30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

อนึ่งในการศึกษาถึงคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ<br />

(Coefficient<br />

2<br />

of Determination: R ) ซึ่งเปนคาที่บอกถึงสัดสวนหรือรอยละที่ตัวแปร<br />

อิสระสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม<br />

วามีผลตอความ<br />

กวางของแถบความเชื่อมั่นแบบวิธีจุดอิสระนี้หรือไมอยางไร<br />

ผูวิจัยได<br />

ลองทํ าการจํ าลองข อมู ลขึ้<br />

นมาจากตั วแบบ<br />

y = β + β x + β x + ε โดยจําลองตัวแปรอิสระและคาความ<br />

0 1 1 2 2<br />

ผิดพลาดขึ้นมาดังนี้<br />

x1 N(0,1) , x2 N(0,1)<br />

และ ε N(0,1)<br />

สวนคาสัมประสิทธิ์ของตัวแบบการถดถอย<br />

β0, β1<br />

และ β 2 เปนคาที่<br />

สามารถกําหนดได<br />

ผลการทดลองในขั้<br />

นตนผู วิ จั ยจะกําหนดให 2<br />

β0 = β1 = β2<br />

= 0.1 และทําการจําลองขอมูลเพื่อหาคา<br />

R ปรากฏวา<br />

2<br />

R มีคาคอนขางนอยมาก สวนความกวางของแถบความเชื่อมั่นใน<br />

ระนาบที่<br />

1 มีคาโดยประมาณเทากับ 1<br />

ตอมาไดทําการเปลี β = β = β = 1 และจําลอง<br />

่ยนให 0 1 2<br />

2<br />

2<br />

ขอมูลเพื่อหาคา<br />

R ปรากฏวาคา R มีคาเพิ่มมากขึ้น<br />

แตความกวางของ<br />

แถบความเชื่อมั่นในระนาบที่<br />

1 ยังคงมีคาโดยประมาณเทากับ 1<br />

เหมือนเดิม<br />

สุดทายจึงไดลองทําการสุมขอมูลใหม<br />

โดยที่ยังให<br />

β0 = β1 = β2<br />

= 0.9 เพียงแตเปลี่ยนคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน<br />

ของ ε ใหมีคาเพิ่มขึ้นกลายเปน<br />

10 ปรากฏวาความกวางของแถบความ<br />

เชื่อมั่นในระนาบที่<br />

1 เพิ่มขึ้นและมีคาโดยประมาณเทากับ<br />

10 ซึ่งใกลเคียง<br />

กับคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ<br />

ε จากการทดลองดังกลาวจึงสรุป<br />

2 ไดวาคา R ไมนาจะมีผลกระทบตอความกวางของแถบความเชื่อมั่น<br />

แบบวิธีจุดอิสระแตอยางใด<br />

บรรณานุกรม<br />

[1] Working H. and Hotelling H., “Applications of the theory of error<br />

to the interpretation of trends”, Journal of the American Statistical<br />

Association, 24, 73 - 85, 1929.<br />

[2] Graybill F.A. and Bowden D.C., “Linear Segment Confidence<br />

Bands for Simple Linear Regression Models”, Journal of the<br />

American Statistical Association, 62, 403 - 408, 1967.<br />

[3] Gafarian A.V., “Confidence Bands in Straight Line Regression”,<br />

Journal of the American Statistical Association, 59, 182 - 213,<br />

1964.<br />

367<br />

[4] Scheffé H., “A method for judging all contrasts in analysis of<br />

variance”, Biometrika, 40, 87 - 104, 1953.<br />

[5] Hayter A.J., Kiatsupaibul S., Liu W. and Wynn H.P., “An<br />

Independence Point Method of Confidence Band Construction for<br />

Multiple Linear Regression Models”, 2010, forthcoming.<br />

[6] Kimball A.W., “On dependent tests of significance in analysis of<br />

variance”, Annals of Mathematical Statistics, 22, 600 - 602, 1951.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!