ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

6. สรุปผลการดําเนินการ ในการศึกษาระบบแถวคอยการใหบริการรับชําระเงิน คาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง มี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาตัวแบบแถวคอยในการเขารับบริการของชอง บริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย รามคําแหง สรางตัวแบบจําลองแถวคอยของการเขารับบริการเพื่อจัดสรร จํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการที่มีความเหมาะสม พรอมเปรียบเทียบ ผลลัพธกับการคํานวณ และจัดทําระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อ จัดเตรียมทรัพยากรและเปนแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใหบริการนําเสนอตอผูบริหาร พบวา จํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยวิธีการจําลอง ระบบสําหรับวันจันทรและวันศุกรคือ 5 คน โดยหากไมมีกิจกรรมตาม ปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยสามารถลดลงไดอีก 1 คน และในชวง การลงทะเบียนจะตองเพิ่มจํานวนบุคลากรที่ใหบริการอีก 1 คนเพื่อ รองรับจํานวนนักศึกษาที่เขาใชบริการเพิ่มขึ้น และสําหรับวันอังคาร พุธ และพฤหัสบดีจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยเฉลี่ย คือ 4 คน สามารถลดลงได 1 คนในชวงการสอบ และในชวงที่มีการลงทะเบียนวัน อังคารควรเพิ่มขึ้น 1 คนและวันพฤหัสบดี ควรเพิ่มขึ้น 2 คน โดยมี คาใชจายเฉลี่ยของระบบการใหบริการ 12,000 บาทตอสัปดาห และจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยการคํานวณ โดยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีสําหรับวันจันทรและวันศุกรคือ 6 คน หาก ไมมีกิจกรรมตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยสามารถลดลงไดอีก 1 คน และในชวงการลงทะเบียนจะตองเพิ่มจํานวนบุคลากรที่ใหบริการอีก 1 คน เพื่อรองรับนักศึกษาที่เขาใชบริการเพิ่มขึ้น และสําหรับวันอังคาร พุธ จํานวนจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยเฉลี่ย คือ 5 คน และพฤหัสบดี 4 คน สามารถลดลงได 1 คนในชวงการสอบ และในชวงที่ มีการลงทะเบียนวันอังคารควรเพิ่มขึ้น 1 คนและวันพฤหัสบดี ควร เพิ่มขึ้น 2 คน โดยมีคาใชจายเฉลี่ยของระบบการใหบริการ 14,700 บาท ตอสัปดาห จะเห็นไดวาคาใชจายโดยเฉลี่ยของระบบการใหบริการที่ได จากการจําลองระบบต่ํากวาคาใชจายโดยเฉลี่ยของระบบการใหบริการที่ ไดจากการคํานวณดวยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎี 2,700 บาทตอสัปดาห เนื่องมาจากในการคํานวณดวยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีจะมีจํานวน บุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมสูงกวาตัวแบบการจําลองระบบโดยเฉลี่ย แลว 1 คนเสมอ จึงเปนผลใหใหคาใชจายของระบบตอสัปดาหสูงกวา 394 และถึงแมวาจากตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีจะมีจํานวนบุคลากรที่ ใหบริการมากกวาการจําลองระบบ 1 คนผลลัพธจากตัวแบบแถวคอยเชิง ทฤษฎีก็ยังมีระยะเวลาการรอคอยในแถวคอยสูงกวา ประมาณ 30 วินาที ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามเงื่อนไขของคาใชจายที่ต่ํากวาและระยะเวลาการ รอคอยในแถวคอยต่ํากวา จํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมสําหรับ การบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย รามคําแหงในการศึกษาครั้งนี้ จึงเปนจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่ไดจาก ตัวแบบการจําลองระบบ เอกสารอางอิง [1] มนตรี พิริยะกุล. (2552). การจําลองแบบ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. [2] มานพ วราภักดิ์. (2552). การวิจัยดําเนินงาน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [3] กิตติ ภักดีวัฒนกุล. (2546). คัมภีรระบบสนับสนุนการตัดสินใจและ ระบบผูเชี่ยวชาญ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเคทีพี คอมพ แอนด คอล ซัลท. [4] สุทธิมา ชํานาญเวช. (2552). การวิเคราะหเชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ: บริษัทวิทยพัฒน จํากัด. [5] สุทธิมา ชํานาญเวช. (2552). การวิจัยดําเนินงาน. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน จํากัด. ประวัติผูเขียนบทความ ชื่อ – ชื่อสกุล นันทศักดิ์ สุขวัสดิ์ วัน เดือน ป เกิด 25 สิงหาคม 2522 สถานที่ทํางาน กองคลัง มร. ตําแหนงปจจุบัน นักวิชาการคอมพิวเตอร

395 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การกําหนดที่ตั้งศูนยกระจายกลาไมยูคาลิปตัสดวยตัวแบบการโปรแกรมเชิงเสนแบบผสม Determination of eucalyptus distribution center using mixed integer programming นลินรัตน นอยฉวี 1 และพัชราภรณ เนียมมณี 2 1, 2 สาขาเทคโนโลยีการตัดสินใจและการจัดการ คณะสถิติประยุกต สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร 118 ถนนเสรีไทย บางกะป กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท/โทรสาร: 02-374-4061 E-mail: 1 analyser_su@hotmail.com , 2 patchara@as.nida.ac.th บทคัดยอ บริษัทตัวอยางแหงหนึ่ง ซึ่งเปนมีโรงงานอยูที่ จ. ปราจีนบุรี และมีสาขาปลายทางที่มีอยู 103 สาขา 17 จังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อกระจายกลาไมยูคาลิปตัส ในการศึกษานี้ ตองการหาจํานวนและที่ตั้งศูนยกระจายกลาไม จากสาขาปลายทางที่มี อยู เพื่อใหปริมาณกลาในการขนสงแตละรอบ (เดือน) ที่เหมาะสมที่ทํา ใหเกิดคาใชจายต่ําสุด โดยใชเทคนิคการโปรแกรมเชิงเสนจํานวนเต็ม ผสม จากการศึกษาพบวา ควรมีการจัดตั้งศูนยกระจายกลาไมจากสาขา ปลายทางที่มีอยูเปนจํานวน 1 ศูนย โดยตั้งอยูที่ตําบลภูหลวง อําเภอปก ธงชัย จังหวัดนครราชสีมาเพื่อใหกลาไมสงจากโรงงานไปยังศูนยแหง นี้จากนั้นจะกระจายตอไปใหกับสาขาปลายทาง ซึ่งการกระจายกลาไม ในลักษณะนี้จะสามารถชวยลดคาใชจายไดถึง 257,837 บาทตอเดือน หรือคิดเปน 33.64 เปอรเซ็นต คําสําคัญ: การโปรแกรมเชิงเสนจํานวนเต็มแบบผสม, การหาที่ตั้งศูนย อํานวยความสะดวก, ศูนยกระจายสินคา Abstract For the case company, they have one factory located in Prachinburi province and 103 sub-centers located in North-East of Thailand to distribute young plant of eucalyptus. The objective of this research is to determine the number of eucalyptus distribution centers and their location to minimize total cost. Mixed-integer programming was developed with total cost minimization to determine location of all eucalyptus distribution centers. The result by running the model shows that we should have one distribution center at Phulaung, Pak Thong Chai, Nakhon Ratchasima. With this solution, young eucaluptus will send from the factory to the distribution center and then distribute to the other sub-centers. This distribution network would reduce the 257,837 baht per month, which is 33.64 percent. Keywords: Mixed-integer programming, facility location, distribution center 1. ความเปนมา บริษัทผูประกอบการผลิตกลาไมยูคาลิปตัส สงใหกับ เกษตรกรเพื่อทําการเพาะปลูกแลวนําไมที่ไดจากการเพาะปลูกสงกลับ มายังบริษัทผูประการนั้นอีกครั้งเพื่อนําไมมาเปนวัตถุดิบในการผลิต กระดาษตอไป การขนสงกลาไมจากบริษัทกรณีศึกษา มีโรงงานตั้งอยู ที่จังหวัดปราจีนบุรีจะสงกลาไมไปยังสาขาปลายทางตาง ๆ ที่มีอยูทั่ว ทั้งภาคอีสานทั้งตอนบนและลางเปนจํานวนกวา 103 สาขา โดยมี ขั้นตอนการสั่งซื้อและการดําเนินการเพื่อขนสงมีดังนี้ (1) เมื่อลูกคามี ความตองการกลาไมแลวสั่งไปยังทางสาขาปลายทาง (2) สาขา ปลายทางจะสงขอมูลปริมาณกลาไมที่ลูกคาตองการใหบริษัททําการ จัดสงไปใหผานทางอีเมลล พรอมกับทําใบสั่งซื้อ (3) บริษัทจะออกใบ จัดสงพรอมกับสําเนาใบสั่งซื้อใหกับแผนกขนสง สวนวิธีการเตรียม กลาไมใหพรอมตอการขนสงของบริษัทคือ ทําการรดน้ํากลาไมใหชุม เพื่อปองกันตนกลาเหี่ยวเฉาระหวางการขนสง แลวนํากลาไมบรรจุใส ถุงจํานวน 50 ตนตอ 1 ถุง เมื่อรถที่มารับกลาไมไปสงยังปลายทาง มาถึงก็จะมีพนักงานนําถุงกลาไมลําเลียงขนรถบรรทุก ซึ่งรถดังกลาว นี้ไมมีหลังคามีแตเพียงแสลนเพื่อบังแสงแดดรอบคันรถเพื่อปองกัน การคายน้ําของตนกลาเทานั้น รถบรรทุกกลาไมจะออกจากบริษัทเมื่อ

6. สรุปผลการดําเนินการ<br />

ในการศึกษาระบบแถวคอยการใหบริการรับชําระเงิน<br />

คาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง มี<br />

วัตถุประสงคเพื่อศึกษาตัวแบบแถวคอยในการเขารับบริการของชอง<br />

บริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหง สรางตัวแบบจําลองแถวคอยของการเขารับบริการเพื่อจัดสรร<br />

จํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการที่มีความเหมาะสม<br />

พรอมเปรียบเทียบ<br />

ผลลัพธกับการคํานวณ และจัดทําระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อ<br />

จัดเตรียมทรัพยากรและเปนแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพในการ<br />

ใหบริการนําเสนอตอผูบริหาร<br />

พบวา<br />

จํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยวิธีการจําลอง<br />

ระบบสําหรับวันจันทรและวันศุกรคือ 5 คน โดยหากไมมีกิจกรรมตาม<br />

ปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยสามารถลดลงไดอีก 1 คน และในชวง<br />

การลงทะเบียนจะตองเพิ่มจํานวนบุคลากรที่ใหบริการอีก<br />

1 คนเพื่อ<br />

รองรับจํานวนนักศึกษาที่เขาใชบริการเพิ่มขึ้น<br />

และสําหรับวันอังคาร พุธ<br />

และพฤหัสบดีจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยเฉลี่ย<br />

คือ 4 คน<br />

สามารถลดลงได 1 คนในชวงการสอบ และในชวงที่มีการลงทะเบียนวัน<br />

อังคารควรเพิ่มขึ้น<br />

1 คนและวันพฤหัสบดี ควรเพิ่มขึ้น<br />

2 คน โดยมี<br />

คาใชจายเฉลี่ยของระบบการใหบริการ<br />

12,000 บาทตอสัปดาห<br />

และจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยการคํานวณ<br />

โดยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีสําหรับวันจันทรและวันศุกรคือ 6 คน หาก<br />

ไมมีกิจกรรมตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัยสามารถลดลงไดอีก 1<br />

คน และในชวงการลงทะเบียนจะตองเพิ่มจํานวนบุคลากรที่ใหบริการอีก<br />

1 คน เพื่อรองรับนักศึกษาที่เขาใชบริการเพิ่มขึ้น<br />

และสําหรับวันอังคาร<br />

พุธ จํานวนจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมโดยเฉลี่ย<br />

คือ 5 คน<br />

และพฤหัสบดี 4 คน สามารถลดลงได 1 คนในชวงการสอบ และในชวงที่<br />

มีการลงทะเบียนวันอังคารควรเพิ่มขึ้น<br />

1 คนและวันพฤหัสบดี ควร<br />

เพิ่มขึ้น<br />

2 คน โดยมีคาใชจายเฉลี่ยของระบบการใหบริการ<br />

14,700 บาท<br />

ตอสัปดาห<br />

จะเห็นไดวาคาใชจายโดยเฉลี่ยของระบบการใหบริการที่ได<br />

จากการจําลองระบบต่ํากวาคาใชจายโดยเฉลี่ยของระบบการใหบริการที่<br />

ไดจากการคํานวณดวยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎี 2,700 บาทตอสัปดาห<br />

เนื่องมาจากในการคํานวณดวยตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีจะมีจํานวน<br />

บุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมสูงกวาตัวแบบการจําลองระบบโดยเฉลี่ย<br />

แลว 1 คนเสมอ จึงเปนผลใหใหคาใชจายของระบบตอสัปดาหสูงกวา<br />

394<br />

และถึงแมวาจากตัวแบบแถวคอยเชิงทฤษฎีจะมีจํานวนบุคลากรที่<br />

ใหบริการมากกวาการจําลองระบบ 1 คนผลลัพธจากตัวแบบแถวคอยเชิง<br />

ทฤษฎีก็ยังมีระยะเวลาการรอคอยในแถวคอยสูงกวา ประมาณ 30 วินาที<br />

ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามเงื่อนไขของคาใชจายที่ต่ํากวาและระยะเวลาการ<br />

รอคอยในแถวคอยต่ํากวา<br />

จํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่เหมาะสมสําหรับ<br />

การบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหงในการศึกษาครั้งนี้<br />

จึงเปนจํานวนบุคลากรที่ใหบริการที่ไดจาก<br />

ตัวแบบการจําลองระบบ<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] มนตรี พิริยะกุล. (2552). การจําลองแบบ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ<br />

มหาวิทยาลัยรามคําแหง.<br />

[2] มานพ วราภักดิ์.<br />

(2552). การวิจัยดําเนินงาน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ<br />

แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

[3] กิตติ ภักดีวัฒนกุล. (2546). คัมภีรระบบสนับสนุนการตัดสินใจและ<br />

ระบบผูเชี่ยวชาญ.<br />

กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเคทีพี คอมพ แอนด คอล<br />

ซัลท.<br />

[4] สุทธิมา ชํานาญเวช. (2552). การวิเคราะหเชิงปริมาณ. กรุงเทพฯ:<br />

บริษัทวิทยพัฒน จํากัด.<br />

[5] สุทธิมา ชํานาญเวช. (2552). การวิจัยดําเนินงาน. กรุงเทพฯ: บริษัท<br />

วิทยพัฒน จํากัด.<br />

ประวัติผูเขียนบทความ<br />

ชื่อ<br />

– ชื่อสกุล<br />

นันทศักดิ์<br />

สุขวัสดิ์<br />

วัน เดือน ป เกิด 25 สิงหาคม 2522<br />

สถานที่ทํางาน<br />

กองคลัง มร.<br />

ตําแหนงปจจุบัน นักวิชาการคอมพิวเตอร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!