30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

จากตารางที่<br />

1 เปนขอมูลของการผลิตชิ้นงานเพลาโมเดลแพน<br />

เทอรบี ซึ่งเปนสวนประกอบที่สําคัญของมอเตอรสปนเดิล<br />

โดยเปน<br />

สวนประกอบที่ทําหนาที่เปนแกนหมุนในการใชงานของหัวอานสําหรับ<br />

ฮารดดิสก พบวาชิ้นงานเพลามีของเสียในลักษณะที่ขนาดเสนผาน<br />

ศูนยกลางดานนอกเล็กกวาชวงควบคุมเฉลี่ยอยูที่<br />

0.08% ของปริมาณการ<br />

ผลิตตอเดือน จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองตรวจสอบหาสาเหตุและ<br />

ดําเนินการแกไขเพื่อตองการลดเปอรเซ็นตของเสียที่เกิดขึ้น<br />

ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการปรับปรุง<br />

กระบวนการผลิต เพื่อลดจํานวนชิ้นงานเพลาที่มีขนาดเสนผานศูนยกลาง<br />

ดานนอกเล็กกวาชวงควบคุมลง โดยมีแนวความคิดที่จะประยุกตใชหลัก<br />

ของการออกแบบและวิเคราะหการทดลอง (Design and Analysis of<br />

Experiments: DOE) ในการศึกษาหาปจจัยที่แทจริงที่สงผลตอความ<br />

คลาดเคลื่อนของขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอกชิ้นงานเพลา<br />

1.2 วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อศึกษากระบวนการผลิตชิ้นงานเพลา<br />

2. เพื่อวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการเกิดของเสีย<br />

พรอมทั้งหา<br />

ระดับปจจัยที่เหมาะสมในกระบวนการผลิตชิ้นงานเพลาที่มีผลตอขนาด<br />

เสนผานศูนยกลางดานนอกชิ้นงาน<br />

โดยประยุกตใชเทคนิคการออกแบบ<br />

การทดลอง<br />

3. เพื่อลดเปอรเซ็นตของเสียของชิ้นงานเพลาโมเดลแพนเทอร<br />

บีที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางดานนอกเล็กกวาชวงควบคุมลง<br />

50<br />

เปอรเซ็นต<br />

2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ทางคณะผูวิจัยไดทําการรวบรวมเอกสาร<br />

แนวความคิด และ<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

โดยจะใชการอางอิงจากทฤษฎีดังตอไปนี้<br />

1. งานกลึง คือ การตัดโลหะโดยใหชิ้นงาน<br />

(Work Piece)<br />

หมุนรอบตัวเองโดยมีดกลึงเคลื่อนที่เขาหาชิ้นงาน<br />

การกลึงมี 2 ลักษณะ<br />

ใหญ คือ 1) การกลึงปาดหนา คือ การตัดโลหะโดยใหมีดตัดชิ้นงานไป<br />

ตามแนวขวาง 2) การกลึงปอก คือ การตัดโลหะโดยใหมีดตัดเคลื่อนที่ตัด<br />

ชิ้นงานไปตามแนวขนานกับแนวแกนของชิ้นงาน<br />

2. ซิกซ ซิกมา (Six Sigma) คือ กระบวนการเพื่อลดความ<br />

ผิดพลาด (Defect) ที่เกิดขึ้นในกระบวนการตางๆโดยมุงเนนใหเกิดความ<br />

ผิดพลาดนอยที่สุด<br />

และมีความสูญเสียไดไมเกิน 3.4 หนวยในลานหนวย<br />

หรือเรียกอีกอยางวา ลดความสูญเสียโอกาสลงใหเหลือเพียงแค 3.4<br />

หนวยนั่นเอง<br />

(Defect per Million Opportunities: DPMO) สัญลักษณที่<br />

นิยมใชกันทางสถิติคือ ตามความหมายของซิกซ ซิกมา ทางสถิติ<br />

หมายถึง ขอบเขตขอกําหนด (Specification Limit) และการแจกแจงปกติ<br />

(Normal Distribution) ขอบเขตขอกําหนดบนมีคาเปน 6 หมายถึง ที่ระดับ<br />

ซิกมา มีของเสียเพียง 0.022 ชิ้นจากจํานวนของทั้งหมด<br />

1,000,000 ชิ้น<br />

3. การออกแบบการทดลอง (Design and Analysis of<br />

Experiment: DOE) เปนเทคนิคทางสถิติชั้นสูงที่ใชในการปรับคาสภาวะ<br />

25<br />

ของกระบวนการใหเปนไปตามสภาพที่เราตองการ<br />

ซึ่งขอแตกตางอยาง<br />

เห็นไดชัดระหวางวิธีการโดยทั่วไปกับเทคนิคของการออกแบบการ<br />

ทดลอง คือ วิธีการโดยทั่วไปมักเปนการทดลองแบบ<br />

ลองผิดลองถูก หรือ<br />

ใชการทดลองปรับตั้งคากระบวนการทีละคา<br />

(One-Factor-at-a-Time) จะ<br />

ใหผลตอบสนองเขาสูจุดมุงหมายที่ตองการไดชามาก<br />

และสิ้นเปลือง<br />

ทรัพยากรในการวิเคราะหรวมถึงตองเก็บขอมูลมาก และยังไมเหมาะสม<br />

อยางยิ่งกับกระบวนการที่มีผลของความสัมพันธรวม<br />

(Interaction Effect)<br />

ระวางตัวแปรของกระบวนการดวยกันเอง<br />

4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

กฤษดา อัศวรุงแสงกุล<br />

(2542) ไดทําการศึกษาปจจัยที่มีผลตอ<br />

รอยบิ่นและรอยราวในกระบวนการตัดขั้นสุดทายของการตัดหัวอาน<br />

เขียนขอมูลฮารดดิสก และหาวิธีการที่เหมาะสม<br />

โดยขั้นตอนการ<br />

ดําเนินงานวิจัยเริ่มตนจากการพิจารณาหาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดรอย<br />

บิ่น<br />

และรอยราวของหัวอานเขียนขอมูลฮารดดิสก โดยมีปจจัยทั้งหมด<br />

5<br />

ปจจัย คือความเร็วรอบในการตัด ความลึกของใบมีดในการตัด อัตราปอน<br />

ตัด จํานวนครั้งในการเดินลับมีด<br />

และทิศทางในการตัด โดยใชแผนการ<br />

ทดลองแฟชั่นนอลแบบครึ่งหนึ่งของวิธีแฟคทอเรียล<br />

โดยปจจัยทุกปจจัย<br />

มีระดับของปจจัยเทากับ 2 ระดับ จากผลการทดลองพบวาความเร็วรอบ<br />

ในการตัด และทิศทางในการตัด มีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญตอการเกิดรอย<br />

บิ่นและรอยราว<br />

ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมสําหรับความเร็วรอบในการตัดคือ<br />

8,500 รอบ/นาที และสําหรับทิศทางในการตัดคือ ทิศทางการตัดจากดาน<br />

โพลสูดานเทเปอร<br />

ชัยรัตน แจงเจนรบ (2545) ไดทําการปรับปรุงคุณภาพของ<br />

กระบวนการผลิตชิ้นสวนประกอบของชุดหัวอานเขียนขอมูลฮารดดิสก<br />

โดยอาศัยกรรมวิธีการออกแบบการทดลอง งานวิจัยนี้ไดใหความสําคัญ<br />

กับปจจัยที่มีอิทธิพลตอปริมาณกาวที่ติดอยูระหวาง<br />

Flex และ Suspension<br />

จากการวิเคราะหทําใหทราบไดวามี 6 ปจจัย ที่มีผลกระทบกับปริมาณ<br />

กาวที่ติดอยูระหวาง<br />

Flex และ Suspension ปจจัยเหลานี้ประกอบไปดวย<br />

ขนาดของหยดกาว ความสูงของการหยดกาวที่จุดตัวเรือน<br />

ระยะของการ<br />

หยดกาวที่จุดคอชิ้นงาน<br />

ความสูงของการหยดกาวที่จุดคอชิ้นงาน<br />

ระยะเวลาของการหยดกาวที่จุด<br />

Gimbal ของชิ้นงาน<br />

และความสูงของ<br />

การหยดกาวที่จุด<br />

Gimbal ของชิ้นงาน<br />

โดยที่ไดใชการออกแบบการ<br />

ทดลองแบบ One-half Fractional Factorial Design เพื่อวิเคราะหวาปจจัย<br />

ใดบางที่มีผลอยางมีนัยสําคัญตอปริมาณกาว<br />

จากผลการทดลองพบวามี<br />

เพียงปจจัย 2 ชนิด เทานั้น<br />

ที่มีผลตอปริมาณกาว<br />

คือ ระยะเวลาของการ<br />

หยดกาวที่จุด<br />

Gimbal ของชิ้นงาน<br />

และความสูงของการหยดกาวที่<br />

Gimbal ของชิ้นงาน<br />

หลังจากนั้นจึงไดทําการทดลองเพิ่มเติมโดยอาศัย<br />

การออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบบสามระดับ (3k Factorial<br />

Design) ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมที่จะทําใหปริมาณกาวไดตามคาเปาหมาย<br />

คือระยะเวลาของการหยดกาวที่จุด<br />

Gimbal ของชิ้นงานที่ระดับ<br />

350<br />

มิลลิวินาที และความสูงของการหยดกาวที่<br />

Gimbal ของชิ้นงานที่ระดับ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!