30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

กวาคาการยอมรับที่กําหนดไวไมใหเกิน<br />

10 % หมายความวาระบบการวัด<br />

มีความผันแปรอยูในระดับที่ยอมรับได<br />

และจากคา Number of Distinct<br />

Categories (NDC) ซึ่งเปนคาการยอมรับที่กําหนดไวคือตองมากกวา<br />

5<br />

โดยคาที่ไดมีคาเทากับ<br />

57 แสดงวาระบบการวัดสามารถแยกประเภทของ<br />

ขอมูลที่มีความแตกตางกันได<br />

57 ประเภทอยางถูกตองและแมนยํา<br />

ตารางที่<br />

3 ผลการวิเคราะห Gauge R&R ของเครื่อง<br />

LED<br />

Source<br />

StdDev<br />

(SD)<br />

Study Var<br />

(6*SD)<br />

%Study Var<br />

(%SV)<br />

%Tolerance<br />

(SV/Toler)<br />

Total Gauge R&R 0.0000417 0.0002505 2.46 4.17<br />

Repeatability 0.0000417 0.0002505 2.46 4.17<br />

Reproducibility 0.0000000 0.0000000 0.00 0.00<br />

Opt. 0.0000000 0.0000000 0.00 0.00<br />

Part-To-Part 0.0016965 0.0101789 99.97 169.65<br />

Total Variation 0.0016970 0.0101820 100.00 169.70<br />

Number of Distinct Categories (NDC) = 57<br />

4.2 การทดลองสําหรับพิสูจนความเปนนัยสําคัญของปจจัย<br />

ปอนเขา<br />

การทดลองสําหรับพิสูจนความเปนนัยสําคัญของปจจัย<br />

ปอนเขาของกระบวนการนั้น<br />

จะใชการทดสอบการแจกแจงแบบปกติ<br />

(Normality Test) กอน เพื่อดูการแจกแจงแบบปกติของขอมูลแลวทําการ<br />

ทดสอบแบบเอฟ (F-Test) เพื่อดูความแปรปรวนของชุดขอมูลแลวจึงใช<br />

การทดสอบแบบที (T-Test) ตอ เพื่อทดสอบวาปจจัยที่เลือกนั้นเปนปจจัย<br />

หลัก (Critical KPIV) ที่สงผลตอขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอก<br />

ชิ้นงานที่เล็กกวาชวงควบคุมอยางมีนัยสําคัญหรือไม<br />

4.2.1 ผลการทดลองสําหรับปจจัยที่<br />

1 ชนิดของหิน<br />

จากผลการทดสอบการแจกแจงแบบปกติพบวาคา P-Value<br />

ของหินปจจุบันและหินทดสอบมีคาเทากับ 0.246 และ 0.196 ตามลําดับ<br />

ซึ่งมีคามากกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05 แสดงวาขอมูลที่นํามาทําการ<br />

วิเคราะหมีการแจกแจงแบบปกติ และผลการทดสอบแบบเอฟพบวา คา<br />

P–Value มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ 0.05 และชวงความแปรปรวนของ<br />

ขอมูลระหวางหินปจจุบันและหินทดสอบมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญ ดังนั้นจึงไมนําปจจัยชนิดของหินไปทําการทดสอบแบบที<br />

และ<br />

จะไมนําหินทดสอบไปทําการออกแบบการทดลอง<br />

30<br />

4.2.2 ผลการทดลองสําหรับปจจัยที่<br />

2 การปรับเวลาแบบหยาบ<br />

สเกลสิบ (Macro time)<br />

จากผลการทดสอบการแจกแจงแบบปกติพบวาคา P-Value<br />

ของการปรับเวลาแบบหยาบสเกลสิบที่<br />

10 มีคาเทากับ 0.384 และที่<br />

20 มี<br />

คาเทากับ 0.171 ซึ่งมีคามากกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05 ดังนั้นแสดงวาขอมูล<br />

ที่นํามาทําการวิเคราะหมีการแจกแจงแบบปกติ<br />

ผลการทดสอบแบบเอฟ<br />

พบวา คา P–Value มีคาเทากับ 0.871 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05<br />

และชวงความแปรปรวนของขอมูลมีความแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญ<br />

ดังนั้นจึงจะนําปจจัยการปรับเวลาแบบหยาบสเกลสิบไปทําการวิเคราะห<br />

การทดสอบแบบทีตอไป ผลการทดสอบแบบทีพบวาคา P -Value ของ<br />

ผลตางของคาเฉลี่ยมีคาเทากับ<br />

0.000 ซึ่งนอยกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05<br />

และคาเฉลี่ยของขอมูลมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ<br />

ดังนั้นสามารถ<br />

สรุปไดวาปจจัยการปรับเวลาแบบหยาบสเกลสิบเปนปจจัยหลักที่สงผล<br />

ตอขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอกชิ้นงานที่เล็กกวาชวงควบคุมอยางมี<br />

นัยสําคัญ<br />

4.2.3 ผลการทดลองสําหรับปจจัยที่<br />

3 การปรับเวลาแบบ<br />

ละเอียดสเกลหนวย (Micro time)<br />

จากผลการทดสอบการแจกแจงแบบปกติพบวาคา P-Value<br />

ของการปรับเวลาแบบละเอียดสเกลหนวยที่<br />

0 มีคาเทากับ 0.480 และที่<br />

5<br />

มีคาเทากับ 0.171 ซึ่งมีคามากกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05 ดังนั้นแสดงวา<br />

ขอมูลที่นํามาทําการวิเคราะหมีการแจกแจงแบบปกติ<br />

ผลการทดสอบ<br />

แบบเอฟพบวา คา P–Value มีคาเทากับ 0.464 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญ<br />

0.05 และชวงความแปรปรวนของขอมูลมีความแตกตางกันอยางไมมี<br />

นัยสําคัญ ดังนั้นจึงจะนําปจจัยการปรับเวลาแบบละเอียดสเกลหนวยไป<br />

ทําการทดสอบแบบทีตอไป และจากผลการทดสอบแบบทีพบวาคา P -<br />

Value ของผลตางของคาเฉลี่ยมีคาเทากับ<br />

0.000 ซึ่งนอยกวาระดับ<br />

นัยสําคัญ 0.05 และคาเฉลี่ยของขอมูลมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ<br />

ดังนั้นสามารถสรุปไดวาปจจัยการปรับเวลาแบบละเอียดสเกลหนวยเปน<br />

ปจจัยหลักที่สงผลตอขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอกชิ้นงานที่เล็กกวา<br />

ชวงควบคุมอยางมีนัยสําคัญ<br />

4.3 การเลือกปจจัย ระดับปจจัยที่ใชในการทดลองและการ<br />

ออกแบบการทดลอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!