30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

True positive (TP)คือ จํานวนตัวอยางที่พยากรณถูกตองของการเกิด<br />

เหตุการณ<br />

False positive (FP) คือ จํานวนตัวอยางที่พยากรณผิดของการเกิด<br />

เหตุการณ<br />

True negative (TN) คือ จํานวนตัวอยางที่พยากรณถูกตองของการไม<br />

เกิดเหตุการณ<br />

False negative (FN) คือ จํานวนตัวอยางที่พยากรณผิดของการไมเกิด<br />

เหตุการณ<br />

Sensitivity (True-Positive Rate) คือ คาความนาจะเปนหรือ<br />

อัตราสวนของการพยากรณเหตุการณไดถูกตองของการเกิดเหตุการณที่<br />

สนใจ<br />

Specificity (False-Positive Rate) คือ คาความนาจะเปนหรือ<br />

อัตราสวนของการพยากรณเหตุการณไดถูกตองของการไมเกิดเหตุการณ<br />

ที่สนใจ<br />

1-Specificity (False-Positive Rate) คือ คาความนาจะเปนหรือ<br />

อัตราสวนของการพยากรณเหตุการณผิดของการไมเกิดเหตุการณที่สนใจ<br />

พื้นที่ใตโคง<br />

ROC เปนคาที่บงบอกถึงความสามารถในการ<br />

พยากรณไดถูกตองหรือแสดงถึงความเชื่อถือไดของตัวแบบ<br />

มีพิสัยอยู<br />

ระหวาง 0 ถึง 1 คือ คาประมาณพื้นที่ใตโคง<br />

ROC (Area under the Curve<br />

หรือ )ซึ่ง<br />

Hosmer, David W., and Stanley Lemeshow.(200) ได<br />

กําหนดเกณฑทั่วไปไวดังนี้<br />

- ถา แลวตัวแบบเปนตัวแบบที่เชื่อถือไมได<br />

- ถา แลวตัวแบบเปนตัวแบบที่เชื่อถือไดนอย<br />

- ถา แลวตัวแบบเปนตัวแบบที่สามารถยอมรับได<br />

- ถา แลวตัวแบบเปนตัวแบบที่เชื่อถือไดในระดับดี<br />

- และถา แลวตัวแบบเปนตัวแบบที่เชื่อถือไดในระดับดีมาก<br />

การคํานวณคา สามารถทําได 2 วิธี ซึ่งวิธีแรกคือวิธีที่ไม<br />

ใชพารามิเตอรจะขึ้นอยูกับการสรางการประมาณรูปสี่เหลี่ยมที่มีสองดาน<br />

ขนานกันใตเสนโคง ซึ่งเปนการประมาณพื้นที่<br />

วิธีที่สองคือวิธีการ<br />

ประมาณคาพารามิเตอรโดยใชตัวประมาณคาความควรจะเปนสูงสุด<br />

(Maximum Likelihood Estimator) เพื่อใหเสนโคงเรียบพอดีกับจุดขอมูล<br />

โดยทั้งสองวิธีใชไดกับโปรแกรมคอมพิวเตอรและสามารถหา<br />

คาประมาณของพื้นที่และความคลาดเคลื่อนมาตรฐานได<br />

การประมาณคา<br />

โดยใชรูปสี่เหลี่ยมที่มีสองดานขนานกัน<br />

หรือวิธีการที่เรียกวา<br />

กฎของรูป<br />

สี่เหลี่ยมที่มีสองดานขนานกัน<br />

หรือกฎรูปสี่เหลี่ยมคางหมู<br />

ซึ่งใน<br />

328<br />

การศึกษาครั้งนี้จะใชวิธีนี้ในการคํานวณ<br />

วิธีนี้เปนเทคนิคการ<br />

ประมาณคาเกี่ยวกับการคํานวณอินทริกรัลจํากัดเขต<br />

ซึ่งแสดงดังนี้<br />

ฟงกชัน ซึ่งจะคํานวณโดยอินทริกรัลจํากัดเขต<br />

รูปที่<br />

3 ฟงกชัน (เสนโคง) เปนการประมาณโดยฟงกชันเชิงเสน<br />

(เสนตรง) ระหวางคาจริง a และ b<br />

สําหรับ 2 ตัวแบบประมาณเมื่อทําการทดสอบการพยากรณ<br />

กับขอมูลชุดเดียวกันแลว ตัวแบบใดมีเสนโคง ROC อยูขางบนหรือมี<br />

พื้นที่ใตโคง<br />

ROC มากกวา แสดงวาเปนตัวแบบที่มีประสิทธิภาพหรือให<br />

ความถูกตองในการพยากรณไดดีกวา<br />

3.วิธีดําเนินการวิจัย<br />

1) ศึกษาคนควาเอกสารและขอมูลที่เกี่ยวของกับงานวิจัยโดยมีตัวแปร<br />

ที่ตองการทําการวิจัยหลักๆ<br />

ดังนี้<br />

- จํานวนตัวแปรอิสระของทั้งสองตัวแบบเนื่องจากหนึ่งในจุดประสงค<br />

ของการวิจัยตองการศึกษาระดับความสัมพันธของตัวแปรอิสระดังนั้น<br />

ตัวแบบที่ใชในการวิจัยตองมีตัวแปรอยางนอย<br />

2 ตัวแปรอิสระและเมื่อตัว<br />

แปรอิสระเทากับ 5 ตัวแปรก็ถือวามากแลวเพราะในงานวิจัยสวนใหญถา<br />

มากกวานี้จะทําFactor<br />

Ananlysisกอนทําการวิเคราะห เพื่อทําการรวมตัว<br />

แปรที่มีความสัมพันธกันมากเขาเปนตัวแปรเดียวกัน<br />

ดังนั้น<br />

- สหสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระหนวยที่<br />

และตัวแปรอิสระหนวยที่<br />

เพื่อใหครอบคลุมทุกกรณีที่เปนไปได<br />

และ<br />

สวน ความสัมพันธเทากับ ไมมีการกําหนดใหเพราะผูวิจัยตองการ<br />

ศึกษาระดับความสัมพันธของตัวแปรอิสระและถาตัวแปรมีความสัมพันธ<br />

เทากับ แสดงวาตัวแปรนั้นเปนตัวแปรเดียวกัน<br />

- ขนาดตัวอยางที่ใชในทดสอบโดยทั่วไปแลวจะเทากับ<br />

20เทาของจํานวน<br />

ตัวแปรของทั้งสองตัวแบบ<br />

ฉะนั้นจํานวนตัวแปรอิสระนอยที่สุด<br />

เทากับ และจํานวนตัวแปรอิสระมาก<br />

ที่สุดเทากับ<br />

และเนื่องจากผูวิจัย<br />

ตองการทราบวาถาขนาดตัวอยางมีคานอยและมากไปจะใหผลแตกตาง<br />

หรือไมดังนั้น<br />

และทําการวางแผนงานวิจัยทําใหไดกรณีที่ตองการทดสอบของ<br />

จุดประสงคแรก 400 กรณี และของจุดประสงคที่สอง<br />

400 กรณี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!