30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2.3.2 กลุมพนักงานในองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชแนวทาง<br />

7S<br />

Model ของ Macency และ หลักการจัดการที่มีประสิทธิภาพของ<br />

Fayol<br />

ในการสรางเกณฑการประเมินคุณภาพการบริการ<br />

2.3.3 กลุมประชาชนในพื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นใชแนวทาง<br />

สวนประสมทางการตลาดบริการ (7P) และ แนวคิดคุณภาพการ<br />

ใหบริการ (Service Quality) ในการสรางเกณฑการประเมินคุณภาพการ<br />

ใหบริการ<br />

2.4 การปรับลดเกณฑในแตละกลุม<br />

ตารางที่<br />

4 ปจจัยที่และตัวชี้วัดสมรรถนะที่เหมาะสม<br />

ปจจัยหลัก ปจจัยยอย ตัวชี้วัด<br />

ผูกําหนดนโยบาย<br />

การนําระบบประกัน ระดับความสําเร็จของการจัดทํามาตรฐาน<br />

(ปจจัยและตัวชี้วัด คุณภาพมาใช ระดับการสํารวจความคิดเห็นของประชาชน ตามแนวทาง มิติ ผลลัพธการดําเนินการ ประสิทธิภาพ<br />

ของ กพร.และ ประสิทธิผล<br />

PMQA) ระดับความสําเร็จการวัด วิเคราะหดานบุ คคล<br />

พนักงานในองคกร โค รงสราง ระดับความชัดเจนในอํานาจหนาที่ และ<br />

(ปจจัยและตัวชี ้วัด ความรับผิดชอบ<br />

ตามแนวทาง 7S ระดับทิศทางการบังคับบัญชาที่เปนเอกภาพ<br />

และ Fayol) ระบ บการจั ดการ ระดับความสําเร็จของการวางแผนยุทธศาสตร<br />

ระดับความเหมาะสมขอคาตอบแทน<br />

พนั กงาน ระดับความความเสมอภาค<br />

ระดับความความมั่นคง<br />

ระดับความความคิดริเริ่ม<br />

คานิ ยมรวม ระดับการรับรูดานความสามัคคี<br />

ระดับการรับรูดานเห็<br />

นแกผลประโยชน สวนรวม<br />

ระดับการรับรูดานระเบี<br />

ยบ วินัย<br />

ประชาชน คุณภาพการใหบริการ ระดับความพึงพอใจ ดาน อัธยาศัย<br />

(ปจจัยและตัวชี ้วัด การเอาใจใสและความสุภาพเรียบรอย<br />

ตามแนวทาง 7p ระดับความพึงพอใจ ดานความรวดเร็ว<br />

และ Service ระดับความพึงพอใจ ดานความสามารถในการ<br />

Quality) ตอบส นองผูใชบริการของเจาหนาที่<br />

ชองทางการใหบริการ ระดับความพึงพอใจ ดานความเพี ยงพอและ<br />

ความหลากหลายของชองทางการให บริการ<br />

ระดับความพึงพอใจ ดานขั้นตอนในชองทาง<br />

การใหบริการมีความชัดเจน ไมยุงยาก<br />

ซับซอน<br />

ลักษณะทางกายภาพ ระดับความพึงพอใจ ดานการจัดสิ่งอํานวย<br />

ที่สามารถจับตองได ความสะดวกในสถานที ่ใหบริการ เชน<br />

ที่จอดรถ น้ําดื่ม<br />

ระดับความพึงพอใจ ดานเครื่องมือ<br />

/ระบบใน<br />

การบริการขอมูลส ารส นเทศ ระดับความพึงพอใจ ดานความสะอาด และ<br />

ปลอดภัยของอาคารสถานที่<br />

ราค า ระดับความพึงพอใจ ดานคาใชจายในการ<br />

ใชบริการ<br />

เมื่อไดที่มาของเกณฑการประเมินคุณภาพการใหบริการที่<br />

เหมาะสมที่สุดสําหรับแตละกลุมแลวทําการปรับลดเกณฑของแตละกลุม<br />

โดยระบุตัวแทนของแตละกลุมเปนกรรมการในการรวบรวมเกณฑที่มี<br />

ความคลายคลึงกัน โดยใชนักวิชาการผูมีประสบการณสอนดานรัฐ<br />

ประศาสนศาสตรเปนตัวแทนของกลุมผูกําหนดนโยบายฯ<br />

ใชตัวแทนผู<br />

ปฏิบัติหนาที่ใหบริการในองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนตัวแทนของ<br />

กลุมพนักงาน<br />

และใชตัวแทนจากสภาเทศบาลเปนตัวแทนของกลุม<br />

ประชาชน กลุมละสองคนใชเทคนิคการตัดสินใจแบบกลุม<br />

( Nominal<br />

Group Technique : NGT ) เพื่อขจัดตัวชี้วัดที่ซ้ําซอน<br />

และทําการจัดกลุม<br />

371<br />

ตัวชี้วัดและปจจัยรองที่อยูภายใตปจจัยหลักแตละดาน<br />

โดยใชเทคนิค<br />

แผนภาพความเกี่ยวโยง<br />

( Affinity Diagram ) ในการลดปจจัยที่มี<br />

ความสําคัญต่ํากวาระดับ<br />

3 จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการจัดกลุมตัวชี้วัด<br />

และปจจัยรองที่อยูภายใตปจจัยหลักแตละดานมาพัฒนาตัวชี้วัด<br />

โดยยึด<br />

เกณฑการตัดสินใจของ Keeny และ Raiffa คือเกณฑตองมีลักษณะ<br />

ครบถวน สมบูรณ ใชงานไดจริง สามารถพิจารณาแยกกันได ไมซ้ําซอน<br />

มีจํานวนนอยที่สุด<br />

การนําไปใชงานแบงลักษณะตรงและครอบคลุม<br />

สามารถนําไปปฏิบัติได โดยแบงสเกลคะแนนเปน 5 4 3 2 และ1<br />

ตามลําดับความสําคัญ แลวสงแบบสอบถามไปยังผูที่เกี่ยวของในการ<br />

พิจารณาคัดเลือกดัชนีชี้วัดสมรรถนะในเทศบาลกรณีศึกษา<br />

ไดพิจารณา<br />

ดัชนีชี้วัดสมรรถนะที่มีความเหมาะสมกับสภาพการปฏิบัติงานในองคกร<br />

รวมถึงการประชุมทบทวนวรรณกรรม สรุปไดดังตารางที่<br />

4<br />

2.5 กําหนดน้ําหนักความสําคัญของแตละปจจัย<br />

การกําหนดน้ําหนักความสําคัญของแตละปจจัยถือเปนสิ่งที่<br />

ตองทําและจําเปนตอการวัดสมรรถนะการดําเนินงาน โดยสามารถทราบ<br />

วาปจจัยตาง ๆ มีความสําคัญมากนอยหรือแตกตางกันเพียงใด ซึ่งผูวิจัยได<br />

เก็บขอมูลโดยการใชแบบสอบถาม สอบถามบุคลากรที่เกี่ยวของซึ่งใช<br />

การเชื่อมโยงวิสัยทัศน<br />

ภารกิจ และเปาหมาย ในการพิจารณา เพื่อให<br />

คะแนนน้ําหนักความสําคัญในแตละปจจัยและใชวิธีการเปรียบเทียบ<br />

ความสําคัญของปจจัยตาง ๆ เปนคู<br />

ๆ โดยใชเทคนิคกระบวนการวิเคราะห<br />

เชิงลําดับชั้น<br />

(Analytic Hierarchy Process: AHP) [8] ซึ่งสามารถ<br />

ประมวลผลขอมูลไดดวยซอฟตแวรสําเร็จรูป Expert Choice ดังรูปที่<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 การเปรียบเกณฑหลักในการตัดสินใจ<br />

จากรูปที่<br />

1 จะเห็นวามีคาดัชนีความสอดคลอง (Consistency<br />

Index) หรือคา Incon เทากับ 0.08 แสดงวาการเปรียบเทียบเกิดความ<br />

ขัดแยงอยูในระดับที่สามารถยอมรับได<br />

ผลการวิจัยพบวาปจจัยดานการ<br />

สนองตอมุมมองของประชาชนในพื้นที่ไดรับการกําหนดน้ําหนัก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!