ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

6 ซิกมา, การประชุมวิชาการวิศวกรรมอุตสาหการแหงชาติ, 2010. [4] สุวัฒน จีรเธียรนาถ, ธนสาร อินทรกําธรชัย, โครงการการปรับปรุง ประสิทธิภาพในกระบวนการปมขึ้นรูปชิ้นสวนยานยนต Roof Rail ในสวนของการออกแบบและวิเคราะหแมพิมพมาตรฐาน Bulge Test และแมพิมพมาตรฐาน Springback Test, 2551. [5] G. Gerhard, Evaluation of formability and determination of flow stress curve of sheet metals with hydraulic bulge test, The Ohio State University, 2000. [6] D.C. Montgomery, Design and Analysis of Experiment, 5 th edition, The Unites States of America: John Wiley & Son, Inc., 2001. [7] ฆนนัช พระพุทธคุณ, ธีรเดช วุฒิพรพันธ, การศึกษาสัดสวนที่ เหมาะสมของปจจัยที่ใชในกระบวนการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ โดย วิธีทดลองเชิงแฟคทอเรียล, วารสารวิชาการพระจอมเกลาพระนคร เหนือ ปที่ 21 ฉบับที่ 2, 2554 นายชลากร อุดมรักษาสกุล ปจจุบันกําลังศึกษา ปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนคร เหนือ จบการศึกษาปริญญาตรีจากคณะ วิทยาศาสตรประยุกต ภาควิชาคณิตศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ งานวิจัยที่สนใจคือ การ ออกแบบการทดลองเชิงสถิติ (Statistical Design of Experiment) การ ทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา (Hydraulic Bulge Test) และการวางแผน (Planning) 382

383 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การวิเคราะหความนาเชื่อถือของการขึ้นรูปชิ้นงานพาราโบลิกที่เกิดจากความเบี่ยงเบนของคุณสมบัติโลหะแผน The Reliability Analysis of Forming Parabolic Part under Deviation of Sheet Metal Properties กชกร วิรัชกุล 1 ธนสาร อินทรกําธรชัย 2 และสุวัฒน จรีเธียรนาถ 3 1, 2 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เขตบางซื่อ จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ รหัสไปรษณีย 10800 3 ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ อุทยานวิทยาศาสตรแหงชาติ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย 12120 E-mail: wiratchakul.k@gmail.com 1 บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาความนาเชื่อถือ (Reliability) ของการขึ้นรูปชิ้นงานทรงพาราโบลิกในกระบวนการลากขึ้นรูปโลหะ แผนดวยน้ํา (Hydromechanical Deep Drawing; HMD) ผานการจําลอง การลากขึ้นรูปดวยระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนต (Finite Element Method) โดยใชความเบี่ยงเบนคุณสมบัติทางกลชวงพลาสติกของโลหะแผนเกรด AISI 1008 (JIS G 3141 SPCC) ซึ่งประกอบดวย คาสัมประสิทธิ์ความ แข็งแรง (Strength Coefficient; K) ในแนวแกนรีด เลขชี้กําลังการทําให แข็งดวยความเครียด (Strain Hardening Component; n) ในแนวแกนรีด และอัตราสวนของความเครียดในชวงพลาสติก (Plastic Strain Ratio; r) ทั้งสามแนวแกน (0º, 45º, และ 90º กับแนวแกนรีด) ดวยการทดสอบแรง ดึงแกนเดียว (Uniaxial Tensile Test) เพื่อใหทราบถึงลักษณะการกระจาย ตัวของคุณสมบัติโลหะแผน หลังจากนั้นทําการสุมคาของตัวแปร K, n, r0, r45, และ r90 ตามลักษณะการกระจายตัวที่ไดจากการทดสอบ และปอน ขอมูลเหลานี้ผานการจําลองการขึ้นรูปดวยระเบียบวิธีไฟไนต เอลิเมนตเพื่อตรวจสอบคาความบาง (Thinning) ของชิ้นงาน จากการ ทดสอบแรงดึงแกนเดียวจํานวน 30 ครั้งตอแนวแกนรีด พบวาคา คุณสมบัติของโลหะแผนมีการกระจายตัวแบบปกติ (Normal distributed) จากนั้นจึงทําการสุมคาเหลานี้จากการกระจายตัวที่ไดจํานวน 500 ครั้งเพื่อ ทําการจําลองการขึ้นรูป จากผลการทดลองพบวา คาความบางของชิ้นงาน ที่ไดมีการกระจายตัวแบบปกติเชนกัน และจากการกระจายตัวนี้ทําให ทราบถึงความนาจะเปนในการที่จะเกิดชิ้นงานที่มีความบางมากกวา 40 เปอรเซ็นต คิดเปนรอยละ 1.04 คําหลัก: ความนาเชื่อถือ การลากขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ํา ระเบียบวิธี ไฟไนตเอลิเมนต และคุณสมบัติทางกลของโลหะแผน Abstract This research aims to determine the reliability of parabolic forming with hydromechanical deep drawing process through finite element simulation. Deviations of material properties consisted of strength coefficient (K), strain hardening exponent (n), plastic strain ratio of three axis (r 0, r 45, r 90) are taken into account. An AISI 1008 (JIS G 3141 SPCC) sheet material grade is chosen to examine with uniaxial tensile test for finding appropriate distribution of each sheet material property. These properties are then generated based on the selected distribution and used as input of forming simulation with finite element method in order to determine the thinning of parts. Based on 30 experiments of tensile test, all material properties are normal distributed. The 500 value sets of these properties are generated and then simulated in finite element. The results show that the thinning of part is normal distributed and there is only 1.04% to obtain the thinning of part more than 40%. Keywords: Reliability, Hydromechanical Deep Drawing, Sheet Metal Properties, and Finite Element Method 1. บทนํา การจําลองการขึ้นรูปโลหะแผนผานระเบียบวิธีไฟไนต เอลิเมนต มีความสําคัญในการชวยใหผูออกแบบแมพิมพสามารถทราบ ถึงพฤติกรรมการขึ้นรูปของโลหะแผนที่เกิดการปรับเปลี่ยนรูปรางของ แมพิมพ คาพารามิเตอรในการผลิต และคาคุณสมบัติของโลหะแผนที่ เลือกใช โดยไมตองทําการสรางแมพิมพจริง ทําใหประหยัดเวลาและ คาใชจาย การจําลองการขึ้นรูปในปจจุบันนิยมปอนขอมูลของตัวแปร K, n, r0, r45, และ r90 ในลักษณะคาเฉลี่ย เพื่อเปนตัวแทนพฤติกรรมการขึ้นรูป ของโลหะแผนชนิดนั้น ๆ โดยไมคํานึงถึงความเบี่ยงเบนของคุณสมบัติ โลหะแผน ดังจะพบไดจากงานวิจัยการหาคาที่เหมาะสมของรัศมีแมพิมพ ดวยการจําลองผานระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนตควบคูกับพื้นผิว ตอบสนอง (Response Surface) ของ Huang et al. (2006) และ Intarakumthornchai et al. (2010) ไดทําการศีกษาหาแรงดัน (Pressure) และแรงจับยึด (Blank Holder Force; BHF) ของชิ้นงานพาราโบลิกจาก กระบวนการลาก ขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําผานระเบียบวิธีไฟไนต เอลิเมนต [1,2] นักวิจัยทั้ง 2 ทาน พิจารณาเฉพาะคาเฉลี่ยของคุณสมบัติ โลหะแผนเพียงคาเดียว ทําใหการจําลองการขึ้นรูปดวยวิธีดังกลาวอาจ

383<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การวิเคราะหความนาเชื่อถือของการขึ้นรูปชิ้นงานพาราโบลิกที่เกิดจากความเบี่ยงเบนของคุณสมบัติโลหะแผน<br />

The Reliability Analysis of Forming Parabolic Part under Deviation of Sheet Metal Properties<br />

กชกร วิรัชกุล 1 ธนสาร อินทรกําธรชัย 2 และสุวัฒน จรีเธียรนาถ 3<br />

1, 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เขตบางซื่อ<br />

จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ รหัสไปรษณีย 10800<br />

3<br />

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ อุทยานวิทยาศาสตรแหงชาติ อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย 12120<br />

E-mail: wiratchakul.k@gmail.com 1<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาความนาเชื่อถือ<br />

(Reliability)<br />

ของการขึ้นรูปชิ้นงานทรงพาราโบลิกในกระบวนการลากขึ้นรูปโลหะ<br />

แผนดวยน้ํา<br />

(Hydromechanical Deep Drawing; HMD) ผานการจําลอง<br />

การลากขึ้นรูปดวยระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนต<br />

(Finite Element Method)<br />

โดยใชความเบี่ยงเบนคุณสมบัติทางกลชวงพลาสติกของโลหะแผนเกรด<br />

AISI 1008 (JIS G 3141 SPCC) ซึ่งประกอบดวย<br />

คาสัมประสิทธิ์ความ<br />

แข็งแรง (Strength Coefficient; K) ในแนวแกนรีด เลขชี้กําลังการทําให<br />

แข็งดวยความเครียด (Strain Hardening Component; n) ในแนวแกนรีด<br />

และอัตราสวนของความเครียดในชวงพลาสติก (Plastic Strain Ratio; r)<br />

ทั้งสามแนวแกน<br />

(0º, 45º, และ 90º กับแนวแกนรีด) ดวยการทดสอบแรง<br />

ดึงแกนเดียว (Uniaxial Tensile Test) เพื่อใหทราบถึงลักษณะการกระจาย<br />

ตัวของคุณสมบัติโลหะแผน หลังจากนั้นทําการสุมคาของตัวแปร<br />

K, n, r0, r45, และ r90 ตามลักษณะการกระจายตัวที่ไดจากการทดสอบ<br />

และปอน<br />

ขอมูลเหลานี้ผานการจําลองการขึ้นรูปดวยระเบียบวิธีไฟไนต<br />

เอลิเมนตเพื่อตรวจสอบคาความบาง<br />

(Thinning) ของชิ้นงาน<br />

จากการ<br />

ทดสอบแรงดึงแกนเดียวจํานวน 30 ครั้งตอแนวแกนรีด<br />

พบวาคา<br />

คุณสมบัติของโลหะแผนมีการกระจายตัวแบบปกติ (Normal distributed)<br />

จากนั้นจึงทําการสุมคาเหลานี้จากการกระจายตัวที่ไดจํานวน<br />

500 ครั้งเพื่อ<br />

ทําการจําลองการขึ้นรูป<br />

จากผลการทดลองพบวา คาความบางของชิ้นงาน<br />

ที่ไดมีการกระจายตัวแบบปกติเชนกัน<br />

และจากการกระจายตัวนี้ทําให<br />

ทราบถึงความนาจะเปนในการที่จะเกิดชิ้นงานที่มีความบางมากกวา<br />

40 เปอรเซ็นต คิดเปนรอยละ 1.04<br />

คําหลัก: ความนาเชื่อถือ<br />

การลากขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ํา<br />

ระเบียบวิธี<br />

ไฟไนตเอลิเมนต และคุณสมบัติทางกลของโลหะแผน<br />

Abstract<br />

This research aims to determine the reliability of parabolic<br />

forming with hydromechanical deep drawing process through finite<br />

element simulation. Deviations of material properties consisted of<br />

strength coefficient (K), strain hardening exponent (n), plastic strain<br />

ratio of three axis (r 0, r 45, r 90) are taken into account. An AISI 1008 (JIS<br />

G 3141 SPCC) sheet material grade is chosen to examine with uniaxial<br />

tensile test for finding appropriate distribution of each sheet material<br />

property. These properties are then generated based on the selected<br />

distribution and used as input of forming simulation with finite element<br />

method in order to determine the thinning of parts. Based on 30<br />

experiments of tensile test, all material properties are normal<br />

distributed. The 500 value sets of these properties are generated and<br />

then simulated in finite element. The results show that the thinning of<br />

part is normal distributed and there is only 1.04% to obtain the thinning<br />

of part more than 40%.<br />

Keywords: Reliability, Hydromechanical Deep Drawing, Sheet Metal<br />

Properties, and Finite Element Method<br />

1. บทนํา<br />

การจําลองการขึ้นรูปโลหะแผนผานระเบียบวิธีไฟไนต<br />

เอลิเมนต มีความสําคัญในการชวยใหผูออกแบบแมพิมพสามารถทราบ<br />

ถึงพฤติกรรมการขึ้นรูปของโลหะแผนที่เกิดการปรับเปลี่ยนรูปรางของ<br />

แมพิมพ คาพารามิเตอรในการผลิต และคาคุณสมบัติของโลหะแผนที่<br />

เลือกใช โดยไมตองทําการสรางแมพิมพจริง ทําใหประหยัดเวลาและ<br />

คาใชจาย การจําลองการขึ้นรูปในปจจุบันนิยมปอนขอมูลของตัวแปร<br />

K,<br />

n, r0, r45, และ r90 ในลักษณะคาเฉลี่ย<br />

เพื่อเปนตัวแทนพฤติกรรมการขึ้นรูป<br />

ของโลหะแผนชนิดนั้น<br />

ๆ โดยไมคํานึงถึงความเบี่ยงเบนของคุณสมบัติ<br />

โลหะแผน ดังจะพบไดจากงานวิจัยการหาคาที่เหมาะสมของรัศมีแมพิมพ<br />

ดวยการจําลองผานระเบียบวิธีไฟไนตเอลิเมนตควบคูกับพื้นผิว<br />

ตอบสนอง (Response Surface) ของ Huang et al. (2006) และ<br />

Intarakumthornchai et al. (2010) ไดทําการศีกษาหาแรงดัน (Pressure)<br />

และแรงจับยึด (Blank Holder Force; BHF) ของชิ้นงานพาราโบลิกจาก<br />

กระบวนการลาก ขึ้นรูปโลหะแผนดวยน้ําผานระเบียบวิธีไฟไนต<br />

เอลิเมนต [1,2] นักวิจัยทั้ง<br />

2 ทาน พิจารณาเฉพาะคาเฉลี่ยของคุณสมบัติ<br />

โลหะแผนเพียงคาเดียว ทําใหการจําลองการขึ้นรูปดวยวิธีดังกลาวอาจ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!