30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

2.2 การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล (Factorial<br />

Designs) [2] , [6]<br />

การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล สามารถ<br />

ทําการศึกษาอิทธิพลของปจจัยที่มีตอกระบวนการและเกิดขึ้นพรอมๆ<br />

กันไดเมื่อมีการทําการทดลองจะทําการเปลี่ยนคาระดับปจจัยไปพรอมๆ<br />

กันมากกวาทําการเปลี่ยนคาระดับปจจัยตัวใดตัวหนึ่ง<br />

เพราะจะทําใหได<br />

งานที่มีประสิทธิภาพมากกวา<br />

ทั้งในเรื่องการประหยัดเวลาและตนทุน<br />

และยังสามารถวิเคราะหเรื่องอิทธิพลรวม<br />

(Interaction) ระหวางปจจัยได<br />

ดวยโดยอิทธิพลรวม (Interaction) คือผลขอการที่ปจจัยรวมกันที่มีอยูใน<br />

หลายๆกระบวนการ ถาไมไดทําการทดลองแบบแฟคทอเรียลอาจจะไม<br />

เห็นผลของอิทธิพลรวม (Interaction) ไดชัดเจน<br />

2.3 การออกแบบการทดลอง 3-Level Full factorial design<br />

การออกแบบการทดลองแบบ 3-Level Full factorial design<br />

หมายถึง การใชการทดลองแบบ Full factorial โดยแตละปจจัย<br />

เปลี่ยนแปลงได<br />

3 ระดับจํานวนการทดลองการทดลองทั้งหมดเทากับ<br />

3 k เชน การทดลองมี 3 ปจจัย แตละปจจัยมีเงื่อนไขการเปลี่ยนแปลงได<br />

3<br />

ระดับ ในการวิจัยมีปจจัยในการทดลองดังตารางที่<br />

1<br />

ตารางที่<br />

1 เงื่อนไขของปจจัยกรณีเปลี่ยนแปลงได<br />

3 ระดับ<br />

ปจจัย Main Effects คาที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

(Condition)<br />

ปริมาณขี้เลื่อย<br />

146, 148 , 150 กรัม<br />

ตัวประสาน(กาวแปงเปยก) 51, 59, 67.5 กรัม<br />

แรงอัดในการขึ้นรูป<br />

500,1000 ,1500 ปอนดตอตารางนิ้ว<br />

2.4 งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

[1] ปทุมทิพย ตนทับทิมทอง และคณะ (2550) วิจัยเรื่อง<br />

กระถางตนไมจากวัสดุเหลือใชทางเกษตรโดยสรุปวิธีการผลิตกระถาง<br />

จากขุยมะพราว ประกอบดวยสวนผสมดังนี้<br />

ขุยมะพราว 100 กรัม,ใย<br />

มะพราว 150 กรัม และกาวแปงเปยก 50 กรัม ผสมคลุกเคลาใหเขากัน<br />

จากนั้นนําไปอัดดวยเครื่องอัดไฮโดรลิกดวยแรงอัดที่<br />

10 ตัน ทั้งนี้<br />

สวนผสมดังกลาวจะผลิตกระถางขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ6 นิ้วได<br />

จํานวน1กระถางและหลังจากนํากระถางที่ไดไปตากทิ้งไวประมาณ<br />

10<br />

นาที เมื่อกระถางแหงดีแลวก็สามารถนําไปใชงานไดทันที<br />

[3] วิทยาลัยการอาชีพดานซาย (2552) การดําเนินโครงการ<br />

เรื่องกระถางดอกไมเศษวัสดุเหลือใช<br />

Leavings flowerpot มีขั้นตอนการ<br />

ทํางาน และศึกษารวบรวมขอมูล เพื่อนําเอาขอมูลที่รวบรวมมาสราง<br />

กระถางดอกไมจากเศษวัสดุเหลือใช ซึ่งไดขอมูลจากสื่อตางๆดังนี้คนหา<br />

รูปแบบการทํากระถางที่แปลกใหม<br />

.การออกแบบ และประดิษฐกระถาง<br />

339<br />

ตนไม จากเศษกระดาษและวัสดุเหลือใชนํากระดาษมาแชน้ําทิ้งไว<br />

ประมาณ 4 ชั่วโมง<br />

แลวนําปนใหละเอียดนํากระดาษละเอียดมาผสมกับ<br />

กาวน้ําใหเขากัน<br />

แลวใสผงชอลกที่เหลือทําใหเกิดการแข็งตัว<br />

นํา<br />

สวนผสมที่ไดใสลงบนแมพิมพของกระถางแลวนําไปตากแดดใหแห<br />

จากนั้นนําแบบของแมพิมพกระถางมา<br />

แลวนํากระดาษหนังสือพิมพมา<br />

แปะรอบนอกกระถาง เพื่อใหผิวกระถางเรียบ<br />

เพื่อนํากระถางดอกไมจาก<br />

เศษกระดาษและวัสดุเหลือใช มาทาสีน้ํามันเพื่อใหเกิดความสวยงาม<br />

แลว<br />

ปลอยใหแหงและทําการวาดลวดลายตามตองการ<br />

[4] นายเฉลิม บัวสิงห และนายศตภิษั ไกรษี (2553) ไดศึกษา<br />

เรื่อง<br />

กระถางยอยสลายเองตามธรรมชาติจากขี้เลื่อยยางพาราซึ่งกระถาง<br />

ตนไมในปจจุบันมีการผลิตและใชพลาสติกเปนจํานวนมาก จึงคิดหาวิธีที่<br />

จะทํากระถางยอยสลาย ที่ทําจากขี้เลื่อยยางพาราแทนกระถางพลาสติกที่<br />

ยอยสลายเองไมได การใชขี้เลื่อยอยางเดียวจะรับแรงไดนอยกวาเสนใย<br />

ยาว และตองใชตัวประสานมากจะทําใหราคาสูงตามไปดวย ความรูที่ได<br />

คงเปนสูตรที่เหมาะสม<br />

ซึ่งตองปรับอัตราสวนหลายคา<br />

เพียงเปลี่ยนแปลง<br />

ลักษณะภายภาพของขี้เลื่อย<br />

ไมบด, สับ, บดละเอียดคงไมพอ จะใชขอมูล<br />

ความแข็งแรงการอุมน้ําและการยอยสลาย<br />

อธิบายคุณภาพของกระถางแต<br />

ไมไดบอกวาจะเก็บขอมูลอยางไร คาสมบัติที่ยอมรับไดคือคาอะไร<br />

เปรียบเทียบกับกระถางตนไม ในพื้นที่มีปริมาณขี้เลื่อยเพียงพอใหนํามา<br />

ผลิตกระถางหรือไม เพราะการนําไปใชเพาะเห็ดจะมีคุณคามากกวา<br />

[5] นายวุฒิชัย เกื้อเล็กและคณะ<br />

(2553) วิจัยเรื่อง<br />

ผลิตภัณฑ<br />

กระถางตนไมจากวัสดุธรรมชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตกระถางปลูก<br />

ตนไมจากวัสดุธรรมชาติแทนถุงพลาสติก และเพื่อลดปญหาภาวะโลก<br />

รอน ในการศึกษามีขั้นตอน<br />

คือ นําเศษวัสดุจากธรรมชาติ เชน<br />

ขุยมะพราว ขี้เลื่อย<br />

ปุยหมัก<br />

(มูลสัตวผสมกับดิน จํานวน 1,000 กรัม และ<br />

กาวแปงเปยก จํานวน 500 มิลลิลิตร ผสมคลุกเคลาใหเขากันตาม<br />

อัตราสวน จากนั้นนําสวนผสมที่ไดเขาสูกระบวนการอัด<br />

จะไดกระถาง<br />

ตนไมที่มีรูปทรงและลักษณะตามที่ตองการ<br />

นํากระถางตนไมที่ไดไปตาก<br />

แดดทิ้งไวประมาณ<br />

2-3 วัน ตกแตงรูปตามความตองการ เมื่อกระถาง<br />

ตนไมแหงดีแลวก็สามารถนําตนกลามาปลูกไดทันที จากการทดลอง<br />

พบวากระถางตนไมจากวัสดุธรรมชาติมีความสามารถในการอุมน้ําและ<br />

การระบายความรอนของกรถางไดดี สามารถยอยสลายไดเองตาม<br />

ธรรมชาติและไมมีมลพิษตอสิ่งแวดลอม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!