30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

New<br />

D<br />

High<br />

Cur<br />

0.96932 Low<br />

Composite<br />

Desirability<br />

0.96932<br />

Diameter<br />

Targ: 4.8725<br />

y = 4.8725<br />

d = 0.99868<br />

Roughnes<br />

Minimum<br />

y = 2.4416<br />

d = 1.0000<br />

Cycle Ti<br />

Minimum<br />

y = 42.3665<br />

d = 0.52670<br />

A<br />

B C D E<br />

2.0<br />

[1.1111]<br />

-2.0<br />

2.0<br />

[0.0606]<br />

-2.0<br />

2.0<br />

[1.8383]<br />

-2.0<br />

2.0<br />

[-0.4950]<br />

-2.0<br />

2.0<br />

[-0.4654]<br />

-2.0<br />

รูปที่<br />

4 Optimization Plot ของการวิเคราะหดวย Response Optimizer<br />

2.4 ยืนยันผลการวิเคราะหขอมูล<br />

ทําการยืนยันผลโดยนําคาพารามิเตอรที่เหมาะสม<br />

มาทําการ<br />

ทดลองผลิตจริง โดยทดลองและสุมเก็บชิ้นงานทั้งหมด<br />

20 ครั้ง<br />

และ<br />

บันทึกคาของตัวแปรตอบสนองทั้งสามชนิด<br />

หลังจากนั้นผูวิจัยได<br />

วิเคราะหเปรียบเทียบผลกอนและหลังปรับปรุง ดังตารางที่<br />

5 พบวา<br />

หลังจากการปรับปรุง เสนผาศูนยกลางสวนกานและความหยาบผิวมี<br />

คาเฉลี่ยใกลเคียงกับคาเปาหมายมากขึ้น<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคา<br />

ลดลง ซึ่งทําใหคา<br />

Cpk ของเสนผาศูนยกลางสวนกานและความหยาบผิวมี<br />

คาเทากับ 4.06 และ 2.37 ตามลําดับ ในขณะที่รอบเวลาผลิตหลังปรับปรุง<br />

มีคาลดลงเหลือเพียง 37 วินาที<br />

่ ตารางที 5 วิเคราะหเปรียบเทียบผลกอนและหลังการปรับปรุง<br />

คา Cpk และคาสถิติ กอนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง<br />

เสนผาศูนยกลาง<br />

เปาหมาย 4.8725 4.8725<br />

คาเฉลี่ย<br />

4.8797 4.8775<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

0.0052 0.0023<br />

คา Cpk ความหยาบผิว<br />

0.81 4.06<br />

เปาหมาย 2.50 2.50<br />

คาเฉลี่ย<br />

3.59 2.73<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

0.59 0.32<br />

คา Cpk 0.80 2.37<br />

รอบเวลาผลิต 45 37<br />

3. สรุป<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมสําหรับ<br />

กระบวนการผลิตแกนกระทุงคลัตชที่มีผลตอเสนผาศูนยกลางสวนกาน<br />

ความหยาบผิว และรอบเวลาผลิต โดยใชวิธีการออกแบบการทดลอง<br />

เซ็นทรัลคอมโพสิตแบบ 2 5-1 แฟคทอเรียลบางสวน ซึ่งระดับปจจัยที่<br />

เหมาะสมที่ไดจากการวิเคราะหดวยฟงกชัน<br />

Response Optimizer ใน<br />

348<br />

โปรแกรม Minitab คือความเร็วรอบของการกลึงหยาบเทากับ 4,583 รอบ<br />

ตอนาที อัตราปอนของการกลึงหยาบเทากับ 0.72 มิลลิเมตรตอนาที ความ<br />

ลึกตัดของการกลึงหยาบเทากับ 1.25 มิลลิเมตร ความเร็วรอบของการกลึง<br />

ละเอียดเทากับ 3,379 รอบตอนาที และอัตราปอนของการกลึงละเอียด<br />

เทากับ 0.11 มิลลิเมตรตอนาที ทําใหเสนผาศูนยกลางสวนกานเทากับ<br />

4.8725 มิลลิเมตร ความหยาบผิวเทากับ 2.44 ไมโครเมตร และรอบเวลา<br />

ผลิตเทากับ 42.36 วินาที โดยคาความพึงพอใจรวมเทากับ 0.97 ซึ่งเมื่อนํา<br />

คาพารามิเตอรเหลานี้มาทําการยืนยันผลเพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง<br />

ระหวางกอนและหลังการปรับปรุงโดยใชวิธีการทางสถิติในการทดสอบ<br />

พบวาเสนผาศูนยกลางสวนกานและความหยาบผิวมีคาเฉลี่ยหลังปรับปรุง<br />

ใกลเคียงคาเปาหมายมากกวากอนปรับปรุง ที่ระดับความเชื่อมั่น<br />

95% ซึ่ง<br />

เปนผลใหคา Cpk ของตัวแปรตอบสนองทั้งสองมีคาเพิ่มมากขึ้น<br />

ในขณะที่<br />

รอบเวลาผลิตหลังปรับปรุงมีคาลดลง<br />

4. ขอเสนอแนะ<br />

ควรทําการศึกษาอิทธิพลที่เกิดจากการตั้งคาระดับของปจจัย<br />

ทั้ง<br />

5 ปจจัยที่มีผลตอการสึกหรอของเม็ดมีด<br />

ซึ่งเปนแนวทางที่สามารถ<br />

นํามาศึกษาตอไดในอนาคต<br />

5. กิตติกรรมประกาศ<br />

ขอขอบคุณ บริษัทไดเทค พรีซิชัน จํากัด ที่อนุเคราะหสถานที่<br />

และอุปกรณในการทําวิจัย และบริษัทควอลิตี้<br />

รีพอรท จํากัด ที่อนุเคราะห<br />

กลองไมโครสโคปชนิดเลเซอรสแกนเนอรเพื่อใชวัดความหยาบผิว<br />

สําหรับงานวิจัยนี้<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] สัจจาทิพย ทัศนียพันธุ<br />

และคณะ. 2544. เทคโนโลยีซีเอ็นซี การ<br />

โปรแกรมและการใชงานสําหรับเครื่องกลึงและเครื่องกัด.<br />

พิมพครั้ง<br />

ที่<br />

1. สํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม<br />

และสถาบันคนควาและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

[2] ประไพศรี สุทัศน ณ อยุธยา และพงศชนัน เหลืองไพบูลย. 2551.<br />

การออกแบบและการวิเคราะหการทดลอง. พิมพครั้งที่<br />

1. บริษัท<br />

สํานักพิมพทอป จํากัด, กรุงเทพฯ.<br />

[3] ปารเมศ ชุติมา. 2545. การออกแบบการทดลองทางวิศวกรรม. พิมพ<br />

ครั้งที่<br />

1. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.<br />

[4] Montgomery, D.C. 2009. Design and Analysis of Experiment. 7 th<br />

ed. John Wiley & Sons, Inc., New York.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!