30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

14<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การพัฒนาตัวแบบคณิตศาสตรสําหรับปญหาการจัดตารางสอนในมหาวิทยาลัย<br />

The development of mathematical model for a University course timetabling problem<br />

รณกฤต วัฒนมะโน 1 และกัญจนา ทองสนิท 2<br />

1, 2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

โทรศัพท/โทรสาร: 084-0964990 E-mail: 1 wattanamano_@hotmail.com, 2 kanjanath7@yahoo.com<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาปญหาการจัดตารางสอน<br />

เนื่องจาก<br />

ปจจุบันมีจํานวนนักศึกษาพิ่มมากขึ้น<br />

ผูจัดตารางการเรียนการสอนตองจัด<br />

ตารางใหอยูภายใต<br />

จํานวนหองเรียน ความจุหองเรียน ชวงเวลา จํานวน<br />

อาจารย ที่มีอยูอยางจํากัด<br />

นอกจากนี้การจัดตารางสอนยังตองคํานึงถึงการ<br />

เลือกขนาดของหองเรียนใหเหมาะสมกับปริมาณนักศึกษา หากความจุ<br />

หองเรียนไมเหมาะสมกับปริมาณนักศึกษาจะทําใหเกิดคาใชจายที่มาก<br />

และทําใหเกิดการรอคอยการใชหอง จึงตองมีการเพิ่มชวงเวลาการเรียน<br />

เชนมีการเรียนการสอนตั้งแตเวลา<br />

15.45-18.25 น.สงผลใหการเรียนไมมี<br />

ประสิทธิภาพเทาที่ควร<br />

เพราะฉะนั้นจําเปนตองจัดตารางสอนโดย<br />

คํานึงถึงคาใชจายและการจัดตารางสอนนอกชวงเวลา งานวิจัยนี้ศึกษา<br />

การจัดตารางการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยการสราง<br />

แบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อหาคําตอบที่ดีที่สุด<br />

ซึ่งมีวัตถุประสงค<br />

เพื่อใหเกิดคาใชจาย<br />

และการสอนนอกชวงเวลาราชการต่ําที่สุด<br />

โดย<br />

โปรแกรมที่นํามาศึกษาในการแกสมการครั้งนี้<br />

คือ IBM ILOG CPLEX<br />

12.2 จากการทดลองพบวาการแกปญหาการจัดตารางสอนโดยใช<br />

แบบจําลองทางคณิตศาสตรสามารถลดคาใชจายได 8,115 บาท/สัปดาห<br />

และสามารถลดการเรียนการสอนนอกชวงเวลาราชการได 4 วิชา<br />

คําสําคัญ: แบบจําลองทางคณิตศาสตร, จัดตารางสอน<br />

Abstract<br />

This research is to study the problem of classroom timetable<br />

generating due to an increase amount of student. The generator of<br />

classroom timetable needs to arrange it properly according to the<br />

limited resources as are; a number of classrooms, loading capacity of<br />

classroom, periods, and number of teachers. Importantly, the generating<br />

of this timetable construction has to be considered together-with the<br />

proportion between capacity of classroom and number of students<br />

;otherwise, it will result in cueing and extra-periods requiring from<br />

15.45-18.25 as occur often at present that lead to ineffective learning<br />

and expense increasing. Consequently, the generating of timetable need<br />

to be concerned about time and expense. This research is to study a<br />

course timetabling problem of Silpakorn University by building up<br />

mathematical model to find out an optimized solution. The main<br />

objectives are 1) the lowest expense generating; and 2) The least extraperiod<br />

spending. The programs used for the mathematical solution in<br />

this research are IBM ILOG CPLEX 12.2 . The result of solving the<br />

classroom timetable problem using a mathematical model found that<br />

can reduce costs 8115 baht / week and reduce extra-periods 4 subjects<br />

Keywords: mathematical model, Classroom timetable<br />

1. บทนํา<br />

ปญหาการจัดตารางสอน เปนปญหาเกี่ยวกับการคนหา<br />

ตารางสอนที่มีความเหมาะสมและมีความสัมพันธกับตัวผูสอน<br />

กลุมนัก<br />

เรียน รายวิชา หองเรียน ทรัพยากรและขอจํากัดตางๆ ในดานความตอง<br />

การของบุคคล ทําใหการจัดตารางสอนมีความยุงยากซับซอน ในปจจุบัน<br />

นักศึกษาตองเรียนวิชาชื้นฐาน<br />

วิชาเอก วิชาโท วิชาเลือกเสรีหรือวิชาเลือก<br />

ทั่วไปทั้งในคณะและนอกคณะ<br />

ซึ่งเปนผลใหการจัดตารางสอนเปน<br />

ขั้นตอนที่ซับซอนเพราะการจัดวิชาเรียนแตละวิชาไดนั้นตองคํานึงถึง<br />

ชวงเวลา จํานวนหอง ความจุของหอง จํานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียน<br />

เรียน อาจารยผูสอนที่มีอยูอยางจํากัด<br />

จึงทําใหเสียเวลาตอผูจัดตารางสอน<br />

เปนอยางมากทั้งนี้เปนเพราะผูจัดตารางสอนไมมีรูปแบบมาตรฐานเพื่อใช<br />

ในการจัดตารางสอน การจัดตารางสอนที่เหมาะสมตองคํานึงถึงการเลือก<br />

ขนาดของหองเรียนใหเหมาะสมกับปริมาณนักศึกษา หากความจุ<br />

หองเรียนไมเหมาะสมกับปริมาณนักศึกษาจะทําใหเกิดคาใชจายที่ไม<br />

จําเปนและ ทําใหรายวิชาที่จําเปนตองใชหองเรียนเลื่อนชวงเวลาออกไป<br />

เพื่อรอใชหองเรียนนั้นทําใหตองมีการเรียนการสอนนอกชวงเวลา<br />

ราชการ ซึ่งปญหาเหลานี้อาจผลตอความพึงพอใจ<br />

สภาพจิตใจของผูเรียน<br />

และผูสอน<br />

สงผลใหการเรียนไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!