ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

เปน 14/83 ประมาณ 0.17 ในวิธีการแบบเดียวกัน หากคํานวณสัดสวน น้ําหนักความสัมพันธเครื่องจักรที่ 1 กับเครื่องจักรที่ 3,4,5,6 และ 7 จะได เปน 0.16,0.17,0.25,0.19 และ 0.23 ตามลําดับ (สังเกตไดวาเครื่องจักรที่ 1 ไมมีความสัมพันธกับเครื่องจักรที่ 2 เลย) ซึ่งจะมีผลรวมความสัมพันธ เทากับ 1 เสมอ รูปที่ 7 เปนตัวอยางแสดงความสัมพันธระหวางเครื่องจักร ของเครื่องจักรที่ 1 จากความสัมพันธในไปใชในการพัฒนารหัสคําตอบ ดังรูปที่ 8.1 โดยเริ่มจากเลือกสุมเครื่องจักร จากตัวอยางไดเครื่องจักรที่ 1 จากการเลือกสุมขึ้นมาและใชความสัมพันธระหวางเครื่องจักรของ เครื่องจักรที่ 1 ในรูปที่ 7 สุมเลือกตามน้ําหนักความสัมพันธ วาได เครื่องจักรที่ 5 จากนั้นเปลี่ยนเซลลการผลิตใหเหมือนเครื่องจักรที่ 1 c) กําหนดตําแหนงใหกับเซลลการผลิต การสรางคําตอบใหม ทําไดโดยสุมตําแหนงขึ้นมาสองตําแหนงแลวสลับตําแหนงหมายเลข เซลลที่อยูในตําแหนงทั้งสอง โดยความนาจะเปนในการสุมของตําแหนง ทุกตําแหนงเทากัน ดังตัวอยางที่แสดงในรูปที่ 8.1 ขั้นตอนที่ 3: หาคําตอบที่ดีที่สุดในคําตอบจากยานใกลเคียง Snew แลวนํา Snew ไปเปรียบเทียบกับคําตอบที่พิจารณาอยูในปจจุบัน Sc หาก Snew ใหคําตอบดีกวา Sc ก็จะกําหนดให Sc มีคาใหมเปน Snew เพื่อ ใชในการคํานวณในรอบถัดไป และหาก Snew ใหคําตอบที่ดีกวา Sc แลว Snew ก็จะถูกนําไปเปรียบเทียบกับ Sbest หาก Snew ใหคําตอบที่ดีกวา Sbest จะกําหนดให Sbest มีคาเปน Snew ขั้นตอนที่ 4: ทําการตรวจสอบวา Count > R หรือไม หาก มากกวาก็หยุดการทํางานไดเลย หากวาไมมากกวา ก็จะมีการดําเนินการ หาคําตอบตอไป โดยมีการตรวจสอบวา จํานวนรอบที่คา Sc ไม เปลี่ยนแปลงมากกวาคาพารามิเตอรที่กําหนดไวหรือไม ถามากกวา ใหทํา การสุมคําตอบที่นํามาพิจารณา Sc ใหม จะเห็นไดวาขั้นตอนวิธีนี้จะทํา การหาคําตอบจนกระทั่งจํานวนคําตอบที่พิจารณาในยานใกลเคียง มากกวาหรือเทากับคาพารามิเตอรที่ไดมีการตั้งคาเอาไว 40 รูปที่ 6 ตัวอยางโจทยและการคํานวณความสัมพันธ รูปที่ 7 ความสัมพันธระหวางเครื่องจักรของเครื่องจักรที่ 1 8.1 สวนการสรางเซลล 8.2 สวนกําหนดตําแหนงและแผน รูปทึ่8 การปรับปรุงคําตอบของ ILS 4.2 ขั้นตอนวิธีพันธุกรรม (GAs) การพัฒนาคําตอบ ในงานวิจัยนี้ไดทําการทดลองสราง GA ขึ้นมา 3 รูปแบบซึ่งแตละรูปแบบใชวิธีการพัฒนาคําตอบที่แตกตางกัน ชนิดที่ 1 เปนGA อยางงาย ชนิดที่ 2 และ 3 เปน GA ที่ใชความสัมพันธ ของเครื่องจักรมาใชในการแกปญหา โดย GA ทั้งสามรูปแบบมีขั้นตอน

วิธีหลักที่คลายกันแตตางกันที่รูปแบบของการสลับสายพันธุ และ การ กลายพันธุ รูปที่ 9 เปนแผนผังแสดงการทํางานวิธีการหลักของ GA ทั้ง สาม กําหนดตัวแปร Cp, Mp, pop, Max_gen สรางโครโมโซมตนแบบ Pop โครโมโซมจากการสุม Random กระบวนการขามสายพันธุ กระบวนการกลายพันธุ นับจํานวนโครโมโซมลูกพรอมหาคําตอบ Sc ( Chomo = Chomo + 1 ) Chomo = pop ? ใช เลือกโครโมโซมที่ใหคําตอบที่ดีที่สุด pop โครโมโซม ใหเปนโครโมโซมตนแบบ ( Chomo = 0 ; gen = gen + 1 ) gen = Max_gen ? ใช หยุด รูปที่ 9 การแกปญหาอัลกอริทึ่มในเชิงพันธุกรรม ขั้นตอนที่ 1: กําหนดคาพารามิเตอรความนาจะเปนในการ สลับสายพันธุ (Crossover Probability: Cp) ความนาจะเปนการกลายพันธุ (Mutation Probability: Mp) จํานวนประชากร (Population: pop) จํานวน รุนของประชากร (Generation: gen) ขั้นตอนที่ 2: การพัฒนาคําตอบ (Genetic Operators) ใน งานวิจัยไดออกแบบวิธีการแกปญหาของ GA ออกเปน 3 วิธีซึ่งมีวิธีการ พัฒนาคําตอบตอไปนี้ 1. การแกปญหาของ GA แบบที่ 1 การสลับสายพันธุ จากโครโมโซมประกอบดวยสวนของการ จัดกลุมผลิตภัณฑ การจัดตําแหนงเซลลการผลิต และการกําหนดแผนการ ผลิตของผลิตภัณฑ ใชวิธีการสลับสายพันธุเหมือนกันโดยการสุมจุดตัด โครโมโซมพอและโครโมโซมแม (One point Crossover) จากการแบง โครโมโซมพอในสวนแรกและสวนที่สองของโครโมโซมแม ถายทอด ออกมาไดโครโมโซมลูก แสดงดังรูปที่10.1 ไม ไม 41 การกลายพันธุ ใชวิธีการสุมยีนขึ้นมา 2 ยีนในแตละสวน จากนั้นสุมเปลี่ยนคาอัลลีลของยีนที่สุมขึ้นมาแสดงดังรูปที่ 10.2 ซึ่งสวน ของการจัดกลุมผลิตภัณฑ การจัดตําแหนงเซลลการผลิต และการกําหนด แผนการผลิตของผลิตภัณฑ ใชวิธีการกลายพันธุเหมือนกัน ่ ่ 10.1 การสลับสายพันธุ 10.2 การกลายพันธุ รูปที 10 การพัฒนาคําตอบของ GA แบบที 1 2. การแกปญหาของ GA แบบที่ 2 การสลับสายพันธุ เริ่มจากเลือกโครโมโซมที่ใหคําตอบดีที่สุด เปนโครโมโซมพอและสุมเลือกโครโมโซมแม ในสวนการจัดกลุมผลิต จะทําการเลือกยีนที่มีอัลลีลที่เหมือนกันของโครโมโซมพอและแมเพื่อ ถายทอดใหโครโมโซมลูก ยีนที่เหลือของโครโมโซมลูกจะถูกสุมคาอัลลี ลขึ้นมาดวยความนาจะเปนอยางเทากัน แสดงดังรูปที่11.1 ในสวนของ การกําหนดตําแหนงเซลลผลิตใชการเทียบอัลลีลของโครโมโซมพอ และ แม ถาอัลลีลเหมือนกันจะถูกถายทอดใหโครโมโซมลูก หากเทียบ อัลลีลของโครโมโซมพอ และแมตางกันโครโมโซมลูกจะถูกสุมคาอัลลี ลขึ้นแสดงดังรูปที่11.2 ในสวนการกําหนดแผนการผลิตของผลิตภัณฑ จะคัดเลือกโครโมโซมที่ใหจํานวนครั้งความสัมพันธของเครื่องจักรต่ํา ที่สุด ถายทอดใหโครโมโซมลูก การคํานวณจํานวนความสัมพันธ หาได จากการสรางตารางความสัมพันธและนับจํานวนครั้งที่เครื่องจักรแตละ เครื่องตองเคลื่อนที่ระหวางกัน 11.1 สวนของการจัดกลุมผลิต 11.2 สวนการกําหนดตําแหนง รูปที่ 11 การสลับสายพันธุบของ GA แบบที่ 2 การกลายพันธ สุมเลือกยีน 2 หนวยพันธุกรรมจากโครโมโซม ตนแบบ จากนั้นเปลี่ยนคาอัลลีลที่ 2 ใหเหมือนอัลลีลที่ 1 และถายทอดให โครโมโซมลูก พัฒนาดวยวิธีการดังกลาว 2 ครั้ง รูปที่ 12 ยีนที่ 2 ถูกสุม

วิธีหลักที่คลายกันแตตางกันที่รูปแบบของการสลับสายพันธุ<br />

และ การ<br />

กลายพันธุ<br />

รูปที่<br />

9 เปนแผนผังแสดงการทํางานวิธีการหลักของ GA ทั้ง<br />

สาม<br />

กําหนดตัวแปร Cp, Mp, pop, Max_gen<br />

สรางโครโมโซมตนแบบ Pop โครโมโซมจากการสุม<br />

Random<br />

กระบวนการขามสายพันธุ<br />

กระบวนการกลายพันธุ<br />

นับจํานวนโครโมโซมลูกพรอมหาคําตอบ Sc<br />

( Chomo = Chomo + 1 )<br />

Chomo = pop ?<br />

ใช<br />

เลือกโครโมโซมที่ใหคําตอบที่ดีที่สุด<br />

pop โครโมโซม ใหเปนโครโมโซมตนแบบ<br />

( Chomo = 0 ; gen = gen + 1 )<br />

gen = Max_gen ?<br />

ใช<br />

หยุด<br />

รูปที่<br />

9 การแกปญหาอัลกอริทึ่มในเชิงพันธุกรรม<br />

ขั้นตอนที่<br />

1: กําหนดคาพารามิเตอรความนาจะเปนในการ<br />

สลับสายพันธุ<br />

(Crossover Probability: Cp) ความนาจะเปนการกลายพันธุ<br />

(Mutation Probability: Mp) จํานวนประชากร (Population: pop) จํานวน<br />

รุนของประชากร<br />

(Generation: gen)<br />

ขั้นตอนที่<br />

2: การพัฒนาคําตอบ (Genetic Operators) ใน<br />

งานวิจัยไดออกแบบวิธีการแกปญหาของ GA ออกเปน 3 วิธีซึ่งมีวิธีการ<br />

พัฒนาคําตอบตอไปนี้<br />

1. การแกปญหาของ GA แบบที่<br />

1<br />

การสลับสายพันธุ<br />

จากโครโมโซมประกอบดวยสวนของการ<br />

จัดกลุมผลิตภัณฑ<br />

การจัดตําแหนงเซลลการผลิต และการกําหนดแผนการ<br />

ผลิตของผลิตภัณฑ ใชวิธีการสลับสายพันธุเหมือนกันโดยการสุมจุดตัด<br />

โครโมโซมพอและโครโมโซมแม (One point Crossover) จากการแบง<br />

โครโมโซมพอในสวนแรกและสวนที่สองของโครโมโซมแม<br />

ถายทอด<br />

ออกมาไดโครโมโซมลูก แสดงดังรูปที่10.1<br />

ไม<br />

ไม<br />

41<br />

การกลายพันธุ<br />

ใชวิธีการสุมยีนขึ้นมา<br />

2 ยีนในแตละสวน<br />

จากนั้นสุมเปลี่ยนคาอัลลีลของยีนที่สุมขึ้นมาแสดงดังรูปที่<br />

10.2 ซึ่งสวน<br />

ของการจัดกลุมผลิตภัณฑ<br />

การจัดตําแหนงเซลลการผลิต และการกําหนด<br />

แผนการผลิตของผลิตภัณฑ ใชวิธีการกลายพันธุเหมือนกัน<br />

<br />

่ ่<br />

10.1 การสลับสายพันธุ<br />

10.2 การกลายพันธุ<br />

รูปที 10 การพัฒนาคําตอบของ GA แบบที 1<br />

2. การแกปญหาของ GA แบบที่<br />

2<br />

การสลับสายพันธุ<br />

เริ่มจากเลือกโครโมโซมที่ใหคําตอบดีที่สุด<br />

เปนโครโมโซมพอและสุมเลือกโครโมโซมแม<br />

ในสวนการจัดกลุมผลิต<br />

จะทําการเลือกยีนที่มีอัลลีลที่เหมือนกันของโครโมโซมพอและแมเพื่อ<br />

ถายทอดใหโครโมโซมลูก ยีนที่เหลือของโครโมโซมลูกจะถูกสุมคาอัลลี<br />

ลขึ้นมาดวยความนาจะเปนอยางเทากัน<br />

แสดงดังรูปที่11.1<br />

ในสวนของ<br />

การกําหนดตําแหนงเซลลผลิตใชการเทียบอัลลีลของโครโมโซมพอ และ<br />

แม ถาอัลลีลเหมือนกันจะถูกถายทอดใหโครโมโซมลูก หากเทียบ<br />

อัลลีลของโครโมโซมพอ และแมตางกันโครโมโซมลูกจะถูกสุมคาอัลลี<br />

ลขึ้นแสดงดังรูปที่11.2<br />

ในสวนการกําหนดแผนการผลิตของผลิตภัณฑ<br />

จะคัดเลือกโครโมโซมที่ใหจํานวนครั้งความสัมพันธของเครื่องจักรต่ํา<br />

ที่สุด<br />

ถายทอดใหโครโมโซมลูก การคํานวณจํานวนความสัมพันธ หาได<br />

จากการสรางตารางความสัมพันธและนับจํานวนครั้งที่เครื่องจักรแตละ<br />

เครื่องตองเคลื่อนที่ระหวางกัน<br />

11.1 สวนของการจัดกลุมผลิต<br />

11.2 สวนการกําหนดตําแหนง<br />

รูปที่<br />

11 การสลับสายพันธุบของ<br />

GA แบบที่<br />

2<br />

การกลายพันธ สุมเลือกยีน<br />

2 หนวยพันธุกรรมจากโครโมโซม<br />

ตนแบบ จากนั้นเปลี่ยนคาอัลลีลที่<br />

2 ใหเหมือนอัลลีลที่<br />

1 และถายทอดให<br />

โครโมโซมลูก พัฒนาดวยวิธีการดังกลาว 2 ครั้ง<br />

รูปที่<br />

12 ยีนที่<br />

2 ถูกสุม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!