30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

361<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การหาจุดอิสระที่เหมาะสมที่สุดเพื่อสรางแถบความเชื่อมั่นแบบเชิงเสนเปนชวง<br />

สําหรับตัวแบบการถดถอยเชิงเสนพหุ<br />

Optimal Independence Points for Piecewise Linear Confidence Band Construction<br />

for Multiple Linear Regression Models<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อคํานวณหาจุดอิสระที่เหมาะสม<br />

ที่สุดเพื่อนําไปสรางแถบความเชื่อมั่นสําหรับตัวแบบการถดถอยเชิงเสน<br />

พหุเมื่อมีจํานวนตัวแปรอิสระ<br />

2 ตัวแปร ซึ่งในกรณีดังกลาวจุดอิสระใดๆ<br />

จะเปนฟงกชันของจุดที่มีระยะหางเทากันบนเสนรอบวงของวงกลมหนึ่ง<br />

หนวยที่มีจุดศูนยกลางที่จุดกําเนิด<br />

ซึ่งจุดเหลานี้สามารถแทนดวยมุม<br />

ระหวางเวกเตอรของจุดใดๆ บนเสนรอบวงกลมดังกลาวกับแกน<br />

แนวนอนได โดยเกณฑการตัดสินใจคือเลือกใชมุมที่ทําใหบริเวณคอน<br />

เวกซของจุดอิสระสามารถคลุมจุดขอมูลไดมากที่สุด<br />

ดวยเกณฑดังกลาว<br />

แถบความเชื่อมั่นที่สรางขึ้นจะมีอรรถประโยชนเทียบกับขอมูลสูงที่สุด<br />

คําสําคัญ: การถดถอยเชิงเสนพหุ, แถบความเชื่อมั่น,<br />

การวิเคราะห<br />

บริเวณคอนเวกซ<br />

Abstract<br />

The objective of this research is to compute an optimal set of<br />

independence points for confidence band construction for multiple<br />

linear regression models of two independent variables. In this case, any<br />

set of independence points can be written as a function of a set of<br />

equidistant points on the circumference of the unit circle with center at<br />

the origin. These points can be represented by the angle between the<br />

vector of any single point on a unit circle and the horizontal axis. The<br />

decision criterion is to choose the angle that maximizes the number of<br />

data covered by the convex hull formed by the independence points. In<br />

this way, the utilization of the constructed confidence band is optimized<br />

with respect to the data set.<br />

Keywords: Multiple Linear Regression, Confidence Bands, Convex<br />

Analysis<br />

ธีรุฒม สุขสกุลวัฒน 1 และเสกสรร เกียรติสุไพบูลย 2<br />

1,2<br />

ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

254 ถ.พญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

E-mail: 1 issac_1234@hotmail.com, 2 seksan@acc.chula.ac.th<br />

1. บทนํา<br />

ในการวิเคราะหทางสถิติ แถบความเชื่อมั่น<br />

(Confidence<br />

Bands) เปนเครื่องมือหนึ่งในการแสดงถึงความคลาดเคลื่อนของการ<br />

ประมาณเสนโคงหรือฟงกชันบนพื้นฐานของขอมูลที่ถูกจํากัดหรือโดน<br />

รบกวน ซึ่งโดยปกติแถบความเชื่อมั่นจะถูกใชเพื่อวิเคราะหตัวแบบการ<br />

ถดถอยและนําเสนอผลลัพธทางสถิติออกมาในเชิงกราฟกโดยแรกเริ่ม<br />

เปนการศึกษาเพื่อใชสําหรับตัวแบบการถดถอยเชิงเสนอยางงายเทานั้น<br />

ซึ่งมีอยู<br />

3 แบบที่ไดรับการยอมรับมากที่สุด<br />

คือ แถบความเชื่อมั่นแบบ<br />

ไฮเพอรโบลาของ Working & Hotelling [1] แบบสองเซกเมนตของ<br />

Graybill & Bowden [2] และแบบสามเซกเมนตของ Gafarian [3]<br />

ตอมาจึงมีการขยายแนวคิดเพื่อนําไปใชกับตัวแบบการถดถอยเชิงเสนพหุ<br />

ซึ่งแบบที่เปนที่รูจักโดยทั่วไปก็คือแถบความเชื่อมั่นแบบไฮเพอรโบลิ<br />

กของ Scheffé [4] ซึ่งพัฒนามาจากแบบไฮเพอรโบลา<br />

แตเนื่องจากแถบ<br />

ความเชื่อมั่นดังกลาวมีลักษณะเปนเสนโคง<br />

ทําใหเกิดความซับซอนใน<br />

การประยุกตใชงาน จึงเปนสาเหตุใหมีผูคิดคนวิธีใหมขึ้นมา<br />

ซึ่งก็คือการ<br />

สรางแถบความเชื่อมั่นแบบวิธีจุดอิสระของ<br />

Hayter A.J., Kiatsupaibul S.,<br />

Liu W. และ Wynn H.P. [5] ซึ่งพัฒนามาจากแบบสามเซกเมนต<br />

โดยที่<br />

แถบความเชื่อมั่นแบบวิธีจุดอิสระจะมีลักษณะเปนเชิงเสนเปนชวง<br />

(Piecewise Linear) ทําใหงายและยืดหยุนตอการประยุกตใชงานมากกวา<br />

แบบไฮเพอรโบลิก โดยกระบวนการที่สําคัญของวิธีนี้ก็คือการหาจุด<br />

อิสระ ซึ่งมิไดมีหนึ่งเดียว<br />

(unique) และมีเปนจํานวนนับไมได จึง<br />

กอใหเกิดลักษณะทางกายภาพของแถบความเชื่อมั่นที่แตกตางกัน<br />

ใน<br />

งานวิจัยชิ้นนี้จึงตองการคํานวณหาจุดอิสระที่เหมาะสมที่สุดเพื่อนําไป<br />

สรางแถบความเชื่อมั่นสําหรับตัวแบบการถดถอยเชิงเสนพหุเมื่อมีจํานวน<br />

ตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร โดยเกณฑการตัดสินใจคือเลือกใชจุดอิสระที่ทํา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!