30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

34<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การจัดเซลลการผลิตในระบบการผลิตแบบเซลลูลารโดยใชขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม<br />

Solving a Cell Formation Problem with Genetic Algorithms<br />

รัฐพงศ แมนยํา 1 ขวัญนิธิ คําเมือง2 และภาณุ บูรณจารุกร 3<br />

1, 2, 3<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร<br />

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000<br />

โทรศัพท: 055-964-256 โทรสาร: 055-964-003 E-mail: 1 r_manyam@yahoo.com<br />

บทคัดยอ<br />

การผลิตแบบเซลลูลาร (Cellular Manufacturing: CM) เปน<br />

แนวคิดของระบบการผลิดที่มีความยืดหยุน<br />

โดยจะมีการจัดวางเครื่องจักร<br />

ใหอยูเปนกลุมเดียวกัน<br />

และกลุมผลิตภัณฑจะถูกจัดใหผลิตในกลุมผลิตที่<br />

เหมาะสม แตระบบการผลิตแบบเซลลูลารที่จะเพิ่มประสิทธิภาพให<br />

กระบวนการผลิตตามที่ตองการไดนั้น<br />

จะตองมีการจัดกลุมเครื่องจักรลง<br />

ในกลุมผลิต<br />

และจัดกลุมผลิตภัณฑที่มีลักษณะสอดคลองกันลงในกลุม<br />

ผลิต ซึ่งการจัดสรรทรัพยากรลงในแตละกลุมผลิตเรียกวา<br />

การจัดเซลล<br />

การผลิต (Cell Formation: CF) ซึ่งเปนที่รูกันดีในกลุมนักวิจัยวาปญหา<br />

การสรางเซลลสวนมากเปนปญหา NP-hard ในงานวิจัยนี้ไดพิจารณา<br />

ปญหาการสรางเซลลเพื่อทําใหการเคลื่อนที่ระหวางกลุมผลิตภายในผัง<br />

โรงงานต่ําที่สุด<br />

โดยไดคํานึงถึงเงื่อนไขของผลิตภัณฑที่มีลําดับการผลิตที่<br />

แตกตางไปตามเสนทางการผลิต ซึ่งแตละผลิตภัณฑนั้นสามารถเลือก<br />

เสนทางการผลิตได นอกจากนั้นยังไดกําหนดกลุมผลิตลงในตําแหนงใน<br />

ผังโรงงานเพื่อหาตําแหนงที่เหมาะสม<br />

โดยนําการหาคําตอบในบริเวณ<br />

ใกลเคียงแบบทําซ้ํา<br />

(Iterated Local Search: ILS) และขั้นตอนวิธี<br />

พันธุกรรม (Genetic algorithm: GA) มาหาคําตอบ และทําการทดลองเพื่อ<br />

เปรียบเทียบความสามารถในการหาคําตอบ รวมทั้งระยะเวลาในการหา<br />

คําตอบในแตละขนาดของปญหา โดยผลการทดลองแสดงใหเห็นวา วิธี<br />

GA ที่พัฒนาขึ้นมาใหมใหคําตอบที่ดีกวาวิธีอื่น<br />

คําสําคัญ: การผลิตแบบเซลลูลาร การหาคําตอบในบริเวณใกลเคียงแบบ<br />

ทําซ้ํา<br />

อัลกอริทึมเชิงพันธุกรรม<br />

Abstract<br />

Cellular Manufacturing (CM) is a concept of modern<br />

manufacturing systems that improve productivity and flexibility on a<br />

shop floor. One of the foremost and important steps in implementing<br />

CM is part families and machine cell grouping known as Cell<br />

Formation (CF) problem. In this paper we present a model that<br />

attempts to minimize inter-cell travel distance and considers sequence<br />

dependent and alternative routing of part process plan. The problem<br />

also assumes that locations for cells on the shop floor are known but<br />

cells need to be allocated to these locations. We propose an iterated<br />

local search and genetic algorithms (GAs) for the problem. Experiments<br />

comparing performances of the algorithms were conducted. The results<br />

show that a new GA outperformed other methods.<br />

Keywords: Cellular Manufacturing, Iterative Local Search, Genetic<br />

Algorithm<br />

1. คํานํา<br />

การผลิตแบบเซลลูลาร เปนวิธีการบริหารจัดการที่ทําใหการ<br />

ดําเนินงานมีประสิทธิภาพและใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด<br />

[1] ระบบผลิตแบบเซลลูลารเปนการนําเอาขอดีของระบบการผลิตแบบ<br />

Flow shop และ Job Shop มารวมเขาดวยกัน ซึ่งระบบนี้จะสามารถผลิต<br />

ผลิตภัณฑที่มีความหลากหลายไดในระดับปานกลางในปริมาณการผลิตที่<br />

ไมมากหรือนอยจนเกินไปและขอดีของการผลิตแบบเซลลูลารนั้นคือ<br />

สามารถลดเวลานํา (Lead Time) โดยจะมีการลดจํานวนครั้งในการติดตั้ง<br />

เครื่องจักรเมื่อมีการเปลี่ยนชิ้นงานที่ตองผลิต<br />

ในการนําการผลิตแบบ<br />

เซลลูลารไปใชนั้น<br />

ปญหาแรกที่เปนปญหาที่สําคัญ<br />

คือ ปญหาการจัด<br />

เซลลการผลิต โดยปญหานี้จะเปนการกําหนดวาเครื่องจักรเครื่องใดควร<br />

จัดไวอยูในเซลลการผลิตใด<br />

และผลิตภัณฑใดจะถูกจัดอยูในกลุม<br />

ผลิตภัณฑที่ทํางานกับเซลลการผลิตนั้น<br />

ปญหาการจัดเซลลการผลิตนั้น<br />

จัดเปนปญหา NP-hard [2] ดังนั้นจึงไมสามารถหาคําตอบของปญหาได<br />

ในเวลาที่เหมาะสม<br />

สําหรับปญหาขนาดใหญหากใชวิธีการหาคา<br />

เหมาะสมที่สุด<br />

(Exact Optimization Method) ปญหาการจัดเซลลการผลิต

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!