ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

รูปที่ 1 ผลการวิเคราะหตัวแบบสมการโครงสราง ตารางที่ 1 อิทธิพลของตัวแปรบุพบรรพ (Antecedent) ที่มีตอตัวแปรตามในเสนทาง ตัวแปรตาม Brand Loyalty 0.586 ตัวแปรบุพบรรพ (Antecedent) R 2 Effect Product Attitude Customer Satisfaction Perceived Societal CSR Perceived Firm Reputation DE 0.552 ** 0.180 ** 0.206 ** 0.000 IE 0.000 0.000 0.417 0.304 TE 0.545 0.180 0.623 0.304 สิ่งที่นาสังเกตคือ CSR มีอิทธิพลอยางมากตอทัศนคติที่ลูกคา จะพึงมีตอตราสินคา (β = 0.869, p ≤ .01) ซึ่งสูงที่สุดในทุกเสนทาง แสดงใหเห็นวาการมีทัศนคติที่ดีตอตราตองอาศัยการปฏิบัติที่ดีตอสังคม ขององคกร และผลจากการมีทัศคติที่ดีนี้ไดถายทอดผานไปถึงความภักดี ตอตราเปนอยางมาก (β = 0.552 , p ≤ .01) ในอีกดานหนึ่งพบวา CSR สง อิทธิพลคอนขางต่ําไปยังความพึงพอใจในคุณภาพบริการและความภักดี ในตรา (β = 0.206, p ≤ .01) อาจเปนเพราะผูจําหนายปลีกประเภทโชหวย หรือแผงลอยซึ่งมารับซื้อสินคาจากโรงงานและเปนผูคาที่ทําการคาแบบ ดั้งเดิมไมคอยใหความสําคัญในเรื่องราวของคุณภาพบริการ ความพึง พอใจของลูกคาดานคุณภาพบริการจึงต่ําซึ่งสวนทางกับความคาดหมาย นอกจากนี้ยังพบดวยวาความภักดีในตราไดรับผลกระทบทางตรงจาก CSR (β =0.206 , p ≤ .01) คอนขางนอยเชนกัน แตความภักดีในตรายัง ไดรับผลกระทบทางออมจาก CSR ที่ออมผานทัศนคติตอตรา (ดูตาราง 1) จะเห็นไดวาความภักดีในตราไดรับอิทธิพลรวมจากทัศคติตอผลิตภัณฑ และจากการรับรูความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรมากพอ ๆ กัน ตางกันที่ทัศคติมีอิทธิพลทางตรง ขณะที่ CSR มีทั้งอิทธิพลทางตรงและ อิทธิพลทางออม และชื่อเสียงองคกรดาน CSR มีอิทธิพลทางออมดวยแต ไมสูง สวนความพึงพอใจของลูกคามีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญแตต่ํากวา ปจจัยอื่นทั้งหมด จากภาพ 1 จะพบวาสมการโครงสรางที่มีอยู 4 สมการคือ Perceived Soc. CSR = 0.421 ** Perceived Firm Reputation (1) Product Attitude = 0.869 ** Perceived Societal CSR (2) 310 Customer Sat. = 0.206 ** Perceived Soc. CSR; R 2 = 0.042 (3) Brand Loyalty = 0.552 ** Product Altitude + 0.206 ** Perceived Soc. CSR+0.180 ** Customer Sat. (4) เปนสมการโครงสรางที่สามารถนําไปใชอธิบายความสัมพันธ เชิงสาเหตุไดในระดับพอยอมรับไดถึงระดับดี (เกณฑคือ R 2 ควรมากกวา 0.20) ยกเวนสมการ (3) ที่ R 2 ต่ํามาก ซึ่งแสดงใหเห็นวา CSR และความ พึงพอใจในคุณภาพบริการเปนความสัมพันธที่อาจมิไดสื่อไปถึงองคกร ซึ่งมิไดขายปลีกแตกลับเปนโชวหวยหรือแผงลอยที่ทําหนาที่ดังกลาว 5. สรุปและอภิปรายผล (Discussion and Implication) ผลการศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุพบวา CSR สงผลตอ ความภักดีในตราซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ Berens, van Riel and van Bruggen [4]; Lai, Chiu Yang and Pai [10] และ Salmones, Crespo and Bosque [15] รับผลกระทบโดยตรงจากการรับรูความมีเสียงของ องคกร ซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ Aqueveque and Ravasi [3] สงผล กระทบตอความพึงพอใจของลูกคาซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ Salmones, Crespo and Bosque [15] ซึ่งในเชิงนโยบายแลวการที่องคกร จะทําใหลูกคาซื้อซ้ําหรือมีความผูกพันตอองคกรในลักษณะอื่นองคกร จําเปนตองสรางตราใหเกิดขึ้นกอน คือเนน OBM มิใชเนน OEM ซึ่งมิใช สิ่งที่ทําไดยากเพราะวาเซรามิกจังหวัดลําปางกําเนิดมาตั้งแต พ.ศ. 2500 และดําเนินการผลิตตอเนื่องมาชานานไมขาดตอน จนเปนความรักความ ภูมิใจของลูกคา สังเกตจากการมีทัศนคติที่คอนขางดีตอผลิตภัณฑ ซึ่ง

รูปที่<br />

1 ผลการวิเคราะหตัวแบบสมการโครงสราง<br />

ตารางที่<br />

1 อิทธิพลของตัวแปรบุพบรรพ (Antecedent) ที่มีตอตัวแปรตามในเสนทาง<br />

ตัวแปรตาม<br />

Brand Loyalty 0.586<br />

ตัวแปรบุพบรรพ (Antecedent)<br />

R 2 Effect Product Attitude Customer Satisfaction Perceived Societal CSR Perceived Firm Reputation<br />

DE 0.552 ** 0.180 ** 0.206 ** 0.000<br />

IE 0.000 0.000 0.417 0.304<br />

TE 0.545 0.180 0.623 0.304<br />

สิ่งที่นาสังเกตคือ<br />

CSR มีอิทธิพลอยางมากตอทัศนคติที่ลูกคา<br />

จะพึงมีตอตราสินคา (β = 0.869, p ≤ .01) ซึ่งสูงที่สุดในทุกเสนทาง<br />

แสดงใหเห็นวาการมีทัศนคติที่ดีตอตราตองอาศัยการปฏิบัติที่ดีตอสังคม<br />

ขององคกร และผลจากการมีทัศคติที่ดีนี้ไดถายทอดผานไปถึงความภักดี<br />

ตอตราเปนอยางมาก (β = 0.552 , p ≤ .01) ในอีกดานหนึ่งพบวา<br />

CSR สง<br />

อิทธิพลคอนขางต่ําไปยังความพึงพอใจในคุณภาพบริการและความภักดี<br />

ในตรา (β = 0.206, p ≤ .01) อาจเปนเพราะผูจําหนายปลีกประเภทโชหวย<br />

หรือแผงลอยซึ่งมารับซื้อสินคาจากโรงงานและเปนผูคาที่ทําการคาแบบ<br />

ดั้งเดิมไมคอยใหความสําคัญในเรื่องราวของคุณภาพบริการ<br />

ความพึง<br />

พอใจของลูกคาดานคุณภาพบริการจึงต่ําซึ่งสวนทางกับความคาดหมาย<br />

นอกจากนี้ยังพบดวยวาความภักดีในตราไดรับผลกระทบทางตรงจาก<br />

CSR (β =0.206 , p ≤ .01) คอนขางนอยเชนกัน แตความภักดีในตรายัง<br />

ไดรับผลกระทบทางออมจาก CSR ที่ออมผานทัศนคติตอตรา<br />

(ดูตาราง 1)<br />

จะเห็นไดวาความภักดีในตราไดรับอิทธิพลรวมจากทัศคติตอผลิตภัณฑ<br />

และจากการรับรูความรับผิดชอบตอสังคมขององคกรมากพอ<br />

ๆ กัน<br />

ตางกันที่ทัศคติมีอิทธิพลทางตรง<br />

ขณะที่<br />

CSR มีทั้งอิทธิพลทางตรงและ<br />

อิทธิพลทางออม และชื่อเสียงองคกรดาน<br />

CSR มีอิทธิพลทางออมดวยแต<br />

ไมสูง สวนความพึงพอใจของลูกคามีอิทธิพลอยางมีนัยสําคัญแตต่ํากวา<br />

ปจจัยอื่นทั้งหมด<br />

จากภาพ 1 จะพบวาสมการโครงสรางที่มีอยู<br />

4 สมการคือ<br />

Perceived Soc. CSR = 0.421 ** Perceived Firm Reputation (1)<br />

Product Attitude = 0.869 ** Perceived Societal CSR (2)<br />

310<br />

Customer Sat. = 0.206 ** Perceived Soc. CSR; R 2 = 0.042 (3)<br />

Brand Loyalty = 0.552 ** Product Altitude + 0.206 ** Perceived Soc.<br />

CSR+0.180 ** Customer Sat. (4)<br />

เปนสมการโครงสรางที่สามารถนําไปใชอธิบายความสัมพันธ<br />

เชิงสาเหตุไดในระดับพอยอมรับไดถึงระดับดี (เกณฑคือ R 2 ควรมากกวา<br />

0.20) ยกเวนสมการ (3) ที่<br />

R 2 ต่ํามาก<br />

ซึ่งแสดงใหเห็นวา<br />

CSR และความ<br />

พึงพอใจในคุณภาพบริการเปนความสัมพันธที่อาจมิไดสื่อไปถึงองคกร<br />

ซึ่งมิไดขายปลีกแตกลับเปนโชวหวยหรือแผงลอยที่ทําหนาที่ดังกลาว<br />

5. สรุปและอภิปรายผล (Discussion and Implication)<br />

ผลการศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุพบวา CSR สงผลตอ<br />

ความภักดีในตราซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ<br />

Berens, van Riel and<br />

van Bruggen [4]; Lai, Chiu Yang and Pai [10] และ Salmones, Crespo<br />

and Bosque [15] รับผลกระทบโดยตรงจากการรับรูความมีเสียงของ<br />

องคกร ซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ<br />

Aqueveque and Ravasi [3] สงผล<br />

กระทบตอความพึงพอใจของลูกคาซึ่งสอดคลองผลการศึกษาของ<br />

Salmones, Crespo and Bosque [15] ซึ่งในเชิงนโยบายแลวการที่องคกร<br />

จะทําใหลูกคาซื้อซ้ําหรือมีความผูกพันตอองคกรในลักษณะอื่นองคกร<br />

จําเปนตองสรางตราใหเกิดขึ้นกอน<br />

คือเนน OBM มิใชเนน OEM ซึ่งมิใช<br />

สิ่งที่ทําไดยากเพราะวาเซรามิกจังหวัดลําปางกําเนิดมาตั้งแต<br />

พ.ศ. 2500<br />

และดําเนินการผลิตตอเนื่องมาชานานไมขาดตอน<br />

จนเปนความรักความ<br />

ภูมิใจของลูกคา สังเกตจากการมีทัศนคติที่คอนขางดีตอผลิตภัณฑ<br />

ซึ่ง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!