30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

354<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การเปรียบเทียบการจัดอันดับและมูลคาความเสี่ยง<br />

ระหวางตัวแบบโพรบิทแบบพลวัต และตัวแบบเกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบพลวัต<br />

A Comparison on Ranking and Value at Risk<br />

between the Hazard Probit Model and the Hazard Probit with Gaussian Copula Model<br />

ศรัณยา สมทรง 1 และเสกสรร เกียรติสุไพบูลย 2<br />

1, 2<br />

ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

254 ถนน พญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330<br />

โทรศัพท/โทรสาร: 084-655-7224 E-mail: 1 Sarunya.ss@hotmail.com, 2 Seksan@acc.chula.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปรียบเทียบการจัดอันดับคะแนน<br />

สินเชื่อและมูลคาความเสี่ยงของตัวแบบคะแนนสินเชื่อ<br />

2 ตัวแบบ คือ ตัว<br />

แบบโพรบิทแบบพลวัต และตัวแบบเกาซเซียนคอพพูลาโพรบิทแบบ<br />

พลวัต โดยทําการศึกษาจากขอมูลจําลอง ภายใต 3 เงื่อนไข<br />

เงื่อนไขแรก<br />

คือ ขอมูลเปนแบบพลวัตซึ่งมีหลายชวงเวลา<br />

เงื่อนไขที่สอง<br />

ตัวแปรตาม<br />

เปนตัวแปรเชิงคุณภาพที่มีเพียง<br />

2 คา โดยใหคาสังเกตของตัวแปรตามใน<br />

ชวงเวลาเดียวกันมีความสัมพันธกันดวยปจจัยคอพพูลาเดียวกัน และคา<br />

สังเกตของตัวแปรตามในชวงเวลาที่ตางกันเปนอิสระกัน<br />

และเงื่อนไขที่<br />

สาม ตัวแปรอิสระมีจํานวน 2 ตัวแปร ซึ่งมีการแจกแจงแบบปกติ<br />

มาตรฐาน จากการวิเคราะหผลการจําลองพบวาการจัดอันดับคะแนน<br />

สินเชื่อจากสองตัวแบบไมแตกตางกัน<br />

ในขณะที่มูลคาความเสี่ยงที่<br />

คํานวณจากสองตัวแบบแตกตางกัน<br />

คําสําคัญ: ตัวแบบโพรบิท, เกาซเซียนคอพพูลา, มูลคาความเสี่ยง<br />

Abstract<br />

The objective of this research is to compare the ranking of<br />

the fitted scores and the value at risk (VaR) obtained from two credit<br />

scoring models: hazard probit model and hazard probit model with<br />

Gaussian copula. We perform our analysis on a simulated data set under<br />

3 model assumptions. First, the data set contains data in multiple<br />

periods. Second, the dependence variable is a binary variable. The<br />

observations of the dependence variable in the same period are<br />

correlated by a Gaussian copula factor. The observations of the<br />

dependent variables from different periods are independent. Third, there<br />

are two independence variables, which have standard normal<br />

distribution. From the analysis, the fitted credit scores from the two<br />

models are not different, but the values at risk from the two model are<br />

different.<br />

Keywords: Probit Model, Gaussian Copula, Value at Risk<br />

1. บทนํา<br />

ความเสี่ยงดานเครดิต<br />

(Credit Risk) เปนความเสี่ยงประเภท<br />

หนึ่งที่สําคัญในธุรกิจการเงิน<br />

เพราะมีผลอันสําคัญตอรายไดหลักและ<br />

ฐานะเงินกองทุนของสถาบันการเงิน การบริหารความเสี่ยงดานเครดิต<br />

อาศัยเครื่องมือทางสถิติเขามาชวยในการประเมินความเสี่ยง<br />

ไดแก การจัด<br />

อันดับคะแนนสินเชื่อ<br />

(Credit Scoring) และการคํานวณมูลคาความเสี่ยง<br />

(Value at Risk: VaR) อยางไรก็ตามการประเมินความเสี่ยงทั้งสองใช<br />

เครื่องมือสถิติที่มีขอสมมติที่ขัดแยงกัน<br />

โดยการจัดอันดับคะแนนสินเชื่อ<br />

มักมีขอสมมติวา การชําระหนี้ของลูกคาในแตละคาสังเกตเปนอิสระซึ่ง<br />

กันและกัน สวนการคํานวณมูลคาความเสี่ยงมักมีขอสมมติวา<br />

การชําระ<br />

หนี้ของลูกคาในแตละคาสังเกตมีความสัมพันธกัน<br />

ซึ่งทั้งการประเมิน<br />

ความเสี่ยงทั้ง<br />

2 ประเภทนี้จะพิจารณาจากความเสี่ยงที่เกิดจากการผิดนัด<br />

ชําระหนี้<br />

(Default Risk) เดียวกัน คือ โอกาสที่ลูกคาจะคางชําระเงินกู<br />

ภายในระยะเวลาที่กําหนด<br />

ปญหางานวิจัย คือ การแสดงวาการประเมิน<br />

ความเสี่ยงแบบใดบางที่จะถูกกระทบจากขอสมมติที่ขัดแยงกัน<br />

Tyler Shumway [1] อาศัยตัวแบบความถดถอยโลจิสติคแบบ<br />

พลวัต จัดอันดับคะแนนสินเชื่อของกลุมอุตสาหกรรมในประเทศ<br />

สหรัฐอเมริกา จากขอมูลตลาดหุนระหวางป<br />

ค.ศ. 1962 ถึง ค.ศ. 1992 ซึ่ง<br />

พบวาตัวประมาณที่ไดจากการวิเคราะหแบบพลวัตเปนตัวประมาณที่ไม<br />

เอนเอียง มีความคงเสนคงวา และใหเปอรเซ็นความถูกตองของการ<br />

พยากรณสูงกวาตัวแบบสถิตย Oldrich Alfons Vasicek [2] อาศัยตัวแบบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!