30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ตารางที่<br />

2 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของการทดลอง<br />

่<br />

การทดลองที<br />

ปจจัย<br />

ความสูง 10 mm<br />

P-Value<br />

ความสูง 20 mm<br />

P-Value<br />

ความสูง 30 mm<br />

P-Value<br />

3.2.1 เสนผานศูนยกลาง 0.362 0.252 0.740<br />

3.2.2 เสนผานศูนยกลาง / ชิ้นงาน<br />

0.196 / 0.703 0.601 / 0.726 0.639 / 0.513<br />

3.2.3 เสนผานศูนยกลาง / ระดับ 0.154 / 0.000 0.558 / 0.000 0.573 / 0.000<br />

นั้นจะเปนการเปรียบเทียบคา<br />

P-Value กับคานัยสําคัญของการทดลอง<br />

ที่ระดับ<br />

0.05 ซึ่งจะสามารถอธิบายโดยแบงเปนตามหัวขอของการ<br />

ทดลองไดดังนี้<br />

4.2.1 สําหรับการวิเคราะหการทดลองที่<br />

3.2.1 จะพบวาที่ความสูงทั้ง<br />

3 ระดับ เสนผานศูนยกลางมีคา P-Value มากกวา 0.05 แสดงวา<br />

คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลักและแนวแกนรองบน<br />

ชิ้นงานเดียวกันไมมีความแตกตางกัน<br />

4.2.2 สําหรับการวิเคราะหการทดลองที่<br />

3.2.2 จะพบวาที่ความสูงทั้ง<br />

3 ระดับ เสนผานศูนยกลาง และชิ้นงาน<br />

มีคา P-Value มากกวา 0.05<br />

แสดงวาคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลักและแนวแกน<br />

รองของชิ้นงานที่<br />

1 และชิ้นงานที่<br />

2 บนระดับความสูงเดียวกันไมมี<br />

ความแตกตางกัน<br />

4.2.3 สําหรับการวิเคราะหการทดลองที่<br />

3.2.3 จะพบวาที่ความสูงทั้ง<br />

3 ระดับ เสนผานศูนยกลางมีคา P-Value มากกวา 0.05 แสดงวา<br />

คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลักและแนวแกนรองของ<br />

ระดับการวัดที่<br />

1 รวมถึงคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกน<br />

หลักและแนวแกนรองของระดับการวัดที่<br />

2 ไมมีความแตกตางกัน แต<br />

ในปจจัยของ ระดับ มีคา P-Value นอยกวา 0.05 แสดงวาคาเฉลี่ยของ<br />

เสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลักและแนวแกนรองของระดับการวัด<br />

ที่<br />

1 และระดับการวัดที่<br />

2 บนชิ้นงานเดียวกันจะมีความแตกตางกัน<br />

5. สรุปผลการวิจัย<br />

ในงานวิจัยนี้ไดทําการวัดเสนผานศูนยกลางของกริดวงกลมใน<br />

แนวแกนหลักและแนวแกนรอง เพื่อพิสูจนวาชิ้นงานที่ไดจากการขึ้น<br />

รูปแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

โดยใชแมพิมพที่ผูวิจัยสรางขึ้นจะเปนไปตาม<br />

ทฤษฎีหรือไม ซึ่งผลจากการทดลองพบวา<br />

เมื่อทําการทดลองการขึ้น<br />

รูปชิ้นงานในความสูง<br />

10 มิลลิเมตร 20 มิลลิเมตร และ 30 มิลลิเมตร<br />

คาวัดเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลักและแนวแกนรองมีความไม<br />

แตกตางกัน (d1 = d2) ซึ่งก็สามารถพิสูจนไดวาคาความเครียดทั้งสอง<br />

381<br />

แนวแกนไมแตกตางกัน (ε 1 = ε 2) โดยเมื่อทราบคาความเครียด<br />

ดังกลาวแลวก็สงผลใหคาความเคนในแนวแกนหลักและแนวแกนรอง<br />

(σ1 = σ2) มีคาไมแตกตางกันเชนกัน เนื่องจากคาความเครียดมีความ<br />

แปรผันตรงกับคาความเคน งานวิจัยนี้จึงสรุปวาแมพิมพที่สรางขึ้นมา<br />

สําหรับทําการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

เมื่อทําการทดสอบขึ้นรูป<br />

ชิ้นงานจะอยูในสภาวะแรงดึงสองทิศทาง<br />

ซึ่งเปนไปตามทฤษฏีของ<br />

แผนบาง (Membrane Theory) ภายใตสมมติฐานคารัศมีทรงกลมที่<br />

เกิดขึ้นในขณะขึ้นรูปมีคาเทากัน<br />

( R 1 = R 2 ) และในงานวิจัยนี้ยังพบวา<br />

ในการอางจุดอางอิงสําหรับทําการวัดคา ถาจุดอางอิงไมไดอยูในระดับ<br />

เดียวกันคาที่ทําการวัดไดจะมีความแตกตางกัน<br />

ดังนั้นในการอาง<br />

จุดอางอิงควรที่จะเลือกทําการวัดในระดับเดียวกันเทานั้น<br />

กิตติกรรมประกาศ<br />

ผูวิจัยขอขอบพระคุณ<br />

ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร. ธีรเดช<br />

วุฒิพรพันธ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ที่คอยใหคําแนะนําในการทํา<br />

วิจัยฉบับนี้<br />

ขอขอบคุณศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติที่ไดให<br />

ความอนุเคราะหในการดําเนินงานการทดลองและขอขอบคุณบัณฑิต<br />

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือที่<br />

สนับสนุนทุนในการทําวิจัยฉบับนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] สุวัฒน จีรเธียรนาถ, กฤษดา ประภากร, ประพันธ ปญญาวัน, อรรถ<br />

พล พลาศรัย, แมพิมพพรอมอุปกรณทดสอบแผนเหล็กดวยน้ําอัดความ<br />

ดันสูง, รายงานประจําปศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ, 2552.<br />

[2] ธนสาร อินทรกําธรชัย, 5 คําถามกับการจําลองการขึ้นรูปโลหะ<br />

แผน, ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ, 2548.<br />

[3] ธนสาร อินทรกําธรชัย, สุวลี สวัสดิ์สลุง,<br />

ทัศนีย พึ่งแยม,<br />

สุวัฒน จีร<br />

เธียรนาถ, การหาคุณสมบัติชวงพลาสติกของโลหะแผนเกรด SPCC<br />

ดวยการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

และอิทธิพลการเบี่ยงเบนในชวง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!