30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ของคาความบางทั้งหมด<br />

500 คา ที่ไดจากการใชความเบี่ยงเบนของ<br />

คุณสมบัติโลหะแผนในลักษณะการกระจายตัวแบบปกติ เกิดความ<br />

เสียหายแบบฉีกขาดเนื่องจากการสูญเสียความบางเกิน<br />

40% จํานวน 8 ชิ้น<br />

หลังจากนั้นทําการทดสอบการกระจายตัวของขอมูลดังกลาว<br />

พบวาคา<br />

ความบางมีการกระจายตัวแบบปกติเชนกัน เนื่องจากคา<br />

P-Value (0.46)<br />

ในการทดสอบมีคามากกวา 0.05 ดังแสดงในรูปที่<br />

10 และจากการ<br />

กระจายตัวของคาความบางนี้<br />

สามารถหาโอกาสของชิ้นงานที่จะเกิด<br />

ความเสียหายได โดยอาศัยหลักการหาความนาจะเปนแบบปกติดังสมการ<br />

ที่<br />

4 จากการคํานวณดวยหลักการดังกลาว พบวาโอกาสของชิ้นงานที่จะ<br />

เกิดความเสียหายเนื่องมาจากความเบี่ยงเบนคุณสมบัติของโลหะแผนมี<br />

ความนาจะเปน 1.04% ภายใตคุณสมบัติการกระจายตัวแบบปกติที่<br />

ประกอบไปดวย คาเฉลี่ยเทากับ<br />

33.874 และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

เทากับ 2.648 ดังแสดงในรูปที่<br />

11<br />

Percent<br />

99.9<br />

99<br />

95<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

5<br />

1<br />

0.1<br />

25<br />

P (a > x) = P (z ><br />

Probability Plot of % Thinning<br />

Normal - 95% CI<br />

30<br />

35<br />

% Thinning<br />

x −µ<br />

) (4)<br />

σ<br />

40<br />

45<br />

Mean 33.87<br />

StDev 2.648<br />

N 500<br />

AD 0.355<br />

P-Value 0.460<br />

รูปที่<br />

10 การทดสอบการกระจายตัวแบบปกติของคาความบาง<br />

รูปที่<br />

11 ความนาจะเปนของการเกิดความเสียหายตอชิ้นงาน<br />

พาราโบลิกภายใตการกระจายตัวแบบปกติ<br />

6. สรุปผลและขอเสนอแนะงานวิจัย<br />

การจําลองการขึ้นรูปผานระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนตโดย<br />

ใชตัวแปร K, n, r0, r45, และ r90 ในรูปแบบของคาเฉลี่ยเพื่อเปนตัวแทน<br />

388<br />

พฤติกรรมการขึ้นรูปของโลหะแผนเกรด<br />

SPCC โดยไมคํานึงถึงความ<br />

เบี่ยงเบนของคุณสมบัติ<br />

จะเห็นไดวาคาความบางที่ไดจากการจําลองดวย<br />

วิธีการดังกลาว ไมสามารถทราบถึงโอกาสที่จะเกิดความเสียหายตอ<br />

ชิ้นงานพาราโบลิกได<br />

แตการจําลองการขึ้นรูปผานระเบียบวิธีไฟไนต<br />

เอลิเมนตดวยความเบี่ยงเบนของคุณสมบัติโลหะแผนเกรด<br />

SPCC ใน<br />

ลักษณะการกระจายแบบปกติจํานวน 500 ครั้ง<br />

พบวาความนาจะเปนของ<br />

ชิ้นงานพาราโบลิกที่จะเกิดความเสียหายแบบฉีกขาดอันเนื่องมาจากความ<br />

เบี่ยงเบนของคุณสมบัติโลหะแผน<br />

คิดเปนรอยละ 1.04 ของจํานวน<br />

ชิ้นงานทั้งหมดที่ทําการลากขึ้นรูป<br />

จากผลงานวิจัยนี้สามารถสรุปไดวา<br />

การใชโลหะแผนเกรด SPCC ที่มีการกระจายตัวของคุณสมบัติทางกล<br />

ชวงพลาสติกเปนแบบปกติ ซึ่งประกอบไปดวย<br />

K~N (512.29,22.22 2 ),<br />

n~N (0.159,0.015 2 ), r0~N (1.82,0.129 2 ), r45~N (1.23,0.092 2 ), r90~N (2.11,0.247 2 ) ในการลากขึ้นรูปชิ้นงานทรงพาราโบลิกดวยน้ํา<br />

มีความ<br />

นาเชื่อถือ<br />

98.44% ที่จะทําใหชิ้นงานไมเกิดความเสียหาย<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ผูวิจัยขอขอบพระคุณศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุ<br />

แหงชาติ (MTEC) สําหรับการหาคุณสมบัติของโลหะแผนโดยการ<br />

ทดสอบแรงดึงแกนเดียว และโปรแกรม LS-DYNA เพื่อการวิเคราะหการ<br />

จําลองผานระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนต และขอขอบคุณ นายธีรเดช<br />

วุฒิพรพันธ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

ในการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับหลักการทางสถิติ<br />

อีกทั้งบัณฑิตวิทยาลัย<br />

คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

สําหรับการสนับสนุนทุนของงานวิจัยฉบับนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] Huang, Y., Lo, Z.Y., Du, R., “Minimization of the thickness<br />

variation in multi-step sheet metal stamping”, Journal of Materials<br />

Processing Technology. 177(1-3), P. 84-86, 2006.<br />

[2] Intarakumthornchai, T., Jirathearanat, S., Thongprasert, S. and<br />

Dechaumphai, P. “FEA Based Optimization of Blank Holder Force<br />

and Pressure for Hydromechanical Deep Drawing of Parabolic Cup<br />

Using 2-D Interval Halving and RSM Methods”, Engineering<br />

Journal (EJ) : International Journal, Vol 14 P.15-32, 2010.<br />

[3] สิทธิชัย แสงอาทิตย, “เอกสารคําสอนรายวิชา: การทดสอบวัสดุ”,<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 2545.<br />

[4] Kim, J.,Kang, B.S., Lee, J.K. “Statistical evaluation of forming<br />

limit in hydroforming process using plastic instability combined<br />

with FORM”, Int J Adv Manuf Technol, 42:53-59 DOI<br />

10.1007/s00170-008-1579-1, 2009.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!