30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

=<br />

= (4)<br />

เนื่องจาก<br />

ซึ่งมีความสมมาตร<br />

โดยที่<br />

คือ ฟงกชันการแจกแจงสะสมของตัวแปรสุมที่มีการแจกแจง<br />

แบบปกติ<br />

จากสมการที่<br />

(4) จะเห็นวาเมื่อกําหนดใหทราบคาปจจัยเกาซ<br />

เซียนคอพพูลา เปนตัวแปรที่ทราบคา<br />

จะสงผลใหเกิดความเปน<br />

อิสระกันของขอมูล และพบวาตัวแบบเกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบ<br />

พลวัต นี้ก็คือ<br />

ตัวแบบโพรบิทแบบพลวัต นั่นเอง<br />

3. วิธีการดําเนินงานวิจัย<br />

เริ่มจากการศึกษาความแตกตางระหวาง<br />

ตัวแบบโพรบิทแบบ<br />

พลวัต และตัวแบบเกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบพลวัต วิเคราะหโดย<br />

ใชโปรแกรม R มีขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

1. ทําการจําลองขอมูลจริงตามตัวแบบเกาซเซียนคอพพูลา<br />

โพรบิทแบบพลวัต เมื่อเราทราบพารามิเตอรที่แทจริง<br />

โดยใหตัวแปรตาม<br />

ในแตละคาสังเกตในชวงเวลาเดียวกันมีความสัมพันธกันดวยปจจัยคอพพู<br />

ลาเดียวกัน และตัวแปรตามในแตละคาสังเกตในชวงเวลาที่ตางกันเปน<br />

อิสระกัน ผานคาสหสัมพันธตาง ๆ โดยสรางขอมูลตามขอบเขตของการ<br />

วิจัยดังตารางที่<br />

1<br />

2. จากการจําลองขอมูลในขอ 1 ลักษณะของขอมูลที่ใชเปน<br />

การศึกษาแบบติดตามผลคือ จะสังเกตขอมูลตั้งแตเริ่มเขามาในชวงเวลา<br />

ของการสังเกตจนกระทั่งเกิดเหตุการณที่สนใจ<br />

หรือสิ้นสุดเวลาของหนวย<br />

ตัวอยางนั้น<br />

หรือสิ้นสุดชวงเวลาของการศึกษา<br />

จะไดตัวแปรตาม ซึ่งเปน<br />

ตัวแปรเชิงคุณภาพที่มีคาไดเพียง<br />

2 คา คือ 0 และ 1<br />

3. จากขอมูลการจําลองในขอ 2 ทําการเปรียบเทียบระหวาง<br />

2 ตัวแบบคือ ตัวแบบโพรบิทแบบพลวัตเมื่อไมมีปจจัยคอพพูลา<br />

และตัว<br />

แบบโพรบิทแบบพลวัตเมื่อมีปจจัยคอพพูลา<br />

โดยพิจารณาตัวชี้วัดตอไปนี้<br />

3.1 การจัดอันดับ (Ranking) ในแตละตัวแบบคํานวณคา<br />

สหสัมพันธระหวางอันดับจากตัวแบบนั้น<br />

ๆ กับอันดับจากตัวแบบจริง<br />

356<br />

และพิจารณาความแตกตางระหวางสหสัมพันธอันดับที่คํานวณไดจาก<br />

2 ตัวแบบ<br />

3.2 มูลคาความเสี่ยง<br />

(Value at Risk) ในแตละตัวแบบคํานวณ<br />

มูลคาความเสี่ยงซึ่งคือเปอรเซ็นตไทลที่<br />

99 ของอัตราคางชําระจากตัว<br />

แบบนั้น<br />

ๆ และพิจารณาความแตกตางระหวางมูลคาความเสี่ยงใน<br />

3<br />

ชวงเวลาถัดไปที่คํานวณไดจาก<br />

2 ตัวแบบ<br />

4. สรุปผลงานวิจัย<br />

่ ตารางที 1 ขอบเขตของการวิจัย<br />

ขอบเขตการวิจัย สัญลักษณ กําหนดขอบเขต<br />

ตัวแปรตาม (2 คา) 1 และ 0<br />

ตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร<br />

่<br />

์<br />

ปจจัยเกาซเซียนคอพพูลา<br />

พารามิเตอรคาคงที<br />

-1.28<br />

พารามิเตอรสัมประสิทธิ<br />

-1.41<br />

1.41<br />

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

0.1, 0.5, 0.7<br />

จํานวนระยะเวลา m 3 ชวงเวลา<br />

จํานวนหนวยตัวอยาง n 1,000 (ตอชวงเวลา)<br />

จํานวนการทําซ้ํา<br />

Simulate 100 รอบ<br />

4. ผลการวิจัย<br />

ในงานวิจัยนี้จะใชสัญลักษณ<br />

HCopula_Real แทน ตัวแบบ<br />

เกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบพลวัต จากพารามิเตอรจริง หรือ จะเรียก<br />

โดยยอวา ตัวแบบจริง ใชสัญลักษณ HCopula_Est แทน ตัวแบบเกาซ<br />

เซียนคอพพูลาโพรบิทแบบพลวัต จากพารามิเตอรประมาณ และ H_Est<br />

แทน ตัวแบบโพรบิทแบบพลวัต จากพารามิเตอรประมาณ โดยแสดง<br />

ผลการวิจัย 2 หัวขอ คือ การจัดอันดับของคะแนนสินเชื่อ<br />

และมูลคาความ<br />

เสี่ยงตามลําดับ<br />

ดังนี้<br />

4.1 การจัดอันดับของคะแนนสินเชื่อ<br />

การจัดอันดับคะแนนสินเชื่อ<br />

นําความนาจะเปนที่จะเกิดการ<br />

ผิดนัดชําระหนี้มาทําการจัดอันดับ<br />

(Ranking) ในงานวิจัยนี้สนใจศึกษาวา<br />

เมื่อขาดปจจัยเกาซเซียนคอพพูลาในตัวแบบโพรบิทแบบพลวัต<br />

ซึ่งมักพบ<br />

ในการประยุกตใชงานจริง จะทําใหการจัดอันดับของคะแนนสินเชื่อของ<br />

ลูกคาผิดพลาดหรือไมโดยถือวาการจัดอันดับคะแนนสินเชื่อจากตัวแบบ<br />

เกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบพลวัตเปนการจัดอันดับที่ถูกตอง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!