30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จากที่ไดกลาวมาขางตนถึงขั้นตอนในขณะขึ้นรูปชิ้นงาน<br />

จะตองพยายามรักษารูปรางความเปนทรงกลมไวตลอด ภายใตเงื่อนไข<br />

การเกิดคาความเคนดัดที่เกิดขึ้นจะตองมีคานอยมากหรือไมมีเลย<br />

ซึ่ง<br />

วิธีที่สามารถนํามาพิจารณาขอสมมติฐานดังกลาว<br />

จําเปนที่จะตองนํา<br />

ทฤษฎีของแผนบาง (Membrane Theory) เขามาพิจารณา ดังแสดงใน<br />

สมการที่<br />

3 [5]<br />

โดยที่<br />

σ1<br />

σ2<br />

σ1<br />

σ<br />

+ 2 =<br />

R R<br />

1<br />

2<br />

p<br />

t<br />

คือ คาความเคนหลัก (Principal Stress) แนวแกนหลัก<br />

คือ คาความเคนหลัก (Principal Stress) แนวแกนรอง<br />

R 1 คือ คารัศมีทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะขึ้นรูปในแนวแกนหลัก<br />

R 2 คือ คารัศมีทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะขึ้นรูปในแนวแกนรอง<br />

p คือ แรงดัน<br />

t คือ คาความหนาบนยอดโดม<br />

จากรูปรางที่เปนทรงกลมอยางสมบูรณแบบจะทําใหรูปราง<br />

ของการทดสอบชิ้นงานแบบเปาโปงดวยน้ําสมมาตรรอบแกน<br />

(Axi -<br />

symmetric) จะสงผลใหความเคนหลักทั้งสองแนวแกนมีคาเทากัน<br />

(σ = σ1 = σ2) และสงผลใหรัศมีของทรงกลมขณะขึ้นรูปมีคา<br />

เทากันดวย ( R = R 1 = R 2 ) ทําใหสมการที่<br />

3 สามารถเขียนใหมได<br />

ดังแสดงในสมการที่<br />

4<br />

โดยที่<br />

σ คือ คาความเคนหลัก (Principal Stress)<br />

d<br />

(3)<br />

pR<br />

σ = d<br />

(4)<br />

2t<br />

R d คือ คารัศมีทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะขึ้นรูป<br />

p คือ แรงดัน<br />

t d คือ คาความหนาบนยอดโดม<br />

เนื่องจากในงานวิจัยนี้ไมมีเครื่องมือที่สามารถวัดคาความ<br />

เคน (σ ) ไดโดยตรง จึงทําใหตองวัดคาความเครียดในแนวแกนหลัก<br />

(ε 1) และแนวแกนรอง (ε 2) แทน แตเนื่องจากคาความเครียดมี<br />

ความแปรผันตรงกับคาความเคน ดังนั้นถาสามารถพิสูจนไดวา<br />

ความเครียดทั้งสองแนวแกนไมแตกตางกัน<br />

(ε 1 = ε 2) หรือแนวเสน<br />

ผานศูนยกลางทั้งสองแกนไมแตกตางกัน<br />

(d1 = d2) ก็จะสงผลใหคา<br />

378<br />

ความเคนในแนวแกนหลักและแนวแกนรอง (σ1 = σ2) มีคาไม<br />

แตกตางกันเชนกัน สําหรับในงานวิจัยนี้คารัศมีทรงกลมที่เกิดขึ้นขณะ<br />

ขึ้นรูปทั้งสองแนวแกนจะอยูภายใตสมมติฐานที่เทากัน<br />

( R 1 = R 2 )<br />

เทานั้น<br />

3. วิธีการดําเนินงานวิจัย<br />

ในวิธีการดําเนินงานวิจัยนี้ทางผูวิจัยจะไดอธิบายถึง<br />

รายละเอียดของการทดลองและการวิเคราะหผล โดยสามารถที่จะแบง<br />

ออกเปน 2 ขั้นตอนดังนี้<br />

3.1 ขั้นตอนการเตรียมชิ้นงานและทดลองการขึ้นรูป<br />

จัดเตรียมชิ้นงานโลหะแผนเหล็กกลาคารบอนต่ําเกรด<br />

SPCC ขนาด 250 x 250 มม. ที่ขนาดความหนา<br />

1 มิลลิเมตร และนํามา<br />

ทําการสรางกริดวงกลม โดยใชกรดกัดดวยไฟฟาบนแผนชิ้นงาน<br />

ทดสอบ ดังแสดงในรูปที่<br />

4<br />

รูปที่<br />

4 ชิ้นงานขนาด<br />

250 x 250 ที่ทําการสรางกริดวงกลม<br />

เมื่อไดแผนชิ้นงานทดสอบเรียบรอยแลว<br />

หลังจากนั้นจะ<br />

นํามาทําการทดลองขึ้นรูปดวยแมพิมพรูปโดมครึ่งทรงกลม<br />

ซึ่งจะทํา<br />

การขึ้นรูปทั้งหมด<br />

3 ระดับ โดยแบงเปนความสูง 10 มิลลิเมตร<br />

20 มิลลิเมตร และ 30 มิลลิเมตร ทําการขึ้นรูปตามความสูงอยางละ<br />

2 แผน แสดงดังรูปที่<br />

5<br />

10 มม. 20 มม. 30 มม.<br />

รูปที่<br />

5 ขนาดความสูงของชิ้นงานในระดับตางๆ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!