ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

376 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ การศึกษาสภาวะความเครียดที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานในการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา A Study of Strain Condition on Deformed Part in Hydraulic Bulge Test ชลากร อุดมรักษาสกุล 1 ธนสาร อินทรกําธรชัย 2 สุวัฒน จีรเธียรนาถ 3 1,2 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 3 ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ 114 อุทยานวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย อําเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120 โทรศัพท/โทรสาร: 085-128-2919 E-mail: 1 u.chalakorn@gmail.com บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแมพิมพที่ไดสรางขึ้นมา สําหรับทําการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา (Hydraulic Bulge Test : HBT) วาในขณะขึ้นรูปชิ้นงานที่ทําการทดสอบจะอยูในสภาวะแรงดึง สองทิศทาง (Biaxial) หรือไม ในการทดสอบจะนําเหล็กแผนเกรด SPCC ขนาดความหนา 1 มิลลิเมตร มาทําการขึ้นรูปกริดวงกลมที่มี ขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 2.54 มิลลิเมตร โดยวิธีการกัดกรดดวย ไฟฟาแลวจึงนําชิ้นงานมาทดสอบขึ้นรูปกับแมพิมพรูปโดมครึ่งทรง กลมขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 100 มิลลิเมตร ที่ความสูงตางกัน 3 ระดับ หลังจากนั้นจึงนําชิ้นงานมาศึกษาถึงความเครียด (Strain :ε ) ที่เกิดขึ้นบนระนาบในแนวแกน Y หรือแนวแกนหลัก (Major Strain : ε 1) และระนาบในแนวแกน X หรือแนวแกนรอง (Minor Strain : ε 2) ผานการเปลี่ยนแปลงขนาดเสนผานศูนยกลางของกริดรูปวงกลม จากผลการทดลองพบวา คาความเครียดในแนวแกนทั้งสองมีคาเทากัน ซึ่งสามารถสรุปไดวาการขึ้นรูปแบบเปาโปงดวยน้ําจะอยูในสภาวะ แรงดึงสองทิศทาง คําสําคัญ: การทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา สภาวะแรงดึงสองทิศทาง Abstract This paper is aims to investigate assumption of biaxial stress state in hydraulic bulge test (HBT) die through strain condition. SPCC steel grade of 1 millimeter of thickness is a material selected to examine of this test. Firstly, circle grids of 2.54 millimeter of diameter are drawn on specimens. Three levels of dome height are experimented with HBT die of 100 millimeter of diameter. Secondly, the major strain (ε 1) in rolling direction or Y axis of material and the minor strain (ε 2) in transverse direction or X axis of specimen are measured using the extended diameter of circle grid. The result shows that the major and minor strains of specimens are equal at same level of dome height. It is implied that the hydraulic bulge test with the proposed die is in biaxial condition. Keywords: Hydraulic bulge test, Biaxial condition. 1. บทนํา กระบวนการขึ้นรูปโลหะแผน (Sheet Metal Forming Process) เปนกระบวนการที่นิยมนํามาใชในการผลิตชิ้นสวนยานยนต และเครื่องใชในครัวเรือน ซึ่งอุตสาหกรรมประเภทนี้ตองการความ แมนยํา ความเที่ยงตรงของชิ้นงานสูง รวมทั้งตองการลดขั้นตอนใน การผลิตใหนอยที่สุด การขึ้นรูปโลหะแผนเพื่อใหไดชิ้นงานที่มี คุณภาพนั้นจะขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชน รูปรางของแมพิมพ แรงจับยึด รวมไปถึงคุณสมบัติของโลหะแผนที่นํามาใชในการขึ้นรูป สําหรับโลหะแผนที่นิยมนํามาใช คือ เหล็กกลาคารบอนต่ําตาม มาตรฐาน JIS G 3141 SPCC เนื่องจากมีคุณสมบัติทางกลที่เหมาะสม ทั้งทางดานการใชงานและการขึ้นรูป คุณสมบัติของโลหะแผนในชวง พลาสติกถือวามีความสําคัญมากในกระบวนการขึ้นรูป เพราะวาการ ขึ้นรูปดังกลาวจะเปนการทําใหโลหะแผนเรียบเสียรูปถาวรจนได รูปรางขนาดตามที่ตองการ วิธีการหาคุณสมบัติของโลหะแผนในชวง พลาสติกนิยมใชคือ วิธีการทดสอบแรงดึงแกนเดียว (Uniaxial Tensile Test) ซึ่งจะเปนการหาคาความสัมพันธระหวางความเคนและ ความเครียดในชวงพลาสติกของโลหะ แตเนื่องจากการทดสอบแรงดึง แกนเดียว เมื่อชิ้นงานที่ทําการทดสอบขาดจะทําใหไดกราฟคา ความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียดที่มีคาความเคนไมเกิน 0.3 ของความเครียด โดยทั่วไปถือวามีคาไมเพียงพอสําหรับการ ทดสอบ จึงตองทําใหมีการประมาณคา (Extrapolation) นอกชวงที่เกิน

0.3 ของความเครียด ซึ่งอาจจะสงผลใหการจําลองที่มีคาความเครียด อยูนอกชวงดังกลาวไมถูกตอง การทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา (HBT) เปนทางเลือกหนึ่งที่ใชในการทดสอบเพื่อหาคาความสัมพันธนอกชวง ดังกลาวได การทดสอบชนิดนี้เปนการทดสอบโดยใชแรงดันน้ําเพื่อ สรางสภาวะแรงดึงสองทิศทาง ซึ่งนอกจากจะใหสภาวะการทดสอบ ใกลเคียงกับการขึ้นรูปจริงแลวยังใหขอมูลคาความสัมพันธระหวาง ความเคนและความเครียดที่มากกวาการทดสอบแรงดึงแกนเดียว [1] ดังนั้น การทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ําจึงถูกนิยมนํามาทําการทดสอบหา คุณสมบัติของโลหะแผนมากขึ้น ในงานวิจัยนี้ผูวิจัยไดสรางแมพิมพ สําหรับทําการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ําขึ้นมา เพื่อใหแมพิมพ ดังกลาวสามารถนําไปทดสอบชิ้นงาน เพื่อหาคาความสัมพันธระหวาง ความเคนและความเครียดไดอยางถูกตอง ชิ้นงานที่ทําการทดสอบ จะตองอยูในสภาวะแรงดึงสองทิศทาง ดังนั้นในงานวิจัยนี้จึงมี วัตถุประสงคเพื่อตองการพิสูจนวาชิ้นงานที่ไดจากการขึ้นรูปแบบเปา โปงดวยน้ํา โดยใชแมพิมพที่ผูวิจัยสรางขึ้นจะเปนไปตามหลักการของ สภาวะแรงดึงสองทิศทางหรือไม โดยวัดคาระนาบแนวแกนหลัก (d1) และแนวแกนรอง (d2) ผานการเปลี่ยนแปลงขนาดเสนผานศูนยกลาง ของกริดรูปวงกลมในแนวแกนทั้งสอง แสดงดังรูปที่ 1 d1 d2 รูปที่ 1 การเปลี่ยนแปลงขนาดเสนผานศูนยกลางของกริดรูปวงกลมใน แนวแกนทั้งสอง จากเสนผานศูนยกลางของกริดวงกลมที่เปลี่ยนไป สามารถนํามา คํานวณหาคาความเครียดไดโดยใชสมการที่ 1 และ 2 ดังนี้ ε 1 = ln (d1/d0) (1) ε 2 = ln (d2/d0) (2) ถาความเครียดทั้งสองแนวแกนไมแตกตางกัน (ε 1 = ε 2) จึงจะสรุป ไดวาการขึ้นรูปดวยแมพิมพที่สรางขึ้นนั้นเปนไปตามทฤษฎี แตถา ความเครียดที่เกิดขึ้นทั้งสองแนวแกนมีคาแตกตางกัน (ε 1 ≠ ε 2) จะ 377 แสดงวาแมพิมพที่สรางขึ้นนั้นไมสามารถนํามาใชในการขึ้นรูปดวย วิธีการเปาโปงดวยน้ําได [2] 2. หลักการและทฤษฎีการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา การทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ําเปนการทดสอบเพื่อหาคา ความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียดของวัสดุในชวง พลาสติก โดยในการทดสอบจะนําเหล็กแผนมาขึ้นรูปเปนลักษณะรูป โดมครึ่งทรงกลม ซึ่งในขณะขึ้นรูปชิ้นงานจะตองพยายามรักษารูปราง ความเปนทรงกลมไวตลอด ภายใตเงื่อนไขการเกิดคาความเคนดัด (Bending Stress) ที่เกิดขึ้นจะตองมีคานอยมากหรือไมมีเลย เพื่อไมให เกิดเงื่อนไขดังกลาว ดังนั้นเสนผานศูนยกลางของครึ่งทรงกลมควรมี ขนาดใหญเมื่อเทียบกับความหนาของโลหะแผน [3] ในงานวิจัยนี้ได ทําการออกแบบแมพิมพสําหรับการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ําดัง แสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 2 แบบรางแมพิมพสําหรับการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา จากรูปที่ 2 ซึ่งเปนแบบรางแมพิมพสําหรับการทดสอบ แบบเปาโปงดวยน้ํา กําหนดใหเสนผานศูนยกลางของแมพิมพ มีขนาด เทากับ 100 มิลลิเมตร และรัศมีของแมพิมพเทากับ 5 มิลลิเมตร ซึ่งเมื่อ นําไปสรางเปนแมพิมพสําหรับการทดสอบแบบเปาโปงแลวนั้นจะมี ลักษณะรูปรางแสดงดังรูปที่ 3 [4] รูปที่ 3 แมพิมพที่สรางสําหรับการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา

376<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การศึกษาสภาวะความเครียดที่เกิดขึ้นบนชิ้นงานในการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

A Study of Strain Condition on Deformed Part in Hydraulic Bulge Test<br />

ชลากร อุดมรักษาสกุล 1 ธนสาร อินทรกําธรชัย 2 สุวัฒน จีรเธียรนาถ 3<br />

1,2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

เขตบางซื่อ<br />

กรุงเทพมหานคร 10800<br />

3<br />

ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ<br />

114 อุทยานวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย อําเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120<br />

โทรศัพท/โทรสาร: 085-128-2919 E-mail: 1 u.chalakorn@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแมพิมพที่ไดสรางขึ้นมา<br />

สําหรับทําการทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

(Hydraulic Bulge Test :<br />

HBT) วาในขณะขึ้นรูปชิ้นงานที่ทําการทดสอบจะอยูในสภาวะแรงดึง<br />

สองทิศทาง (Biaxial) หรือไม ในการทดสอบจะนําเหล็กแผนเกรด<br />

SPCC ขนาดความหนา 1 มิลลิเมตร มาทําการขึ้นรูปกริดวงกลมที่มี<br />

ขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 2.54 มิลลิเมตร โดยวิธีการกัดกรดดวย<br />

ไฟฟาแลวจึงนําชิ้นงานมาทดสอบขึ้นรูปกับแมพิมพรูปโดมครึ่งทรง<br />

กลมขนาดเสนผานศูนยกลางเทากับ 100 มิลลิเมตร ที่ความสูงตางกัน<br />

3 ระดับ หลังจากนั้นจึงนําชิ้นงานมาศึกษาถึงความเครียด<br />

(Strain :ε )<br />

ที่เกิดขึ้นบนระนาบในแนวแกน<br />

Y หรือแนวแกนหลัก (Major Strain :<br />

ε 1) และระนาบในแนวแกน X หรือแนวแกนรอง (Minor Strain :<br />

ε 2) ผานการเปลี่ยนแปลงขนาดเสนผานศูนยกลางของกริดรูปวงกลม<br />

จากผลการทดลองพบวา คาความเครียดในแนวแกนทั้งสองมีคาเทากัน<br />

ซึ่งสามารถสรุปไดวาการขึ้นรูปแบบเปาโปงดวยน้ําจะอยูในสภาวะ<br />

แรงดึงสองทิศทาง<br />

คําสําคัญ: การทดสอบแบบเปาโปงดวยน้ํา<br />

สภาวะแรงดึงสองทิศทาง<br />

Abstract<br />

This paper is aims to investigate assumption of biaxial<br />

stress state in hydraulic bulge test (HBT) die through strain<br />

condition. SPCC steel grade of 1 millimeter of thickness is a material<br />

selected to examine of this test. Firstly, circle grids of 2.54<br />

millimeter of diameter are drawn on specimens. Three levels of<br />

dome height are experimented with HBT die of 100 millimeter of<br />

diameter. Secondly, the major strain (ε 1) in rolling direction or Y<br />

axis of material and the minor strain (ε 2) in transverse direction or<br />

X axis of specimen are measured using the extended diameter of<br />

circle grid. The result shows that the major and minor strains of<br />

specimens are equal at same level of dome height. It is implied that<br />

the hydraulic bulge test with the proposed die is in biaxial condition.<br />

Keywords: Hydraulic bulge test, Biaxial condition.<br />

1. บทนํา<br />

กระบวนการขึ้นรูปโลหะแผน<br />

(Sheet Metal Forming<br />

Process) เปนกระบวนการที่นิยมนํามาใชในการผลิตชิ้นสวนยานยนต<br />

และเครื่องใชในครัวเรือน<br />

ซึ่งอุตสาหกรรมประเภทนี้ตองการความ<br />

แมนยํา ความเที่ยงตรงของชิ้นงานสูง<br />

รวมทั้งตองการลดขั้นตอนใน<br />

การผลิตใหนอยที่สุด<br />

การขึ้นรูปโลหะแผนเพื่อใหไดชิ้นงานที่มี<br />

คุณภาพนั้นจะขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ<br />

เชน รูปรางของแมพิมพ<br />

แรงจับยึด รวมไปถึงคุณสมบัติของโลหะแผนที่นํามาใชในการขึ้นรูป<br />

สําหรับโลหะแผนที่นิยมนํามาใช<br />

คือ เหล็กกลาคารบอนต่ําตาม<br />

มาตรฐาน JIS G 3141 SPCC เนื่องจากมีคุณสมบัติทางกลที่เหมาะสม<br />

ทั้งทางดานการใชงานและการขึ้นรูป<br />

คุณสมบัติของโลหะแผนในชวง<br />

พลาสติกถือวามีความสําคัญมากในกระบวนการขึ้นรูป<br />

เพราะวาการ<br />

ขึ้นรูปดังกลาวจะเปนการทําใหโลหะแผนเรียบเสียรูปถาวรจนได<br />

รูปรางขนาดตามที่ตองการ<br />

วิธีการหาคุณสมบัติของโลหะแผนในชวง<br />

พลาสติกนิยมใชคือ วิธีการทดสอบแรงดึงแกนเดียว (Uniaxial Tensile<br />

Test) ซึ่งจะเปนการหาคาความสัมพันธระหวางความเคนและ<br />

ความเครียดในชวงพลาสติกของโลหะ แตเนื่องจากการทดสอบแรงดึง<br />

แกนเดียว เมื่อชิ้นงานที่ทําการทดสอบขาดจะทําใหไดกราฟคา<br />

ความสัมพันธระหวางความเคนและความเครียดที่มีคาความเคนไมเกิน<br />

0.3 ของความเครียด โดยทั่วไปถือวามีคาไมเพียงพอสําหรับการ<br />

ทดสอบ จึงตองทําใหมีการประมาณคา (Extrapolation) นอกชวงที่เกิน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!