ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

ตารางที่ 1 ตัวอยาง คาจุดแบง คารอยละและชวงความเชื่อมั่น ของจุดแบง ที่เหมาะสม เมื่อมีตัวแปรอิสระ (p) 5 ตัว ความสัมพันธระหวาง ตัวแปร อิสระ (ρ ) เทากับ 0.33 ซึ่งแสดงความสัมพันธในระดับปานกลาง ขนาด ตัวอยาง (n) เทากับ 100 โดยจําแนกตามสัดสวนของความลมเหลวของ ลักษณะที่สนใจศึกษา (a) p ρ n a ĉ 5 0.33 100 0.46 0.44 0.42 0.4 0.38 0.36 0.1 0.5 0.9 CI.Lower of ĉ CI.Upper Of ĉ 0.1 0.42 0.0001 0.7473 0.5 0.45 0.2396 0.7014 0.9 0.39 0.0000 0.6864 n=100,a=0.1 n=100,a=0.5 n=100,a=0.9 รูปที่ 1 คาจุดแบง เมื่อ สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจ ศึกษาเปลี่ยนแปลง แตขนาดตัวอยาง จํานวนตัวแปรอิสระและระดับ ความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระคงที่ ่ ตารางที 2 คาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเชิงซอน (R Square) R R Square Adjusted R Square Std. Error of the Estimate 0.941 0.904 0.900 2.65466 Predictors: (Intercept), apn ρ , n, a, p, ρ , pn ρ , apn, a ρ , an, n ρ , np, ap ρ , ap, p ρ จากตารางที่ 1 แสดงคาความผันแปรทั้งหมดของจุดแบงมี สาเหตุจากความผันแปรของ n, a, p, ρ , a ρ , an, np, ap, p ρ , n ρ , 2 apn, pn ρ , ap ρ , apn ρ คิดเปน 90.4% ( R ) สวนความผันแปรของคา ของจุดแบงที่เหลืออีก 9.6% เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ที่ไมไดพิจารณาใน การศึกษาครั้งนี้ ผลการวิเคราะหตัวแบบการถดถอยพหุคูณที่มีผลอันตร กิริยาจากผลลัพธของทุกสถานการณที่ไดทําการศึกษา เพื่อใชในการ ประมาณคา จุดแบงที่เหมาะสมสําหรับตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 ประเภท ในสถานการณอื่นๆ โดยสมการการถดถอยพหุคูณ แสดงดังนี้ 322 Percent of cˆ = 114.363 - (0.176)p - (1.268)a - (0.005)n - (0.149) ρ + (0.003)ap+ (8.67E-05)an + (2.72E-03)a ρ + (1.18E-05)np + (3.39E- 06)n ρ + (4.32E-04)p ρ - (2.23E-07)apn - (8.11E-06)ap ρ - (2.41E-08)pn ρ + (1.91E-10)apn ρ 2 และพบวาคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ ( R ) มีคาเทากับ 0.904 ซึ่งเปนคาที่สูง แสดงวาสมการการถดถอยพหุคูณมีความเหมาะสม มากสามารถนําสมการนี้ไปใชประมาณหาคาจุดแบงที่เหมาะสมที่สุดใน สถานการณอื่นๆ ได 5. สรุปผล จากผลลัพธของการหาคาของจุดแบง กรณีสัดสวนของความ ลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา เปลี่ยนแปลง แตปจจัยอื่นๆ คงที่ พบวาที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ 0.5 คาจุดแบงมีคาลูเขาสู 0.5 แตที่คาอื่นๆ คาจุดแบงมีคาต่ํากวา 0.5 กรณี ระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้น แตปจจัยอื่นๆ คงที่ พบวา ที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ 0.5 คาจุดแบงมีแนวโนมลดลงจาก 0.5 กรณีขนาดตัวอยางเพิ่มขึ้น แต ปจจัยอื่นๆ คงที่ พบวา ที่ จํานวนตัวแปรอิสระ อยูในระดับนอย คาจุดแบง มีคาลูเขาสู 0.5 แตที่จํานวนตัวแปรอิสระ อยูในระดับอื่นๆ คาจุดแบงมีคา ต่ํากวา 0.5 กรณีจํานวนตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้นแตปจจัยอื่นๆ คงที่ พบวา คา จุดแบงที่ สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา มีคาเทากับ 0.1 และ 0.9 มีคาลูเขาสูคาจุดแบงที่ 0.5 จากการประมาณคาของจุดแบง สําหรับสถานการณทั้งหมด จากตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 2 ประเภทที่มีผลอันตรกิริยาพบวาคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ ( R ) มีคา สูง แสดงวาสมการการถดถอยมีความเหมาะสมมากสามารถใชประมาณ คาจุดแบงที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณอื่นๆ ได จึงสามารถสรุปไดวา สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา ระดับความสัมพันธ ระหวางตัวแปรอิสระ ขนาดตัวอยางและจํานวนตัวแปรอิสระ เปนปจจัยที่ มีผลตอคาของจุดแบงที่เหมาะสม 6. ขอเสนอแนะ ผลการวิจัยในครั้งนี้มีขอเสนอแนะ 2 ดาน คือ 6.1 ดานการนําไปใชประโยชน 1. เมื่อตองการหาคาจุดแบงที่เหมาะสมสําหรับการพยากรณ การจําแนกขอมูลในตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 ประเภท โดยใช ฟงกชันโลจิทเปนฟงกชันเชื่อมโยงสามารถนําคาจุดแบงนี้ไปใชได ตามแตละสถานการณที่ไดทําการศึกษา 2. เมื่อทราบคาของปจจัยตางๆ และตองการประมาณหาคาจุด แบงที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณอื่นๆ สามารถใชสมการการถดถอย พหุคูณนี้ได

6.2 ดานการศึกษาวิจัย 1. ในการวิจัยครั้งนี้ไดทําการศึกษาหาคาจุดแบงสําหรับการพยากรณ การจําแนกขอมูลในตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 ประเภท เทานั้น ในการวิจัยครั้งตอไปอาจทําการศึกษา หาคาจุดแบงสําหรับตัวแบบการ ถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุม (Multinomial Logistic Regression Model) 2. เมื่อเริ่มตนตัวแปรอิสระมีการแจกแจงแบบยูนิฟอรมแตเพื่อใหตัว แปรอิสระมีความสัมพันธกันตามเมทริกซสหสัมพันธที่กําหนด อาจมี ขอจํากัดทําใหตัวแปรอิสระเปนเพียงผลรวมเชิงเสนของการแจกแจงแบบ ยูนิฟอรม ดังนั้น ผูวิจัยขอเสนอแนะแนวคิดในการ วิจัยครั้งตอไปอาจ กําหนดใหตัวแปรอิสระมีการแจกแจงปกติ (ในงานวิจัยนี้ไมไดทําวิธี ดังกลาวเนื่องจากเกินขอบเขตของงานวิจัย) ซึ่งจะทําใหตัวแปรอิสระมี การแจกแจงปกติคงเดิมเมื่อถูกทําใหมีความสัมพันธกันตามเมทริกซ สหสัมพันธที่กําหนด เอกสารอางอิง [1] Amemiya,T.(1985):Advanced Econometrics.Harvard University Press,Cambridge,M.A. [2] Atkinson,Kendall A. (1989):An Introduction to Numerical Analysis,2 nd Edition,New York:John Wiley and Sons. [3] Atkinson,A. (1970):A Method for Discriminating Between Models (with Discussion),Journal of the Royal Statistical Society,B,B32,323-353. [4] Balakrishnan,N.(1991):Handbook of the Logistic Distribution,Marcel Dekker,Inc. [5] Coulibaly,N.,and B. Brorsen(1998): A Monte Carlo Sampling Approach to testing Nonnested Hypotheses: Monte Carlo Results,Econometric Reviews,pp. 195-209. [6] Hsiao-Lin Hwa; Tsang-Ming Ko; Fon-Jou Hsieh; Ming-Fang Yen; Kai-Pei Chou; Tony Hsiu-Hsi Chen(2007):Risk prediction for Down's syndrome in young pregnant women using maternal serum biomarkers: determination of cut-off risk from receiver operating characteristic curve analysis.Journal of evaluation in clinical practice 2007;13(2):254-8. 323 ประวัติผูเขียนบทความ นางสาวอรุณรัตน โพธิ์คํา เกิดเมื่อวันอาทิตย ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2528 สําเร็จการศึกษาระดับปริญญา วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาสถิติ ภาควิชาสถิติ ประยุกต คณะวิทยาศาสตร พระจอมเกลาลาดกระบัง ปการศึกษา 2550 และเขาศึกษาตอ ในหลักสูตรสถิติศาสตรมหาบัณฑิต (สต.ม.) สาขาสถิติ ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในป พ.ศ. 2552

ตารางที่<br />

1 ตัวอยาง คาจุดแบง คารอยละและชวงความเชื่อมั่น<br />

ของจุดแบง<br />

ที่เหมาะสม<br />

เมื่อมีตัวแปรอิสระ<br />

(p) 5 ตัว ความสัมพันธระหวาง ตัวแปร<br />

อิสระ (ρ ) เทากับ 0.33 ซึ่งแสดงความสัมพันธในระดับปานกลาง<br />

ขนาด<br />

ตัวอยาง (n) เทากับ 100 โดยจําแนกตามสัดสวนของความลมเหลวของ<br />

ลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

(a)<br />

p ρ n a ĉ<br />

5 0.33 100<br />

0.46<br />

0.44<br />

0.42<br />

0.4<br />

0.38<br />

0.36<br />

0.1 0.5 0.9<br />

CI.Lower<br />

of ĉ<br />

CI.Upper<br />

Of ĉ<br />

0.1 0.42 0.0001 0.7473<br />

0.5 0.45 0.2396 0.7014<br />

0.9 0.39 0.0000 0.6864<br />

n=100,a=0.1<br />

n=100,a=0.5<br />

n=100,a=0.9<br />

รูปที่<br />

1 คาจุดแบง เมื่อ<br />

สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจ<br />

ศึกษาเปลี่ยนแปลง<br />

แตขนาดตัวอยาง จํานวนตัวแปรอิสระและระดับ<br />

ความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระคงที่<br />

่ ตารางที 2 คาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจเชิงซอน<br />

(R Square)<br />

R R Square Adjusted R Square<br />

Std. Error of the<br />

Estimate<br />

0.941 0.904 0.900 2.65466<br />

Predictors: (Intercept), apn ρ , n, a, p, ρ , pn ρ , apn, a ρ , an, n ρ ,<br />

np, ap ρ , ap, p ρ<br />

จากตารางที่<br />

1 แสดงคาความผันแปรทั้งหมดของจุดแบงมี<br />

สาเหตุจากความผันแปรของ n, a, p, ρ , a ρ , an, np, ap, p ρ , n ρ ,<br />

2<br />

apn, pn ρ , ap ρ , apn ρ คิดเปน 90.4% ( R ) สวนความผันแปรของคา<br />

ของจุดแบงที่เหลืออีก<br />

9.6% เกิดจากสาเหตุอื่น<br />

ๆ ที่ไมไดพิจารณาใน<br />

การศึกษาครั้งนี้<br />

ผลการวิเคราะหตัวแบบการถดถอยพหุคูณที่มีผลอันตร<br />

กิริยาจากผลลัพธของทุกสถานการณที่ไดทําการศึกษา<br />

เพื่อใชในการ<br />

ประมาณคา จุดแบงที่เหมาะสมสําหรับตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ<br />

2 ประเภท ในสถานการณอื่นๆ<br />

โดยสมการการถดถอยพหุคูณ แสดงดังนี้<br />

322<br />

Percent of cˆ = 114.363 - (0.176)p - (1.268)a - (0.005)n - (0.149) ρ +<br />

(0.003)ap+ (8.67E-05)an + (2.72E-03)a ρ + (1.18E-05)np + (3.39E-<br />

06)n ρ + (4.32E-04)p ρ - (2.23E-07)apn - (8.11E-06)ap ρ<br />

- (2.41E-08)pn ρ + (1.91E-10)apn ρ<br />

2<br />

และพบวาคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ<br />

( R ) มีคาเทากับ<br />

0.904 ซึ่งเปนคาที่สูง<br />

แสดงวาสมการการถดถอยพหุคูณมีความเหมาะสม<br />

มากสามารถนําสมการนี้ไปใชประมาณหาคาจุดแบงที่เหมาะสมที่สุดใน<br />

สถานการณอื่นๆ<br />

ได<br />

5. สรุปผล<br />

จากผลลัพธของการหาคาของจุดแบง กรณีสัดสวนของความ<br />

ลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

แตปจจัยอื่นๆ<br />

คงที่<br />

พบวาที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.5 คาจุดแบงมีคาลูเขาสู<br />

0.5 แตที่คาอื่นๆ<br />

คาจุดแบงมีคาต่ํากวา<br />

0.5 กรณี<br />

ระดับความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้น<br />

แตปจจัยอื่นๆ<br />

คงที่<br />

พบวา ที่สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษามีคาเทากับ<br />

0.5 คาจุดแบงมีแนวโนมลดลงจาก 0.5 กรณีขนาดตัวอยางเพิ่มขึ้น<br />

แต<br />

ปจจัยอื่นๆ<br />

คงที่<br />

พบวา ที่<br />

จํานวนตัวแปรอิสระ อยูในระดับนอย<br />

คาจุดแบง<br />

มีคาลูเขาสู<br />

0.5 แตที่จํานวนตัวแปรอิสระ<br />

อยูในระดับอื่นๆ<br />

คาจุดแบงมีคา<br />

ต่ํากวา<br />

0.5 กรณีจํานวนตัวแปรอิสระเพิ่มขึ้นแตปจจัยอื่นๆ<br />

คงที่<br />

พบวา คา<br />

จุดแบงที่<br />

สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

มีคาเทากับ<br />

0.1 และ 0.9 มีคาลูเขาสูคาจุดแบงที่<br />

0.5 จากการประมาณคาของจุดแบง<br />

สําหรับสถานการณทั้งหมด<br />

จากตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2<br />

2<br />

ประเภทที่มีผลอันตรกิริยาพบวาคาสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ<br />

( R ) มีคา<br />

สูง แสดงวาสมการการถดถอยมีความเหมาะสมมากสามารถใชประมาณ<br />

คาจุดแบงที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณอื่นๆ<br />

ได จึงสามารถสรุปไดวา<br />

สัดสวนของความลมเหลวของลักษณะที่สนใจศึกษา<br />

ระดับความสัมพันธ<br />

ระหวางตัวแปรอิสระ ขนาดตัวอยางและจํานวนตัวแปรอิสระ เปนปจจัยที่<br />

มีผลตอคาของจุดแบงที่เหมาะสม<br />

6. ขอเสนอแนะ<br />

ผลการวิจัยในครั้งนี้มีขอเสนอแนะ<br />

2 ดาน คือ<br />

6.1 ดานการนําไปใชประโยชน<br />

1. เมื่อตองการหาคาจุดแบงที่เหมาะสมสําหรับการพยากรณ<br />

การจําแนกขอมูลในตัวแบบการถดถอยโลจิสติกแบบ 2 ประเภท โดยใช<br />

ฟงกชันโลจิทเปนฟงกชันเชื่อมโยงสามารถนําคาจุดแบงนี้ไปใชได<br />

ตามแตละสถานการณที่ไดทําการศึกษา<br />

2. เมื่อทราบคาของปจจัยตางๆ<br />

และตองการประมาณหาคาจุด<br />

แบงที่เหมาะสมที่สุดในสถานการณอื่นๆ<br />

สามารถใชสมการการถดถอย<br />

พหุคูณนี้ได

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!