30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

0.35 มิลลิเมตร หลังจากที่ไดจุดที่เหมาะสมสําหรับการควบคุม<br />

กระบวนการจึงนําผลดังกลาวไปใชในการผลิตจริงปรากฏวา ปริมาณของ<br />

เสียดังกลาวไดลดลงอยางมีนัยสําคัญ คือกอนทําการปรับปรุงมีปริมาณ<br />

ของเสียอยูที่ระดับ<br />

1.74% และภายหลังจากการปรับปรุงมีปริมาณของเสีย<br />

เหลือเพียง 1.01% ทําใหสามารถประหยัดคาใชจายไดเปนจํานวนเงิน<br />

1,300,000 บาท/เดือน<br />

ทรงพล พิเชษฐวัฒนา (2541) ไดทําการศึกษาถึงปจจัยที่มี<br />

อิทธิพลตอแรงดึงระหวาง Slider และ Flexure ของหัวอานขอมูลใน<br />

ฮารดดิสกไดรฟ และเสนอเงื่อนไขที่เหมาะสมเพื่อคุณภาพของแรงดึงของ<br />

หัวอานเขียนขอมูลดังกลาวภายใตเงื่อนไขที่เปนจริง<br />

งานวิจัยนี้เริ่มตนจาก<br />

การอาศัยความรูและความชํานาญของผูเชี่ยวชาญ<br />

และจากเอกสารจํานวน<br />

มากที่เกี่ยวของ<br />

เพื่อระบุถึงปจจัยทั้งหมดที่มีผลตอแรงดึงของหัวอาน<br />

เขียนขอมูลโดยใชแผนภาพแสดงเหตุและผล (Cause and Effect<br />

Diagram) จากการวิเคราะหแผนภูมิดังกลาว ทําใหทราบวามีปจจัยที่<br />

สามารถเปลี่ยนแปลงและควบคุมไดโดยไมเสียคาใชจายในการผลิต<br />

เพิ่มขึ้นอยางมากมายแตประการใด<br />

ปจจัยเหลานี้ประกอบดวย<br />

อัตรา<br />

สวนผสมของสารยึดเหนี่ยว<br />

อุณหภูมิในการอบ เวลาในการอบ และชนิด<br />

ของน้ําหนักกด<br />

การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลไดถูกนํามาใช<br />

เพื่อที่จะวิเคราะหวาปจจัยใดบางที่มีผลอยางมีนัยสําคัญตอแรงดึง<br />

และ<br />

ปจจัยใดบางที่มีอันตรกิริยา<br />

(Interaction) ระหวางกัน จากผลการทดลอง<br />

พบวา ปจจัยเพียง 3 ชนิดเทานั้นที่มีผลตอแรงดึง<br />

กลาวคือ อัตราสวนผสม<br />

ของสารยึดเหนี่ยว<br />

อุณหภูมิในการอบ และเวลาในการอบ การทดลอง<br />

แบบแฟคทอเรียลไดถูกนํามาใชอีกครั้งหนึ่ง<br />

โดยที่มีจํานวนของการทําซ้ํา<br />

(Replication) ของแตละปจจัยเพิ่มขึ้น<br />

เพื่อหาสภาวะการทํางานที่<br />

เหมาะสมที่จะทําใหไดคาแรงดึงสูงสุดโดยไมขัดกับเงื่อนไขทางไฟฟาที่<br />

เกิดขึ้นกับหัวอานเขียน<br />

ผลการทดลองแสดงวา สภาวะที่เหมาะสมที่ทําให<br />

หัวอานเขียนมีคาแรงดึงสูงสุดคือ อัตราสวนผสม 4:1 อุณหภูมิในการอบ<br />

300 องศาฟาเรนไฮต และเวลาที่ใชในการอบ<br />

16 นาที และเมื่อนําคาแรง<br />

ดึงที่ไดไปเปรียบเทียบในเชิงสถิติกับคาแรงดึงของหัวอานเขียนใน<br />

ปจจุบันพบวา คาแรงดึงเฉลี่ยที่สภาวะใหมนี้มีคาสูงกวาคาแรงดึงที่เปนอยู<br />

ในสภาวะปจจุบันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

Yasir Hadi, Salah Gasim Ahmed (2006) ไดศึกษาเรื่องการ<br />

พัฒนารูปแบบสําหรับพยากรณคาความหยาบผิวในการกระบวนกลึง<br />

อลูมิเนียม โดยศึกษาพารามิเตอรดังนี้<br />

ความเร็วรอบ, อัตราปอนและระยะ<br />

ปอนลึก ดวยการออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบบสามระดับ (3k<br />

Factorial Design) พบวา เมื่อกําหนดอัตราปอนระดับต่ํา<br />

และความเร็ว<br />

รอบที่ระดับสูง<br />

จะทําใหไดคาความหยาบผิวที่นอยที่สุด<br />

และไดสมการ<br />

สําหรับพยากรณคาความหยาบผิวในการกระบวนกลึงอลูมิเนียมที่มีความ<br />

ผิดพลาดนอย คือ SR = 15.8S -1.155 F1.125 D0.125<br />

3. วิธีการดําเนินการ<br />

3.1 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการ<br />

26<br />

1. ทําความเขาใจถึงปญหา กระบวนการผลิต และศึกษาสภาพ<br />

ปญหาหลัก<br />

2. ทําการวิเคราะหระบบการวัด เพื่อประเมินความเที่ยงตรง<br />

ของระบบการวัด<br />

3.ทําการวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา เพื่อเลือกปจจัยมาทํา<br />

การทดลอง<br />

4. เลือกคาผลลัพธ โดยตองมั่นใจวาคาผลลัพธนี้จะใหขอมูล<br />

เกี่ยวกับกระบวนการที่กําลังศึกษาอยู<br />

และวิธีวัดคาผลลัพธเหลานี้<br />

กอนที่<br />

จะเริ่มทําการทดลองจริง<br />

5. ทําการพิสูจนความเปนนัยสําคัญของปจจัยปอนเขา เพื่อดูวา<br />

ปจจัยปอนเขาเปนปจจัยที่สงผลตอขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอก<br />

ชิ้นงานที่เล็กกวาชวงควบคุมอยางมีนัยสําคัญหรือไม<br />

6. เลือกปจจัย ระดับปจจัยที่ใชในการทดลองและการ<br />

ออกแบบการทดลอง โดยจะเกี่ยวของกับการพิจารณาขนาดของตัวอยาง<br />

การเลือกลําดับที่เหมาะสมของการทดลองที่จะใชในการเก็บขอมูลและ<br />

ตัวสถิติที่จะใชในการทดลอง<br />

7. ดําเนินการทดลอง เมื่อทําการทดลองจะตองติดตาม<br />

กระบวนการทํางานอยางระมัดระวังเพื่อใหแนใจวาการดําเนินการทุก<br />

อยางเปนไปตามแผนที่ไดวางไว<br />

8. วิเคราะหขอมูลเชิงสถิติ ทําการวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติแลว<br />

นํามาผนวกกับความรูทางวิศวกรรม<br />

ความรูเกี่ยวกับกระบวนการ<br />

และ<br />

สามัญสํานึก จะทําใหขอสรุปที่ไดมีเหตุผลสนับสนุนและมีความ<br />

นาเชื่อถือ<br />

9. สรุปผลการทดลองและขอเสนอแนะ คือหาขอสรุปในทาง<br />

ปฏิบัติและแนะนําแนวทางของกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น<br />

ทําการทดลองยืนยัน<br />

ผลเพื่อตรวจสอบความถูกตองของขอสรุปที่เกิดขึ้น<br />

3.1.1 ทําความเขาใจถึงปญหา<br />

เทอรบี<br />

ลักษณะผลิตภัณฑ ดังรูปที่<br />

1 เปนผลิตภัณฑเพลาโมเดลแพน<br />

OD.1<br />

ปก<br />

รูปที่<br />

1 ชิ้นงานหลังสําเร็จ<br />

OD.2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!