ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

ตารางที่ คาเฉลี่ยของตัวชี้วัดในแตละกลุมเกณฑ เกณฑ ท.ต.อุบลฯ ท.ต.ขามใหญ ท.ต.ปทุม การนําระบบประกันคุณภาพมาใช 3.9 3.6 3.5 คุณภาพการใหบริการ 4.2 4.5 4.1 ชองทางการใหบริการ 4.2 4.2 4.4 ลักษณะทางกายภาพ 4.6 4.3 4.3 ผลลัพธการดําเนินการ 3.9 3.5 3.6 * คาที่แรเงาคือคาที่ดีที่สุดซึ่งจะใชเปนคาอางอิงตอไป 3.3 การวิเคราะห(Analysis) นําขอมูลที่ไดจากตารางที่ 5 มาสรางแผนภูมิเรดาหเพื่อการ วิเคราะหผลโดยเปรียบเทียบระหวางเทศบาลทั้ง 3 แหงโดยกําหนดคา ความคาดหวังที่ 3.5 ดังรูปที่ 4 รูปที่ 4 แผนภูมิเรดารเปรียบเทียบคะแนนในแตละเทศบาล กอนปรับปรุง จากแผนภูมิเรดาหจะเห็นไดวาเกณฑการประเมินในแตละ ดานเทศบาลตัวอยางทั้ง 3 แหงผานเกณฑคาคาดหวังคือ 3.5 ซึ่งแตละ เทศบาลมีจุดเดนในแตละเกณฑตางกัน ซึ่งจะถือไดวาเทศบาลที่มีคะแนน ในแตละดานที่ต่ํากวามีความแปรปรวนในการปฏิบัติงานสูงกวาเทศบาล ที่มีคะแนนสูงสุด 3.4 การปรับปรุงพัฒนา(Improve) เนื่องจากหนวยงานเทศบาลแตละแหงเปนหนวยงานของ รัฐบาล จึงไมมีการแขงขันเชิงผลประโยชน ดังนั้นวิธีการเทียบเคียง สมรรถนะ(Benchmarking) จึงเปนวิธีที่เหมาะสมประหยัดทรัพยากรใน การศึกษาเรียนรูเพื่อการพัฒนา โดยแบงเปนขั้นตอนดังตอไปนี้ 373 3.4.1 รวมมือระหวางองคกรเพื่อสรางคาอางอิง (Collaborative Benchmarking) โดยกําหนดคาที่ดีที่สุดในแตละเกณฑ เปนคาอางอิงดัง แสดงในตารางที่ 5 3.4.2 เปรียบเทียบระบบและวิธีการดําเนินงาน (Process Benchmarking) โดยการศึกษาวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด(Best Practice) และ นําวิธีนั้นมาเปนตนแบบการปฏิบัติงาน จากหนวยงานซึ่งปฏิบัติใน เกณฑนั้น ๆ ไดดีที่สุดหรือหนวยงานผูไดรับการประเมินใหเปนคาอางอิง ในเกณฑนั้น ๆ นั่นเอง 3.4.3 หาจุดแข็งขององคกรโดยการเปรียบเทียบภายในองคกร (Internal Benchmarking) เริ่มจากการหาคาคะแนนถวงน้ําหนักของแตละ เกณฑดังสมการที่ 1 คะแนนถวงน้ําหนัก = น้ําหนัก x คะแนนประเมิน (1) หากเกณฑใดมีคะแนนถวงน้ําหนักมากเปนอันดับตน ๆ ทาง องคกรสามารถนําพิจาณาใชเปนจุดแข็งดังตารางที่ 6 เพื่อวางกลยุทธการ ดําเนินงานตอไปได ตารางที่ 6 คาเฉลี่ยของตัวชี้วัดในแตละกลุมเกณฑ เกณฑ น้ําหนักเกณฑ (%) ท.ต.อุบลฯ คะแนนถวงน้ําหนัก การนําระบบประกันคุณภาพมาใช 24.2 3.9 0.9438 คุณภาพการใหบริการ 20.5 4.2 0.861 ชองทางการใหบริการ 13.9 4.2 0.5838 ลักษณะทางกายภาพ 12.2 4.6 0.5612 ผลลัพธการดําเนินการ 9.3 3.9 0.3627 * คาที่แรเงาคือคาที่ดีที่สุดซึ่งจะใชกําหนดเปนจุดแข็งขององคกร 3.5 การควบคุม(Control) ผูวิจัยไดการวางระบบควบคุมติดตามโดยเลือกกลุมเกณฑที่ แตละเทศบาลไดรับการประเมินใหเปนคาอางอิง หรือเปนจุดแข็งของ องคกร นํามาจัดทําเปนมาตรฐานการทํางาน (Work Instruction) เพื่อเปน ตนแบบของการปฏิบัติที่ดีที่สุด (Best Practice) ใหแกเทศบาลอื่น และสามารถใชควบคุมการทํางานใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ผูวิจัยไดทดลองโดยใหเทศบาลตําบลขามใหญทํามาตรฐาน การทํางานในกลุมเกณฑคุณภาพการใหบริการโดยสรางมาตรฐานการ ตอนรับผูมาใชบริการตลอดจนวิธีการแนะนําขั้นตอนการทํางานตาง ๆ ตามที่เคยปฏิบัติ เนื่องจากเทศบาลตําบลขามใหญเปนตนแบบของการ ปฏิบัติที่ดีที่สุดในกลุมเกณฑดานนี้ และกลุมเกณฑดานนี้ยังเปนจุดแข็ง ของเทศบาลตําบลขามใหญอีกดวย โดยขอมูลเบื้องตนในการใหบริการ

ตารางที่<br />

คาเฉลี่ยของตัวชี้วัดในแตละกลุมเกณฑ<br />

เกณฑ ท.ต.อุบลฯ ท.ต.ขามใหญ ท.ต.ปทุม<br />

การนําระบบประกันคุณภาพมาใช 3.9 3.6 3.5<br />

คุณภาพการใหบริการ 4.2 4.5 4.1<br />

ชองทางการใหบริการ 4.2 4.2 4.4<br />

ลักษณะทางกายภาพ 4.6 4.3 4.3<br />

ผลลัพธการดําเนินการ 3.9 3.5 3.6<br />

* คาที่แรเงาคือคาที่ดีที่สุดซึ่งจะใชเปนคาอางอิงตอไป<br />

3.3 การวิเคราะห(Analysis)<br />

นําขอมูลที่ไดจากตารางที่<br />

5 มาสรางแผนภูมิเรดาหเพื่อการ<br />

วิเคราะหผลโดยเปรียบเทียบระหวางเทศบาลทั้ง<br />

3 แหงโดยกําหนดคา<br />

ความคาดหวังที่<br />

3.5 ดังรูปที่<br />

4<br />

รูปที่<br />

4 แผนภูมิเรดารเปรียบเทียบคะแนนในแตละเทศบาล<br />

กอนปรับปรุง<br />

จากแผนภูมิเรดาหจะเห็นไดวาเกณฑการประเมินในแตละ<br />

ดานเทศบาลตัวอยางทั้ง<br />

3 แหงผานเกณฑคาคาดหวังคือ 3.5 ซึ่งแตละ<br />

เทศบาลมีจุดเดนในแตละเกณฑตางกัน ซึ่งจะถือไดวาเทศบาลที่มีคะแนน<br />

ในแตละดานที่ต่ํากวามีความแปรปรวนในการปฏิบัติงานสูงกวาเทศบาล<br />

ที่มีคะแนนสูงสุด<br />

3.4 การปรับปรุงพัฒนา(Improve)<br />

เนื่องจากหนวยงานเทศบาลแตละแหงเปนหนวยงานของ<br />

รัฐบาล จึงไมมีการแขงขันเชิงผลประโยชน ดังนั้นวิธีการเทียบเคียง<br />

สมรรถนะ(Benchmarking) จึงเปนวิธีที่เหมาะสมประหยัดทรัพยากรใน<br />

การศึกษาเรียนรูเพื่อการพัฒนา<br />

โดยแบงเปนขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

373<br />

3.4.1 รวมมือระหวางองคกรเพื่อสรางคาอางอิง<br />

(Collaborative<br />

Benchmarking) โดยกําหนดคาที่ดีที่สุดในแตละเกณฑ<br />

เปนคาอางอิงดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

5<br />

3.4.2 เปรียบเทียบระบบและวิธีการดําเนินงาน (Process<br />

Benchmarking) โดยการศึกษาวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุด(Best<br />

Practice) และ<br />

นําวิธีนั้นมาเปนตนแบบการปฏิบัติงาน<br />

จากหนวยงานซึ่งปฏิบัติใน<br />

เกณฑนั้น<br />

ๆ ไดดีที่สุดหรือหนวยงานผูไดรับการประเมินใหเปนคาอางอิง<br />

ในเกณฑนั้น<br />

ๆ นั่นเอง<br />

3.4.3 หาจุดแข็งขององคกรโดยการเปรียบเทียบภายในองคกร<br />

(Internal Benchmarking) เริ่มจากการหาคาคะแนนถวงน้ําหนักของแตละ<br />

เกณฑดังสมการที่<br />

1<br />

คะแนนถวงน้ําหนัก<br />

= น้ําหนัก<br />

x คะแนนประเมิน (1)<br />

หากเกณฑใดมีคะแนนถวงน้ําหนักมากเปนอันดับตน<br />

ๆ ทาง<br />

องคกรสามารถนําพิจาณาใชเปนจุดแข็งดังตารางที่<br />

6 เพื่อวางกลยุทธการ<br />

ดําเนินงานตอไปได<br />

ตารางที่<br />

6 คาเฉลี่ยของตัวชี้วัดในแตละกลุมเกณฑ<br />

เกณฑ น้ําหนักเกณฑ<br />

(%) ท.ต.อุบลฯ คะแนนถวงน้ําหนัก<br />

การนําระบบประกันคุณภาพมาใช 24.2 3.9 0.9438<br />

คุณภาพการใหบริการ 20.5 4.2 0.861<br />

ชองทางการใหบริการ 13.9 4.2 0.5838<br />

ลักษณะทางกายภาพ 12.2 4.6 0.5612<br />

ผลลัพธการดําเนินการ 9.3 3.9 0.3627<br />

* คาที่แรเงาคือคาที่ดีที่สุดซึ่งจะใชกําหนดเปนจุดแข็งขององคกร<br />

3.5 การควบคุม(Control)<br />

ผูวิจัยไดการวางระบบควบคุมติดตามโดยเลือกกลุมเกณฑที่<br />

แตละเทศบาลไดรับการประเมินใหเปนคาอางอิง หรือเปนจุดแข็งของ<br />

องคกร นํามาจัดทําเปนมาตรฐานการทํางาน (Work Instruction) เพื่อเปน<br />

ตนแบบของการปฏิบัติที่ดีที่สุด<br />

(Best Practice) ใหแกเทศบาลอื่น<br />

และสามารถใชควบคุมการทํางานใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน<br />

ผูวิจัยไดทดลองโดยใหเทศบาลตําบลขามใหญทํามาตรฐาน<br />

การทํางานในกลุมเกณฑคุณภาพการใหบริการโดยสรางมาตรฐานการ<br />

ตอนรับผูมาใชบริการตลอดจนวิธีการแนะนําขั้นตอนการทํางานตาง<br />

ๆ<br />

ตามที่เคยปฏิบัติ<br />

เนื่องจากเทศบาลตําบลขามใหญเปนตนแบบของการ<br />

ปฏิบัติที่ดีที่สุดในกลุมเกณฑดานนี้<br />

และกลุมเกณฑดานนี้ยังเปนจุดแข็ง<br />

ของเทศบาลตําบลขามใหญอีกดวย โดยขอมูลเบื้องตนในการใหบริการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!