ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

คาต่ําสุด ขอจํากัด 103 103 103 ∑ ∑∑ z = s N + c M j j jk jk j= 1 j= 1 k= 1 103 103 ∑ ∑ + p(1 − b ) x + f y j j j j j= 1 j= 1 ปริมาณรับกลาไมจากโรงงานไมเกินความจุของศูนยกระจายกลาไม bx j j ≤ Ay j j ∀j (1) ปริมาณสงกลาไมไปยังสาขาปลายทางเทากับปริมาณกลาไมที่ศูนย กระจายกลาไมรับมา 103 ∑ jk k = 1 j j W = b x ∀j (2) ปริมาณความตองการของสาขาที่ k คือปริมาณกลาไมรวมที่ขนสงจาก ทุกศูนยกระจายกลาไมมายังที่สาขาที่ k 103 ∑ d ≤ W ∀k (3) k jk j= 1 กําหนดจํานวนเที่ยวรถบรรทุกในการขนสงจากโรงงานไปยังศูนย กระจายกลาไม x j N j ≥ ∀j (4) 30,000 กําหนดจํานวนเที่ยวรถกะบะในการขนสงจากศูนยกระจายกลาไมไป ยังสาขาปลายทาง wjk M jk ≥ ∀j, ∀k (5) 15,000 ขอจํากัดของตัวแปรตัดสินใจ y {0,1} ∀j (6) ∈ j W ≥ 0 ∀j, ∀k (7) jk x ≥ 0 ∀j (8) j 400 N j และ jk 5. ผลการศึกษา M เปนจํานวนเต็ม ∀j, ∀k (9) ่ ่ สําหรับการขนสงโดยใชนโยบายเดิม ซึ่งขนสงกลาไมไปยัง สาขาปลายทางโดยตรงโดยเมื่อมีสาขาปลายทางใดสงขอมูลปริมาณ ความตองการของลูกคาเขามาทางโรงงาน โรงงานก็จะขนสงตนกลา ไมไปยังสาขาปลายทางนั้น ๆ โดยรถบรรทุกและในระหวางทางที ขนสงนั้นไดเกิดตนกลาไมเสียหายระหวางทางการขนสง ซึ่งหากมี ปริมาณกลาไมที่เสียหายเทาใดใหคิดเปนคาปรับ เทากับราคาตนกลา ไม ซึ่งมีคาเทากับ 5 บาทตอตน และใหคาปรับนี้กับลูกคาซึ่งคาขนสง จากการใชนโยบายเดิมโดยการนําคาพยากรณที่ไดมาเปนความ ตองการของสาขาปลายทาง ตารางที 3 แสดงตัวอยางคาขนสงดังกลาว ผลลัพธจากประประมวลผลตัวแบบทางคณิตศาสตรดวย โปรแกรม SAS แสดงใหเห็นถึงสาขาปลายทางที่ถูกยกระดับใหเปน ศูนยกระจายกลาไมอยู 1 ศูนย อยูที่ตําบลภูหลวง อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา สวนสาขาปลายทางอื่นๆ จะรับกลาไมจากศูนย กระจายกลาแหงนี้ โดยฟงกชั่นวัตถุประสงคมีคาใชจายรวมเทากับ 508,728 บาทตอเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับนโยบายใหมที่มีการติดตั้ง ศูนยกระจายกลาไมกับนโยบายเดิมไดผลแสงดังตารางที่ 4 และ 5 ซึ่ง พบวานโยบายเดิมจะทําใหเกิดคาขนสงรวมตอเดือน 766,565 บาท ตารางที่ 3 ตัวอยางคาขนสงจากโรงงานไปยังสาขาปลายทาง สาขา ปลายทาง ปริมาณความ ตองการ(ตน) คาขนสง (บาท) กลาเสียหาย (ตน) คาปรับ (บาท) 1 5,755 1,820 14 70 2 10,234 2,320 29 145 3 12,160 2,540 37 185 4 2,758 2,580 12 60 5 3,849 2,620 19 95 6 10,050 2,640 32 160 7 6,812 3,020 24 120 8 4,643 3,500 19 95 9 4,894 3,560 20 100 10 7,696 3,740 31 155

ตารางที่ 4 ปริมาณกลาไมเสียหาย หนวย: ตน และคาเสียหาย หนวย: บาท ระหวางทางขนสง แบบการขนสง ขนสงโดยตรง ศูนยกระจายกลาไม จํานวนกลาไม(ตน) 6,285 1,961 คาเสียหาย(บาท) 31,425 9,805 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบคาใชจายในการขนสงตอเดือนระหวางนโยบาย ขนสงโดยตรงกับนโยบายการติดตั้งศูนยกระจายกลาไม แบบการขนสง ขนสง คาใชจาย/เดือน(บาท) ตนทุนจากกลา เสียหาย การติดตั้ง ศูนย ขนสงโดยตรง 735,140 31,425 - 766,565 ศูนยกระจายกลา 463,141 9,805 35,782 508,728 6. สรุปและเสนอแนะ การประยุกตนําตัวแบบทางคณิตศาสตรมาใชในการ ปรับปรุงระบบการขนสงชวยในเรื่องเพิ่มประสิทธิภาพในการขนสง ไดอยางชัดเจน ดังจะเห็นไดวาในการสงกลาไมมาที่ศูนยกระจาย สินคาอาจจะมีปริมาณกลาไมเสียหายเกิดขึ้นไดระหวางทางการขนสง ซึ่งความเสียหายของกลาไมนี้ผันแปรกับระยะทางการขนสง แตศูนย กระจายกลาไมเหลานั้นก็สามารถรองรับปริมาณความตองการของ สาขาปลายทางที่รับผิดชอบไดเต็มจํานวนครบถวนไมกอใหเกิด คาปรับใหกับโรงงาน ซึ่งเมื่อนําไปเปรียบเทียบกับการขนสงดวย นโยบายเดิม ที่มีการขนสงจากโรงงานโดยตรงไดเกิดคาปรับจากความ เสียหายของตนกลาไมเปนอยางมากและยังมีคาขนสงที่คอนขางสูง การสรางศูนยกระจายกลาดังกลาวสามารถชวยลดคาขนสง ไดถึง 257,837 บาทตอเดือน หรือ 15,470,220 บาทตอ5ป หรือคิดเปน 33.64 เปอรเซ็นตของคาขนสงดวยนโยบายเดิมที่บริษัทใชอยูใน ปจจุบัน 7. ขอเสนอแนะ เนื่องจากการวิจัยนี้เปนการวางแผนระยะยาวเชิงกลยุทธ เพื่อหาวาควรจะเปลี่ยนแปลงการขนสงจากการขนสงโดยตรงเปนผาน รวม 401 ศูนยการกระจายหรือไม และสาขาปลายทางใดจะไดถูกยกระดับให เปนศูนยกระจายกลาไม ขอมูลที่ใชในการวิเคราะหจึงเปนขอมูลรวม รายปแลวนํามาเฉลี่ยใหเปนรายเดือนพิจารณาในภาพรวม หากในการ นําไปใชในระดับปฏิบัติงานที่ตองมีการวางแผนการขนสงถึงปริมาณ ตนกลาไมที่โรงงานจัดสงไปยังศูนยการกระจายหรือปริมาณตนกลา ไมที่ศูนยกระจายกลาไมจัดสงไปยังสาขาปลายทางนั้นตองใชขอมูล อีกชุดหนึ่ง ทั้งนี้เพราะสาขาปลายทางในแตละแหงไมไดมีการสั่งกลา ไมทุกเดือนดังในงานวิจัย นอกจากนี้ควรมีการวิเคราะหความไวของ พารามิเตอรตาง ๆ เพิ่มเติม เชน ตนทุนคาขนสงระหวางโรงงานกับศูนย และ ตนทุนคาขนสงจากศูนยไปยังสาขาปลายทาง รวมทั้งคาใชจายในการ ดําเนินงานที่อาจมีแนวโนมสูงขึ้นในอนาคต 8. เอกสารอางอิง [1] C.-I. Hsu et al. 2006. Vehicle routing problem with timewindows for perishable food delivery. Journal of food engineering. 80: 465-475 [2] M.KÖksalan et al. 1996. A location-distribution application for a beer company. European Journal of Operational Research. 80 :16-24. [3] R. M. Narchal A. 2003. A simulation model for corporate planning in a steel plant. European Journal of Operational Research. 34, (3): 282-296 นางสาวนลินรัตน นอยฉวี สําเร็จการศึกษา ป 2550 จาก สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาเจาคุณทหารลาดกระบังระดับการศึกษา ปริญญาตรีวุฒิการศึกษา วท.บ.เกษตร สาขาวิชา พืชไร รองศาสตราจารย ดร. พัชราภรณ เนียม มณี รองคณบดีฝายวิชาการ คณะสถิติ ประยุกต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร (นิดา)

คาต่ําสุด<br />

ขอจํากัด<br />

103 103 103<br />

∑ ∑∑<br />

z = s N + c M<br />

j j jk jk<br />

j= 1 j= 1 k=<br />

1<br />

103 103<br />

∑ ∑<br />

+ p(1 − b ) x + f y<br />

j j j j<br />

j= 1 j=<br />

1<br />

ปริมาณรับกลาไมจากโรงงานไมเกินความจุของศูนยกระจายกลาไม<br />

bx j j ≤ Ay j j ∀j<br />

(1)<br />

ปริมาณสงกลาไมไปยังสาขาปลายทางเทากับปริมาณกลาไมที่ศูนย<br />

กระจายกลาไมรับมา<br />

103<br />

∑ jk<br />

k = 1<br />

j j<br />

W = b x ∀j<br />

(2)<br />

ปริมาณความตองการของสาขาที่<br />

k คือปริมาณกลาไมรวมที่ขนสงจาก<br />

ทุกศูนยกระจายกลาไมมายังที่สาขาที่<br />

k<br />

103<br />

∑<br />

d ≤ W ∀k<br />

(3)<br />

k jk<br />

j=<br />

1<br />

กําหนดจํานวนเที่ยวรถบรรทุกในการขนสงจากโรงงานไปยังศูนย<br />

กระจายกลาไม<br />

x j<br />

N j ≥ ∀j<br />

(4)<br />

30,000<br />

กําหนดจํานวนเที่ยวรถกะบะในการขนสงจากศูนยกระจายกลาไมไป<br />

ยังสาขาปลายทาง<br />

wjk<br />

M jk ≥ ∀j, ∀k<br />

(5)<br />

15,000<br />

ขอจํากัดของตัวแปรตัดสินใจ<br />

y {0,1} ∀j (6)<br />

∈<br />

j<br />

W ≥ 0 ∀j, ∀k<br />

(7)<br />

jk<br />

x ≥ 0 ∀j<br />

(8)<br />

j<br />

400<br />

N j และ jk<br />

5. ผลการศึกษา<br />

M เปนจํานวนเต็ม ∀j, ∀k<br />

(9)<br />

่<br />

่<br />

สําหรับการขนสงโดยใชนโยบายเดิม ซึ่งขนสงกลาไมไปยัง<br />

สาขาปลายทางโดยตรงโดยเมื่อมีสาขาปลายทางใดสงขอมูลปริมาณ<br />

ความตองการของลูกคาเขามาทางโรงงาน โรงงานก็จะขนสงตนกลา<br />

ไมไปยังสาขาปลายทางนั้น<br />

ๆ โดยรถบรรทุกและในระหวางทางที<br />

ขนสงนั้นไดเกิดตนกลาไมเสียหายระหวางทางการขนสง<br />

ซึ่งหากมี<br />

ปริมาณกลาไมที่เสียหายเทาใดใหคิดเปนคาปรับ<br />

เทากับราคาตนกลา<br />

ไม ซึ่งมีคาเทากับ<br />

5 บาทตอตน และใหคาปรับนี้กับลูกคาซึ่งคาขนสง<br />

จากการใชนโยบายเดิมโดยการนําคาพยากรณที่ไดมาเปนความ<br />

ตองการของสาขาปลายทาง ตารางที 3 แสดงตัวอยางคาขนสงดังกลาว<br />

ผลลัพธจากประประมวลผลตัวแบบทางคณิตศาสตรดวย<br />

โปรแกรม S<strong>AS</strong> แสดงใหเห็นถึงสาขาปลายทางที่ถูกยกระดับใหเปน<br />

ศูนยกระจายกลาไมอยู<br />

1 ศูนย อยูที่ตําบลภูหลวง<br />

อําเภอปกธงชัย<br />

จังหวัดนครราชสีมา สวนสาขาปลายทางอื่นๆ<br />

จะรับกลาไมจากศูนย<br />

กระจายกลาแหงนี้<br />

โดยฟงกชั่นวัตถุประสงคมีคาใชจายรวมเทากับ<br />

508,728 บาทตอเดือน เมื่อเปรียบเทียบกับนโยบายใหมที่มีการติดตั้ง<br />

ศูนยกระจายกลาไมกับนโยบายเดิมไดผลแสงดังตารางที่<br />

4 และ 5 ซึ่ง<br />

พบวานโยบายเดิมจะทําใหเกิดคาขนสงรวมตอเดือน 766,565 บาท<br />

ตารางที่<br />

3 ตัวอยางคาขนสงจากโรงงานไปยังสาขาปลายทาง<br />

สาขา<br />

ปลายทาง<br />

ปริมาณความ<br />

ตองการ(ตน)<br />

คาขนสง<br />

(บาท)<br />

กลาเสียหาย<br />

(ตน)<br />

คาปรับ<br />

(บาท)<br />

1 5,755 1,820 14 70<br />

2 10,234 2,320 29 145<br />

3 12,160 2,540 37 185<br />

4 2,758 2,580 12 60<br />

5 3,849 2,620 19 95<br />

6 10,050 2,640 32 160<br />

7 6,812 3,020 24 120<br />

8 4,643 3,500 19 95<br />

9 4,894 3,560 20 100<br />

10 7,696 3,740 31 155

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!