ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

บริการเฉลี่ยวันละ 700 –1,500 คน เปดใหบริการวันจันทร – วันศุกร ตั้งแต 9.00 – 16.00 น.โดยใหบริการรับชําระคาธรรมเนียมการศึกษา ประเภทตางๆ ในกรณีที่นักศึกษาเขาสูระบบพรอมๆ กันเปนจํานวนมาก จะเกิดแถวคอยที่จะตองใชระยะเวลาในการรอคอยนานกวาปกติ ทั้งนี้ เพราะความไมแนนอนของการเขาสูระบบและระยะเวลาในการใหบริการ ที่แตกตางกันในแตละประเภทของบริการ การศึกษาเรื่องการจําลอง ระบบ และทฤษฎีแถวคอยจะชวยใหสามารถคาดการณลักษณะของ แถวคอย และสามารถนําไปใชในการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรทั้งดาน บุคลากร และเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองตอความตองการใชบริการของ นักศึกษาไดอยางเหมาะสม และในการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาตองการศึกษา ถึงระบบการใหบริการและวิเคราะหระบบแถวคอยของการใหบริการของ ชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ของกองคลัง มหาวิทยาลัย รามคําแหง เพื่อจัดทําระบบสนับสนุนการตัดสินใจสําหรับจัดสรรจํานวน บุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาที่ เหมาะสมเพื่อสนองตอนโยบายการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัย รามคําแหงอีกประการหนึ่งดวย 2. วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาระบบแถวคอยในการเขาใชบริการชองบริการ รับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง 2. เพื่อสรางตัวแบบจําลองแถวคอยของการเขาใชบริการ สําหรับจัดสรรจํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงิน คาธรรมเนียมการศึกษาที่เหมาะสม 3. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อชวยในการ พิจาณาจํานวนชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาและ จัดเตรียมทรัพยากรที่มีความเหมาะสม เปนแนวทางในการเพิ่ม ประสิทธิภาพ และลดคาใชจายในการใหบริการและการรอคอยนําเสนอ ตอผูบริหาร 3. ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษาจะทําการศึกษาระบบแถวคอยของ ผูมาใชบริการชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ของกอง คลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง บริเวณอาคารสํานักงานอธิการบดี ชั้น 1โดย ทําการศึกษาในชวงเวลา 9.00 – 16.0 น. ในวันจันทร ถึงศุกร เริ่มตั้งแต วันที่ 1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2553 เปนเวลา 63 วัน โดยเริ่ม ทําการศึกษาตั้งแตนักศึกษาเขามาใชบริการ และสิ้นสุดกระบวนการ ใหบริการหลังจากที่นักศึกษาไดรับใบเสร็จรับเงินหรือรายงานประเภท ตางๆ ตามที่รองขอ และคํานวณหาจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมในแตละ 391 วันและคาใชจายในการใหบริการที่เกิดขึ้น โดยใชการจําลองระบบและ เปรียบเทียบกับตัวแบบแถวคอย M/M/s 4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา 1. ทราบถึงตัวแบบแถวคอยที่เหมาะสมในการเขาใชบริการ ชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย รามคําแหง 2. นําผลที่ไดรับจากการจําลองระบบไปใชในการจัดสรร จํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา และทรัพยากรที่เหมาะสม สามารถลดคาใชจายในการใหบริการและการ รอคอยของนักศึกษาได 3. รูปแบบการวิเคราะหระบบแถวคอยนี้สามารถใชเปน แนวทางในการวิเคราะหระบบแถวคอยในงานดานอื่นๆ ได 5 ขั้นตอนการดําเนินงาน 1. รวบรวมขอมูลการเขาใชบริการของนักศึกษาในวันและ เวลาราชการ จากการเขาสังเกตดวยตนเองและขอมูลจากฐานขอมูลระบบ รับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา 2. ศึกษาและวิเคราะหระยะเวลาการใหบริการรับชําระเงิน ในแตละประเภท โดยใชแบบประเมินระยะเวลาการใหบริการของ บุคลากรประจําชองบริการและการเขาสังเกตดวยตนเอง 3. จําลองระบบดวยเทคนิคมอนติคารโล มีขั้นตอน ดังนี้ [1] 3.1 เก็บขอมูลและคํานวณหาความนาจะเปน (probability) ของอัตราการเขาใชบริการของนักศึกษา ประเภทของ บริการที่ใช และระยะเวลาในการใหบริการของบุคลากรประจําชอง บริการ 3.2 คํานวณหาความนาจะเปนสะสม ( cumulative probability) 3.3 สรางชวงตัวเลขสุม (random number interval) 3.4 กําหนดคาตัวเลขสุมโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร (random number) 4. ใชเลขสุมจําลองสถานการณการเขาใชบริการของ ผูใชบริการชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา คํานวณคา ตางๆ จากการจําลองระบบ ดังนี้ = อัตราการเขาใชบริการ = อัตราการใหบริการ = เวลาโดยเฉลี่ยที่นักศึกษาใชในระบบ

บริการเฉลี่ยวันละ<br />

700 –1,500 คน เปดใหบริการวันจันทร – วันศุกร<br />

ตั้งแต<br />

9.00 – 16.00 น.โดยใหบริการรับชําระคาธรรมเนียมการศึกษา<br />

ประเภทตางๆ ในกรณีที่นักศึกษาเขาสูระบบพรอมๆ<br />

กันเปนจํานวนมาก<br />

จะเกิดแถวคอยที่จะตองใชระยะเวลาในการรอคอยนานกวาปกติ<br />

ทั้งนี้<br />

เพราะความไมแนนอนของการเขาสูระบบและระยะเวลาในการใหบริการ<br />

ที่แตกตางกันในแตละประเภทของบริการ<br />

การศึกษาเรื่องการจําลอง<br />

ระบบ และทฤษฎีแถวคอยจะชวยใหสามารถคาดการณลักษณะของ<br />

แถวคอย และสามารถนําไปใชในการตัดสินใจจัดสรรทรัพยากรทั้งดาน<br />

บุคลากร และเทคโนโลยีเพื่อตอบสนองตอความตองการใชบริการของ<br />

นักศึกษาไดอยางเหมาะสม และในการศึกษาครั้งนี้<br />

ผูศึกษาตองการศึกษา<br />

ถึงระบบการใหบริการและวิเคราะหระบบแถวคอยของการใหบริการของ<br />

ชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา ของกองคลัง มหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหง เพื่อจัดทําระบบสนับสนุนการตัดสินใจสําหรับจัดสรรจํานวน<br />

บุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาที่<br />

เหมาะสมเพื่อสนองตอนโยบายการใหบริการที่เปนเลิศของมหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหงอีกประการหนึ่งดวย<br />

2. วัตถุประสงคของการศึกษา<br />

1. เพื่อศึกษาระบบแถวคอยในการเขาใชบริการชองบริการ<br />

รับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง<br />

2. เพื่อสรางตัวแบบจําลองแถวคอยของการเขาใชบริการ<br />

สําหรับจัดสรรจํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงิน<br />

คาธรรมเนียมการศึกษาที่เหมาะสม<br />

3. เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อชวยในการ<br />

พิจาณาจํานวนชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาและ<br />

จัดเตรียมทรัพยากรที่มีความเหมาะสม<br />

เปนแนวทางในการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพ และลดคาใชจายในการใหบริการและการรอคอยนําเสนอ<br />

ตอผูบริหาร<br />

3. ขอบเขตของการศึกษา<br />

การศึกษาในครั้งนี้<br />

ผูศึกษาจะทําการศึกษาระบบแถวคอยของ<br />

ผูมาใชบริการชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา<br />

ของกอง<br />

คลัง มหาวิทยาลัยรามคําแหง บริเวณอาคารสํานักงานอธิการบดี ชั้น<br />

1โดย<br />

ทําการศึกษาในชวงเวลา 9.00 – 16.0 น. ในวันจันทร ถึงศุกร เริ่มตั้งแต<br />

วันที่<br />

1 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่<br />

30 ธันวาคม 2553 เปนเวลา 63 วัน โดยเริ่ม<br />

ทําการศึกษาตั้งแตนักศึกษาเขามาใชบริการ<br />

และสิ้นสุดกระบวนการ<br />

ใหบริการหลังจากที่นักศึกษาไดรับใบเสร็จรับเงินหรือรายงานประเภท<br />

ตางๆ ตามที่รองขอ<br />

และคํานวณหาจํานวนบุคลากรที่เหมาะสมในแตละ<br />

391<br />

วันและคาใชจายในการใหบริการที่เกิดขึ้น<br />

โดยใชการจําลองระบบและ<br />

เปรียบเทียบกับตัวแบบแถวคอย M/M/s<br />

4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการศึกษา<br />

1. ทราบถึงตัวแบบแถวคอยที่เหมาะสมในการเขาใชบริการ<br />

ชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษาของกองคลัง มหาวิทยาลัย<br />

รามคําแหง<br />

2. นําผลที่ไดรับจากการจําลองระบบไปใชในการจัดสรร<br />

จํานวนบุคลากรที่มีหนาที่ใหบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา<br />

และทรัพยากรที่เหมาะสม<br />

สามารถลดคาใชจายในการใหบริการและการ<br />

รอคอยของนักศึกษาได<br />

3. รูปแบบการวิเคราะหระบบแถวคอยนี้สามารถใชเปน<br />

แนวทางในการวิเคราะหระบบแถวคอยในงานดานอื่นๆ<br />

ได<br />

5 ขั้นตอนการดําเนินงาน<br />

1. รวบรวมขอมูลการเขาใชบริการของนักศึกษาในวันและ<br />

เวลาราชการ จากการเขาสังเกตดวยตนเองและขอมูลจากฐานขอมูลระบบ<br />

รับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา<br />

2. ศึกษาและวิเคราะหระยะเวลาการใหบริการรับชําระเงิน<br />

ในแตละประเภท โดยใชแบบประเมินระยะเวลาการใหบริการของ<br />

บุคลากรประจําชองบริการและการเขาสังเกตดวยตนเอง<br />

3. จําลองระบบดวยเทคนิคมอนติคารโล มีขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

[1]<br />

3.1 เก็บขอมูลและคํานวณหาความนาจะเปน<br />

(probability) ของอัตราการเขาใชบริการของนักศึกษา ประเภทของ<br />

บริการที่ใช<br />

และระยะเวลาในการใหบริการของบุคลากรประจําชอง<br />

บริการ<br />

3.2 คํานวณหาความนาจะเปนสะสม ( cumulative<br />

probability)<br />

3.3 สรางชวงตัวเลขสุม<br />

(random number interval)<br />

3.4 กําหนดคาตัวเลขสุมโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร<br />

(random number)<br />

4. ใชเลขสุมจําลองสถานการณการเขาใชบริการของ<br />

ผูใชบริการชองบริการรับชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา<br />

คํานวณคา<br />

ตางๆ จากการจําลองระบบ ดังนี้<br />

= อัตราการเขาใชบริการ<br />

= อัตราการใหบริการ<br />

= เวลาโดยเฉลี่ยที่นักศึกษาใชในระบบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!