30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หลากหลายมากขึ้นตามไปดวย<br />

จากอดีตจนถึงปจจุบันมีนักวิจัยได<br />

ทําการศึกษาหลายทาน เชน ในงานวิจัยของตางประเทศ Thangiah [1] ได<br />

นําเสนอวิธีการผสมผสานระหวางการอบออน (Simulated Annealing:<br />

SA), วิธีการเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm: GA) และ การคนหาแบบ<br />

ทาบู (Tabu Search: TS) เพื่อใชในการแกปญหา<br />

VRP ที่มีลูกคาตั้งแต<br />

100-417 ราย ซึ่งนับเปนงานวิจัยที่เปนตนแบบในการพัฒนาขั้นตอนวิธี<br />

แบบผสมผสาน Beatrice et al. [2] ไดเสนองานวิจัยเกี่ยวกับปญหา<br />

VRP<br />

แบบมีหลายวัตถุประสงค (Multi-Objective Problem) โดยการหาจํานวน<br />

รถขนสงนอยที่สุดและผลรวมตนทุนในการเดินทางขนสง<br />

หรือระยะทาง<br />

สั้นที่สุด<br />

โดยใชวิธีการเชิงพันธุกรรม (Genetic Algorithm: GA) และ<br />

เทคนิคการเรียงลําดับแบบพาเรโต (Pareto Ranking) ซึ่งสามารถใช<br />

แกปญหาดังกลาวไดคอยขางมีประสิทธิภาพ สวนงานวิจัยในประเทศ<br />

ไดแก นิรันดร และ สมบัติ [3] นําเสนอวิธีฮิวริสติกสําหรับปญหาการจัด<br />

เสนทางยานพาหนะ โดยประยุกตใชวิธีฮิวริสติก Greedy Randomized<br />

Adaptive Search Procedure (GR<strong>AS</strong>P) สําหรับการคนหาคําตอบ โดยมี<br />

วัตถุประสงคเพื่อใหระยะทางรวมต่ําสุด<br />

ภายใตเงื่อนไขความตองการ<br />

สินคาของลูกคาแตละรายไมแนนอน ความจุของยานพาหนะมีจํานวน<br />

จํากัดพบวาวิธีฮิวริสติกที่นําเสนอใหผลลัพธอยูในระดับที่ดี<br />

ฐิตินนท และ<br />

คณะ [4] ประยุกตใชวิธีฮิวริสติก Clarke-Wright Saving Heuristic และ<br />

Nearest Neighbor Heuristic สําหรับการคนหาคําตอบ ภายใตเงื่อนไข<br />

ความตองการสินคาของลูกคาแตละรายไมแนนอน ความจุของ<br />

ยานพาหนะมีจํานวนจํากัด กระบวนการทํางานของฮิวริสติก แบงเปน 2<br />

ระยะคือ ระยะแรก เปนการสรางคําตอบเริ่มตน<br />

(Initial Solution Phase)<br />

เพื่อพิจารณาพื้นที่ของคําตอบที่เปนไปไดที่ไมขัดแยงกับเงื่อนไข<br />

โดยวิธี<br />

Clarke-Wright Saving Heuristic และ Nearest Neighbor Heuristic และ<br />

ระยะที่สองเปนการปรับปรุงคําตอบ<br />

โดยใชโปรแกรม Lingo V.11 ผล<br />

การทดสอบโดยเปรียบเทียบกับการจัดเสนทางของผูประกอบการพบวา<br />

วิธีฮิวริสติกที่นําเสนอใหผลลัพธอยูในระดับที่ดี<br />

ไชยา และ ระพีพันธ [5]<br />

ใชวิธีฮิวริสติก Nearest Neighborhood และ Cluster first – route second<br />

รวมกับ Sweep Approach ในการแกปญหา VRP พบวา มีระยะทางใน<br />

การขนสงดีกวาระยะทางที่เกิดจากเสนทางเดิมที่โรงงานกรณีศึกษาใชอยู<br />

วิธี ACO ไดถูกนํามาเผยแพรครั้งแรกโดย<br />

Dorigo et al. [6] ซึ่ง<br />

เปนวิธีเมตาฮิวริสติกสที่ประยุกตใชในการแกปญหาการเดินทาง<br />

ของ<br />

บุรุษไปรษณีย (Traveling Salesman Problem: TSP) ขั้นตอนวิธีการนี้เปน<br />

การสังเกตพฤติกรรมของฝูงมดในการคนหาอาหาร โดยมดจะมีการ<br />

ติดตอสื่อสารสงผานขอมูลเกี่ยวกับแหลงอาหารดวยฟโรโมน<br />

(Pheromone) ซึ่งจะมีจํานวนมากหรือนอยขึ้นอยูกับระยะทางและคุณภาพ<br />

ของแหลงอาหารที่คนพบ<br />

โดยมดตัวอื่นๆ<br />

จะตามรอยฟโรโมนมายังแหลง<br />

อาหารในที่สุด<br />

จากพฤติกรรมของมดดังกวาถูกนํามาสรางเปนขั้นตอน<br />

วิธีการในการแกปญหาการหาเชิงจัดการเพื่อหาคาเหมาะที่สุด<br />

ในการ<br />

จําลองพฤติกรรมนี้มดเทียมจะถูกสรางขึ้นใหคลายคลึงกับสภาวะ<br />

แวดลอมในการคนหา พื้นที่ของผลเฉลย<br />

วัตถุประสงคคือ คนหาใหเจอ<br />

66<br />

แหลงอาหารที่มีคุณภาพ<br />

และตัดแปลงความจําไวที่ฟโรโมน<br />

โดยใน<br />

ประเทศมีงานวิจัยที่นําหลักการดังกลาวมาประยุกตใชในการแกปญหา<br />

สุพรรณ และคณะ [7] นําเสนอวิธี ACO และขั้นตอนการปรับปรุง<br />

คุณภาพคําตอบดวยการสลับเปลี่ยนตําแหนง<br />

(Swap) การยาย (Move) 2opt<br />

และ 3-opt อัลกอริทึม ในการแกปญหาสถานที่ตั้งศูนยกระจายสินคา<br />

แบบหลายแหงและการจัดเสนทางการขนสง (Multi Depot Vehicle<br />

Routing Problem: MDVRP) ซึ่งปญหานี้เปนปญหาแบบเอ็นพีฮารด<br />

(NP-<br />

Hard) ประสิทธิภาพของคําตอบที่ไดอยูในเกณฑดีและใชเวลาในการ<br />

คนหาคําตอบอยางเหมาะสม<br />

3. การดําเนินการวิจัย<br />

วิธีการดําเนินการวิจัยมีขั้นตอนในการดําเนินงานดังนี้<br />

1. ศึกษารูปแบบปญหา<br />

2. ออกแบบวิธีการแกปญหาการจัดเสนทางยานพาหนะ โดย<br />

ประยุกตใชวิธีอาณานิคมมดและการปรับปรุงคุณภาพคําตอบดวยวิธีการ<br />

ยายหนึ่งตําแหนง<br />

(One Move: OM) และการสลับเปลี่ยนตําแหนง<br />

(Exchange: Ex)<br />

3. การวิเคราะหผลการวิจัย<br />

4. สรุปผลการวิจัย<br />

3.1 รูปแบบปญหา<br />

กรณีศึกษาบริษัทเจียรนัยน้ําดื่ม<br />

จํากัด มีจํานวนลูกคา 201 ราย,<br />

รถบรรทุกสําหรับขนสงน้ําจํานวน<br />

1 คัน, รถที่ใชบรรทุกน้ําดื่มสามารถ<br />

บรรจุถังน้ําได<br />

50 ถัง/คัน และถนนที่ใชในการขนสงน้ําดื่มแบงเปน<br />

2<br />

ชองทางจราจร ดังนั้นระยะทางไป<br />

– กลับ ระยะทางจะไมเทากันแสดงดัง<br />

รูปที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 ระยะทางไป – กลับ ไมเทากัน<br />

ปจจุบันเจาของกิจการจัดเสนทางการขนสงดวยประสบการณ<br />

ของตนเอง โดยสงสินคาใหกับลูกคาเปนแบบสัปดาห ดังนั้นทุกสัปดาห<br />

จะสงสินคาแบบเดียวกัน และลูกคาบางรายจะมีวันสงสินคาที่แตกตางกัน<br />

เพื่อใหงายตอการคํานวณงานวิจัยนี้จะไมคิดคาใชจายที่เกิด<br />

จากการสงสินคาไมพอหรือเกินความตองการสินคา การหาคาความ<br />

ตองการสินคาของลูกคาแตละราย จะหาจากหลักทางสถิติคือฐานนิยม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!