.00<br />

3 30 29.9 33.1 7.68 8.34 5.27 9.16 6.50 11.51 196.67 1652.00 0.03 0.01 10.00 0.00<br />

4 33 29.8 32.5 7.72 8.36 4.81 9.75 3.00 5.45 166.00 772.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

5 35 29.7 33.2 7.73 8.33 4.95 9.00 4.80 9.17 168.67 1264.00 0.01 0.02 5.00 0.00<br />

6 30 29.4 32.9 7.80 8.32 5.21 7.92 5.40 9.65 196.00 1356.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

2 1 30 29.6 32.1 7.81 8.30 4.82 7.70 3.30 5.99 213.33 836.00 0.02 0.02 10.00 0.00<br />

2 35 29.8 32.9 7.81 8.43 4.86 7.89 5.90 10.51 170.67 1338.00 0.03 0.03 10.00 0.00<br />

3 25 30.1 33.5 7.80 8.41 5.35 9.26 6.80 11.85 200.00 1338.00 0.05 0.02 10.00 0.00<br />

4 30 29.6 32.1 7.76 8.34 4.98 8.67 3.30 6.11 140.00 808.00 0.02 0.03 10.00 0.00<br />

5 33 29.7 32.1 7.76 8.38 5.16 7.70 5.40 9.70 152.00 1278.00 0.01 0.03 10.00 0.00<br />

6 28 29.1 32.7 7.74 8.36 5.16 7.44 5.50 9.80 166.67 1326.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

95


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

3 1 25 29.5 32.9 7.79 8.41 4.96 9.01 3.2 6.02 204.67 844.00 0.15 0.06 10.00 0.00<br />

2 25 29.9 32.9 7.72 8.39 5.17 8.27 6.0 10.60 172.67 1544.00 0.13 0.04 5.00 0.00<br />

3 20 29.9 33.2 7.66 8.35 4.97 8.88 6.8 11.87 173.33 1826.00 0.17 0.03 10.00 0.00<br />

4 30 29.8 33.5 7.79 8.49 5.13 9.96 3.3 6.11 182.00 1464.00 0.08 0.02 10.00 0.00<br />

5 30 29.8 32.9 7.80 8.33 5.29 9.96 5.4 9.63 147.33 1364.00 0.10 0.02 10.00 0.00<br />

6 28 29.8 32.9 7.74 8.39 4.93 8.28 5.5 9.86 153.33 1480.00 0.13 0.02 10.00 0.00<br />

4 1 22 29.7 32.8 7.77 8.41 4.85 8.79 3.5 5.90 229.33 970.00 0.21 0.05 10.00 0.00<br />

2 22 29.7 31.8 7.66 8.42 4.97 7.13 6.4 10.40 181.33 1446.00 0.22 0.01 5.00 0.00<br />

3 23 29.2 31.7 7.78 8.44 5.17 8.14 5.5 10.40 194.68 1762.00 0.25 0.05 10.00 0.00<br />

4 25 29.7 32.7 7.73 8.41 5.08 7.05 3.6 5.10 208.00 910.00 0.17 0.02 10.00 0.00<br />

5 30 29.6 32.7 7.84 8.35 5.11 8.89 5.3 9.20 140.00 1218.00 0.14 0.02 10.00 0.00<br />

6 25 29.9 31.6 7.71 8.34 4.83 8.15 5.1 9.70 180.67 1430.00 0.16 0.04 5.00 0.00<br />

96


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

5 1 20 29.5 32.1 7.74 8.45 5.12 8.61 3.0 5.51 230.67 768.00 0.12 0.02 10.00 0.00<br />

2 12 29.8 32.7 7.62 8.31 5.22 8.56 5.5 9.84 127.33 1418.00 0.08 0.02 10.00 0.00<br />

3 21 30.0 32.5 7.68 8.33 5.11 8.41 6.1 10.69 182.00 1562.00 0.16 0.02 5.00 0.00<br />

4 22 29.8 32.0 7.70 8.50 5.20 9.08 3.0 5.60 200.67 808.00 0.28 0.06 10.00 0.00<br />

5 29 29.8 32.1 7.72 8.36 5.05 7.06 4.7 8.40 113.33 1192.00 0.23 0.01 5.00 0.27<br />

6 20 29.8 32.7 7.72 8.39 4.94 8.33 5.1 9.19 154.00 1280.00 0.26 0.01 10.00 0.00<br />

6 1 18 29.2 31.7 7.68 8.42 4.98 8.29 2.9 5.46 97.00 790.67 0.19 0.01 10.00 0.00<br />

2 15 29.3 31.9 7.78 8.41 5.27 9.01 5.3 9.39 94.00 1416.00 0.15 0.06 10.00 0.00<br />

3 18 29.3 31.1 7.81 8.45 5.31 9.45 5.8 9.85 113.00 1596.00 0.20 0.01 10.00 0.00<br />

4 15 29.7 31.4 7.61 8.45 4.82 7.28 3.0 5.58 95.00 804.00 0.11 0.04 5.00 0.27<br />

5 25 29.7 32.5 7.75 8.31 4.96 7.04 4.6 8.30 98.00 1308.00 0.24 0.04 10.00 0.53<br />

6 15 29.7 31.1 7.77 8.46 5.12 8.59 4.9 8.51 93.00 1320.00 0.15 0.04 10.00 0.27<br />

97


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

7 1 15 29.4 31.8 7.66 8.38 5.09 9.07 3.0 5.56 238.00 826.67 0.17 0.07 10.00 0.00<br />

2 12 30.0 33.1 7.81 8.48 5.33 9.59 5.1 9.04 162.67 1308.00 0.21 0.05 10.00 0.00<br />

3 12 30.0 33.1 7.75 8.39 5.26 9.12 5.4 9.56 229.33 1546.00 0.14 0.04 10.00 0.00<br />

4 15 29.6 31.8 7.67 8.39 5.10 7.70 3.1 5.71 231.33 841.33 0.15 0.02 10.00 0.27<br />

5 25 29.7 31.7 7.73 8.41 4.85 7.92 4.7 8.45 162.00 1248.00 0.25 0.07 10.00 0.80<br />

6 15 29.7 33.0 7.68 8.39 5.07 8.84 4.5 8.22 162.67 1248.00 0.16 0.03 10.00 0.27<br />

8 1 15 29.2 31.1 7.80 8.36 4.85 8.93 3.0 5.50 266.00 872.00 0.20 0.02 10.00 0.00<br />

2 14 29.1 31.2 7.68 8.32 4.92 8.72 4.9 8.80 148.67 1294.00 0.31 0.06 5.00 0.00<br />

3 15 29.4 31.2 7.80 8.41 4.87 7.75 5.4 9.50 302.67 1572.00 0.24 0.06 10.00 0.00<br />

4 13 29.7 30.4 7.74 8.26 5.30 7.50 3.1 5.70 244.00 937.33 0.12 0.06 10.00 0.53<br />

5 20 29.9 31.6 7.77 8.44 4.95 8.10 4.4 8.50 178.67 1236.00 0.43 0.06 5.00 0.80<br />

6 12 29.6 31.4 7.78 8.38 4.85 7.54 4.6 8.20 182.00 1242.00 0.27 0.02 10.00 0.53<br />

98


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

9 1 12 29.5 31.3 7.83 8.37 4.81 7.46 2.9 5.31 214.67 772.00 0.34 0.02 10.00 0.00<br />

2 12 29.6 32.3 7.78 8.45 5.30 8.64 4.9 8.73 130.67 1266.00 0.26 0.07 10.00 0.00<br />

3 12 29.3 31.7 7.62 8.39 5.24 9.16 5.2 9.27 211.33 1426.00 0.37 0.03 10.00 0.00<br />

4 10 29.4 31.2 7.60 8.37 4.97 8.04 2.9 5.39 225.33 854.67 0.24 0.04 10.00 0.80<br />

5 15 29.4 31.5 7.60 8.38 5.04 7.75 4.5 8.12 170.67 1184.00 0.28 0.04 10.00 0.80<br />

6 10 29.4 31.5 7.71 8.35 4.82 7.85 4.5 8.05 167.33 1230.00 0.44 0.05 5.00 0.80<br />

10 1 10 29.7 31.5 7.84 8.39 5.16 8.86 3.0 5.50 228.67 828.00 0.30 0.07 10.00 0.00<br />

2 10 29.3 31.9 7.68 8.34 5.11 8.78 5.0 8.90 110.67 1368.00 0.32 0.07 10.00 0.00<br />

3 8 29.2 31.0 7.74 8.36 5.30 9.20 2.7 5.44 233.33 1534.00 0.28 0.07 10.00 0.00<br />

4 10 29.5 30.3 7.73 8.38 5.21 8.97 3.0 5.60 207.33 908.00 0.22 0.04 10.00 1.06<br />

5 13 29.5 31.8 7.64 8.55 4.91 7.58 4.7 8.40 152.67 1256.00 0.33 0.05 10.00 1.33<br />

6 8 29.4 31.0 7.76 8.39 4.97 8.39 4.6 8.30 182.00 942.00 0.54 0.05 10.00 0.80<br />

99


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

11 1 8 29.5 32.2 7.87 8.33 5.11 8.75 3.2 5.90 234.67 882.67 0.34 0.07 10.00 0.00<br />

2 8 29.1 31.8 7.65 8.29 4.85 7.62 5.0 9.00 127.33 1326.00 0.38 0.06 5.00 0.00<br />

3 7 29.0 31.3 7.77 8.38 5.37 9.22 5.4 9.50 272.67 1482.00 0.33 0.07 10.00 0.00<br />

4 9 29.1 31.3 7.76 8.48 5.16 8.81 3.4 6.20 236.00 1000.00 0.35 0.07 10.00 1.06<br />

5 10 29.6 31.7 7.80 8.39 5.17 7.24 4.7 8.50 218.00 1170.67 0.49 0.07 5.00 1.33<br />

6 8 29.0 31.2 7.74 8.22 4.83 7.90 4.6 8.30 213.33 1232.00 0.78 0.04 10.00 1.06<br />

12 1 7 29.3 31.1 7.75 8.39 5.03 8.97 2.8 5.33 272.67 881.33 0.38 0.08 10.00 0.00<br />

2 9 29.2 31.8 7.61 8.33 4.81 7.13 5.2 9.32 142.67 1340.00 0.45 0.08 10.00 0.00<br />

3 10 29.4 32.0 7.75 8.35 4.85 7.79 2.6 4.90 228.00 1670.00 0.36 0.05 10.00 0.00<br />

4 8 29.4 31.5 7.63 8.37 5.27 8.91 2.8 5.34 230.00 868.00 0.38 0.07 10.00 1.59<br />

5 9 29.4 31.5 7.78 8.32 5.15 7.88 4.7 8.38 212.67 1156.00 0.48 0.07 10.00 1.59<br />

6 8 29.3 33.1 7.72 8.34 4.96 8.71 2.9 5.41 194.67 1208.00 0.51 0.04 10.00 1.33<br />

100


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

13 1 11 29.4 31.1 7.81 8.34 4.98 8.29 3.5 6.36 224.67 942.67 0.37 0.04 5.00 0.00<br />

2 12 29.2 31.7 7.81 8.42 4.93 8.76 5.3 9.41 142.67 1374.00 0.52 0.08 10.00 0.00<br />

3 15 29.6 31.7 7.62 8.34 4.87 7.85 5.7 10.17 258.67 1580.00 0.76 0.04 10.00 0.00<br />

4 10 29.5 31.8 7.74 8.40 5.10 8.77 3.7 6.68 214.67 1028.00 0.42 0.08 10.00 1.59<br />

5 12 29.9 32.1 7.78 8.41 5.04 7.68 4.6 8.27 202.67 1062.67 0.54 0.08 10.00 1.59<br />

6 10 29.1 31.6 7.68 8.25 4.89 7.87 5.0 8.86 224.00 1430.00 0.68 0.05 5.00 1.33<br />

14 1 15 29.6 31.8 7.79 8.33 5.17 8.56 3.5 6.45 230.67 770.00 0.43 0.05 10.00 0.00<br />

2 10 29.7 31.5 7.82 8.46 5.29 9.12 5.5 9.77 135.33 1430.00 0.50 0.07 5.00 0.00<br />

3 12 29.5 31.7 7.80 8.41 5.26 9.03 5.9 9.77 227.33 1568.00 0.81 0.04 10.00 0.00<br />

4 12 29.3 31.5 7.65 8.37 5.07 8.62 3.6 5.12 236.00 910.00 0.49 0.06 5.00 1.86<br />

5 15 29.8 31.6 7.81 8.37 5.09 7.71 4.6 8.25 197.33 1057.33 0.61 0.05 10.00 1.86<br />

6 15 29.6 32.4 7.73 8.36 4.84 8.13 5.0 8.98 194.00 1466.00 0.73 0.06 10.00 1.59<br />

101


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

15 1 20 29.7 31.5 7.74 8.27 4.92 8.45 3.4 6.24 214.67 761.00 0.55 0.04 10.00 0.00<br />

2 15 29.7 32.4 7.92 8.24 5.03 8.21 5.4 8.89 140.00 1218.00 0.41 0.09 10.00 0.00<br />

3 15 29.8 32.3 7.78 8.37 5.12 8.56 5.5 9.64 229.33 1537.00 0.38 0.07 10.00 0.00<br />

4 15 29.7 32.2 7.79 8.41 5.13 8.95 3.5 6.42 231.33 841.33 0.48 0.08 10.00 1.86<br />

5 15 29.9 32.4 7.70 8.36 5.16 7.89 4.6 8.22 187.33 910.67 0.59 0.07 10.00 1.86<br />

6 11 29.8 32.4 7.71 8.35 4.87 7.59 5.2 9.26 162.67 1532.00 0.36 0.08 5.00 1.59<br />

102


ตารางผนวกที่<br />

4 ผลการวิเคราะหทางสถิติของศักยไฟฟารีดอกซพื้นบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

ศักยไฟฟารีดอกซ (มิลลิโวลต)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

t df P<br />

บริเวณแนวหวานอาหาร -15 ถึง -67 -53±21.4 -53 ถึง -102 -81±19.2 4.712 46 P


ตารางผนวกที่<br />

5 ศักยไฟฟารีดอกซพี้นบอตลอดการเลี้ยง<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) แนวหวานอาหาร กลางบอ แนวหวานอาหาร กลางบอ<br />

บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 บอ 5 บอ 6 บอ 4 บอ 5 บอ 6<br />

2 -12 -24 -9 -34 -22 -31 -49 -37 -73 -95 -87 -94<br />

4 -24 -41 -13 -54 -37 -44 -79 -65 -66 -109 -97 -112<br />

6 -48 -35 -43 -48 -75 -69 -105 -88 -80 -121 -108 -94<br />

8 -58 -34 -70 -73 -95 -66 -72 -94 -86 -126 -114 -99<br />

10 -65 -52 -66 -65 -96 -97 -90 -77 -121 -123 -106 -119<br />

12 -51 -40 -65 -94 -81 -104 -94 -81 -71 -131 -116 -125<br />

14 -72 -64 -65 -92 -119 -83 -115 -82 -109 -178 -138 -122<br />

104

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!