30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

368<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การเพิ่มสมรรถนะการดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

กรณีศึกษาการประยุกตใชหลักวิทยาศาสตรการตัดสินใจ<br />

Increasing Performance of Local Government Organization:<br />

Case Study of Decision Science Principle<br />

คณิศร ภูนิคม 1 และภีม พรประเสริฐ 2*<br />

1 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี<br />

ถ.สถลมารค ต.ศรีไค อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 E-mail: 1 dr.kanisorn@gmail.com<br />

2* สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี<br />

ถ.ราชธานี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 E-mail: 2* peema2000@yahoo.com<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางการเพิ่มสมรรถนะ<br />

การดําเนินงานขององคกรปกครองสวนทองถิ่น<br />

การดําเนินการวิจัยเริ่ม<br />

จากศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของและเกณฑการประเมินทั่วไป<br />

คัดเลือกประเด็น<br />

ปญหาโดยวิธีการจัดน้ําหนักความสําคัญ<br />

รวบรวมเกณฑที่เกี่ยวของกับ<br />

การประเมิน สรางเกณฑการประเมินที่เหมาะสมสําหรับผูมีสวนไดสวน<br />

เสีย 3 ดานตามทฤษฎีระบบ คือ ดานผูออกนโยบาย<br />

ดานผูปฏิบัติงาน<br />

ดานผูรับบริการ<br />

จากนั้นใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมในการ<br />

ปรับลดเกณฑ และกําหนดความสําคัญของตัวชี้วัดในแตละเกณฑโดย<br />

ประยุกตใชกระบวนการวิเคราะหเชิงลําดับชั้น<br />

หลังจากนั้น<br />

ใหผูเชียว<br />

ชาญตรวจสอบอีกครั้งและนําไปทดลองใชประเมินเทศบาล<br />

3 แหง เพื่อ<br />

หาแนวทางการปรับปรุงพัฒนา ตามหลักการซิกส ซิกมา และทําการ<br />

เปรียบเทียบผลการปฏิบัติหาเทศบาลซึ่งมีวิธีปฏิบัติที่เปนเลิศในแตละ<br />

เกณฑเพื่อเปนตนแบบในเกณฑนั้นหลังจากทดลองแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติ<br />

ระหวางองคกรในเกณฑดานคุณภาพการใหบริการ ผลปรากฏวาคาเฉลี่ย<br />

ความพึงพอในเพิ่มขึ้นจาก<br />

83.33% เปน 89.33% ผลการวิจัยแสดงใหเห็น<br />

วาการประยุกตใชหลักวิทยาศาสตรการตัดสินใจโดยการคัดเลือกกรอบ<br />

ทฤษฎีที่เหมาะสมซึ่งพิจารณาจากผูมีผลกระทบในระบบนั้นเปนการให<br />

ความสําคัญตอความตองการของลูกคาทั้งภายในและภายนอกทําใหได<br />

เกณฑการประเมินที่ครอบคลุม<br />

เกิดการแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติระหวาง<br />

องคการทําใหผลการประเมินมีคาสูงขึ้น<br />

ในระยะเวลาอันสั้น<br />

คําสําคัญ: ตัวชี้วัด,<br />

องคกรปกครองสวนทองถิ่น,<br />

กระบวนการลําดับชั้น<br />

เชิงวิเคราะห<br />

Abstract<br />

This research objective is an increasing performance of<br />

local government organization. The research method begins with<br />

literature and general evaluation review then selected the problem<br />

issues by weighting priority method, collection, create an appropriate<br />

evaluation criteria for 3 stakeholders by followed the system theory<br />

what are the policy maker, provider and customer. And then determine<br />

the appropriate reduction criteria by specialist and set the importance<br />

criteria by applied an analytic hierarchy process. After that rechecked it<br />

again by specialist and try to evaluation at 3 municipalities for<br />

development guidelines in six sigma principle. And then compare the<br />

evaluation result for find the best practice in each municipalities. After<br />

the municipalities tried to exchange practices between organizations in<br />

case of service quality. That result the average of satisfaction increase<br />

from 83.33% to 89.33% .The research results shows that an application<br />

to decision since principle by selection of an appropriate theoretical<br />

framework which is determined by the stakeholder in the system. This<br />

emphasis on the needs of both internal and external customers make a<br />

comprehensive evaluation criteria. Fostering the exchange of practices<br />

between organizations made to the evaluation result was high. In a short<br />

time.<br />

Keywords: Indicators, Local Government Organization, Analytic<br />

Hierarchy Process<br />

1. บทนํา<br />

1.1 ที่มาของปญหา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!