30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ประเทศไทยในปจจุบัน การปกครองแบบรวมศูนยอํานาจมี<br />

ขีดจํากัด เนื่องจากการบริหารปกครองประเทศที่ประกอบไปดวย<br />

ประชากรมากมายและพื้นที่อันกวางไกล<br />

ทําใหการกําหนดศูนยกลางการ<br />

บริหารบานเมืองโดยรัฐบาลเปนผูออกนโยบายและสั่งการตามลําดับชั้น<br />

จนถึงผูปฏิบัติยอมเปนสิ่งที่เปนไปไดยาก<br />

หรือเกิดสภาพของความไม<br />

ประหยัดในเชิงขนาด (Diseconomies of scale) [1] จึงมีความจําเปนที่<br />

จะตองมีการถายเทอํานาจในทางการเมืองการปกครองใหอยูในองคกร<br />

หรือสถาบันที่อยูนอกศูนยกลางออกไปใกลชิดกับประชาชนมากยิ่งขึ้น<br />

ดวยเหตุนี้องคกรปกครองทองถิ่นจึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งดังที่รัฐบาล<br />

ทุกรัฐบาลใหความสําคัญมาโดยตลอด โดยมีเหตุผลหลักคือ 1) ชวย<br />

ตอบสนองตอปญหาและความตองการของชุมชนภายในทองถิ่น<br />

2)ชวย<br />

สรางเสริมความรูความเขาใจในทางการเมืองเปนสถาบันฝกสอน<br />

ประชาธิปไตยใหประชาชน 3) สรางการมีสวนรวม (Participation) การมี<br />

อยูของรัฐบาลในระดับทองถิ่นหรือในระดับภูมิภาค<br />

4) สรางความชอบ<br />

ธรรม (Legitimacy) ในการตัดสินใจในนโยบายทองถิ่น5)<br />

ดํารงหลัก<br />

เสรีภาพ (Liberty) อันจะนําไปสูการสรางโครงขายของการตรวจสอบ<br />

และถวงดุลอํานาจซึ่งกันและกัน<br />

(Checks and Balances) ระหวาง<br />

ศูนยกลางกับพื้นที่นอกศูนยกลาง<br />

[2]<br />

เพื่อตอบสนองเหตุผลดังกลาว<br />

องคกรปกครองทองถิ่นจึงควร<br />

มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง<br />

ซึ่งในการพัฒนาในดานตาง<br />

ๆ จําเปนตองใช<br />

เครื่องมือในการวัดหรือประเมินที่เหมาะสม<br />

ดังนั้นเกณฑในการประเมิน<br />

สมรรถนะขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจึงความสําคัญเปนอยางยิ่ง<br />

ซึ่ง<br />

ในปจจุบันเครื่องมือการประเมินองคกรปกครองสวนทองถิ่นสวนใหญ<br />

มาจากรัฐบาลหรือหนวยงานผูออกนโยบายเทานั้น<br />

แตมิไดมาจากผูที่มี<br />

สวนไดสวนเสีย(Strake Holder) ครบทั้งวงจรในแตละทองถิ่นนั้น<br />

ๆ ซึ่ง<br />

หลักในการสรางมาตรฐานการประเมินที่ดีนั้นควรสรางจากมุมมองของผู<br />

มีสวนไดสวนเสียทุก ๆ สวนซึ่งในที่นี้ไดแก<br />

ผูกําหนดนโยบาย<br />

พนักงาน<br />

และ ผูใชบริการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

ผูวิจัยไดเล็งเห็นปญหา<br />

ดังกลาว จึงทําการวิจัยเพื่อพัฒนาเกณฑการประเมินเพื่อความสําเร็จหลัก<br />

โดยมีที่มาของเกณฑจากหลักการจัดการซึ่งสอดคลองกับมุมมองของผูมี<br />

สวนไดสวนเสียในแตละฝาย โดยไดรับความอนุเคราะหจากองคกร<br />

ปกครองสวนทองถิ่นตัวอยางเพื่อใชในการศึกษาวิจัย<br />

1.2 วัตถุประสงค<br />

1.2.1 เพื่อประเมินและพัฒนาเกณฑการประเมินคุณภาพการ<br />

ใหบริการ<br />

369<br />

1.2.2 เพื่อหาแนวทางการเพิ่มสมรรถนะการดําเนินงานขององคกร<br />

ปกครองสวนทองถิ่น<br />

1.2.3 เพื่อประยุกตใชหลักวิทยาศาสตรการตัดสนใจการเพิ่ม<br />

สมรรถนะการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

1.3 ขอบเขตของการวิจัย<br />

การวิจัยครั้งนี้ศึกษาประเด็นดานคุณภาพการใหบริการของ<br />

องคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

ในองคกรตัวอยางคือเทศบาล 3 แหงใน<br />

อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งตั้งอยูในลักษณะพื้นที่สังคมไม<br />

แตกตางกัน<br />

1.4 ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย<br />

ในการดําเนินการวิจัยผูวิจัยไดดําเนินการจัดลําดับการ<br />

ดําเนินงานและหลักการที่ใชในการเพิ่มสมรรถนะการดําเนินงานของ<br />

องคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

ดังแสดงตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 ขั้นตอนและหลักการดําเนินการ<br />

1.5 งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

อภิธีร ทรงบัณฑิตย[3] ไดพัฒนาแบบประเมินสถานศึกษา<br />

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยใชแนวการประกันคุณภาพการศึกษา<br />

ระบบมัลคอมบัลดริจ ตามมิติผลลัพธปจจัยในประเมิน 4 ดาน คือ 1.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!