30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เมื่อทําการทดลองขึ้นรูปเรียบรอยหลังจากนั้นจะทําการ<br />

มารคจุดอางอิงเพื่อใชในการวัดคาแลวจึงทําการถายภาพกริดวงกลม<br />

โดยใชกลอง Microscope Dino-Lite รุน<br />

AM-413ZT สําหรับในการ<br />

มารคจุดอางอิงจะแบงจุดอางอิงออกเปน 2 ระดับ โดยระดับที่<br />

1 ใหเริ่ม<br />

นับกริดวงกลมที่สัมผัสกับจุดศูนยกลางของแผนชิ้นงานลงไป<br />

4<br />

กริดวงกลม และระดับที่<br />

2 ใหเริ่มนับกริดวงกลมที่สัมผัสกับจุด<br />

ศูนยกลางของแผนชิ้นงานลงไป<br />

8 กริดวงกลม ซึ่งทั้ง<br />

2 ระดับจะได<br />

จุดอางอิงระดับละ 4 จุด แสดงดังรูปที่<br />

6 โดยเมื่อทําการถายภาพ<br />

จุดอางอิงเรียบรอยหลังจากนั้นจะใชโปรแกรม<br />

Dino Capture 2.0 ทํา<br />

การวัดคาบนระนาบแนวแกนหลักและแนวแกนรอง แสดงดังรูปที่<br />

7<br />

รูปที่<br />

6 จุดอางอิงระดับการวัด<br />

รูปที่<br />

7 การวัดคาเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลัก (d1)<br />

และแนวแกนรอง (d2)<br />

3.2 การวิเคราะหผลการทดลอง<br />

ระดับการวัดที่<br />

1<br />

ระดับการวัดที่<br />

2<br />

d1 d2 สําหรับในขั้นตอนของการวิเคราะหผลการทดลองจะแบง<br />

ออกเปน 3 หัวขอดังนี้<br />

3.2.1 การวิเคราะหคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลัก<br />

และแนวแกนรองบนชิ้นงานเดียวกัน<br />

3.2.2 การวิเคราะหคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลัก<br />

379<br />

่ ่<br />

และแนวแกนรองของตางชิ้นงานบนความสูงเดียวกัน<br />

3.2.3 การวิเคราะหคาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลางในแนวแกนหลัก<br />

และแนวแกนรองของระดับการวัดที<br />

ชิ้นงานเดียวกัน<br />

1 และระดับการวัดที 2 บน<br />

ตารางที่<br />

1 เปนการเก็บขอมูลที่ความสูง<br />

10 มิลลิเมตร 20<br />

มิลลิเมตร และ 30 มิลลิเมตร ในแตละความสูงจะมีชิ้นงานทั้งหมด<br />

2<br />

ชิ้นงาน<br />

ซึ่งแตละชิ้นงานจะแบงระดับของการวัดออกเปน<br />

2 ระดับโดย<br />

ในแตละระดับของการวัดจะแบงออกเปนการวัดเสนผานศูนยกลางใน<br />

แนวแกนหลักและแกนรองของวงกลมกริด เมื่อไดทําการเก็บขอมูล<br />

เรียบรอยแลว ขั้นตอนถัดไปก็จะนําขอมูลไปทําการวิเคราะหผล<br />

ซึ่งจะ<br />

สามารถอธิบายรายละเอียดในหัวขอถัดไป<br />

4. ผลการวิจัย<br />

สําหรับในหัวขอนี้จะเปนการวิเคราะหผลการทดลอง<br />

โดย<br />

จะแบงออกเปน 2 กลุม<br />

คือการตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบการ<br />

ทดลอง และการวิเคราะหผลกระทบของปจจัยตาง ซึ่งสามารถอธิบาย<br />

รายละเอียดไดดังนี้<br />

4.1 การตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบการทดลอง<br />

เพื่อใหขอมูลการทดลองเปนที่นาเชื่อถือ<br />

Montgomery<br />

[6,7] ไดกลาวไววา กอนการวิเคราะหความแปรปรวนของขอมูล ควร<br />

จะทําการตรวจสอบความเหมาะสม และความถูกตองของขอมูลที่ได<br />

จากการทดลอง ซึ่งจะประกอบไปดวย<br />

3 หัวขอหลักดังนี้<br />

4.1.1 การตรวจสอบการกระจายตัวแบบปกติ (Normal Distributed)<br />

ของสวนตกคาง (Residual) จากรูปที่<br />

8 จะพบวาคา Residual มีการ<br />

กระจายตามแนวเสนตรง จึงสามารถประมาณไดวาคา Residual มีการ<br />

แจกแจงแบบปกติ<br />

Percent<br />

99<br />

95<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

5<br />

1<br />

-0.0050<br />

-0.0025<br />

Normal Probability Plot<br />

(response is Res)<br />

0.0000<br />

Residual<br />

0.0025<br />

รูปที่<br />

8 การกระจายตัวแบบปกติของคา Residual<br />

0.0050

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!