ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

เอกสารอางอิง [1] ประชิด สระโมฬี. 2548. ปจจัยที่มีผลตอการหดตัวของพอลิเมอร ผสมยางธรรมชาติและอีพีดีเอ็ม. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย [2] พงศธร แซอุย. 2550. สารเคมียาง. พิมพครั้งที่ 2. สํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, ปทุมธานี [3] N. Rattanasom, S. Prasertsri, and T. Ruangritnumchai. 2009. Comparison of the mechanical properties at similar hardness level of natural rubber filled with various reinforcing-fillers. Polymer Testing 28: 8-12. [4] Eskandari, M. and H. Arastoopour. 2009. Studying the pulverization mechanisms of low-cross-link-density natural rubber with and without carbon black. Powder Technology 189: 454-461. [5] Postawa, P. and J. Koszkul. 2005. Change in injection moulded parts shrinkage and weight as a function of processing conditions. Journal of Materials Processing Technology 162-163: 109-115. [6] DSM Company Limited. 1986. Factors Causing Shrinkage in Sheeting Based on KELTAN EPDM. 6 pages. [7] Box, G., J. Hunter and W. Hunter. 2005. Statistics for Experimenters: Design, Innovation, and Discovery, 2nd ed. Wiley, New York. [8] Kandemirli, F. 2002. Behavior of furnace black types in cis polybutadiene Rubber (CBR) compounds and changes in the rheological properties of SBR-1502 / CBR-1203 types of rubber compounds. Polymer Testing 21: 367-371. [9] กุลจณี พนาวรางกูร. 2554. ผลของสารตัวเติมเขมาดําและ ความเร็วสกรูการอัดรีดที่มีตอคุณสมบัติของยางอีพีดีเอ็ม. การ คนควาอิสระปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต บางเขน 306 ประวัติผูเขียนบทความ น.ส.กุลจณี พนาวรางกูร จบการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร จากมหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขต ปตตานี และโทจากโครงการเปดสอนการจัดการวิศวกรรม เมื่อเดือน มีนาคม 2554 ผศ.ดร.จุฑา พิชิตลําเค็ญ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกจาก Department of Industrial Engineering and Management Science ที่ Northwestern University ประเทศ สหรัฐอเมริกา ในป พ.ศ. 2545 สนใจหัวขอวิจัยดานการจําลอง สถานการณและการวิจัยการดําเนินงาน

307 การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554 วันที่ 8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ ความรับผิดชอบตอสังคม ในฐานะปจจัยที่เชื่อมโยงสูความจงรักภักดีตอตราสินคาของอุตสาหกรรมเซรามิก Corporate Social Responsibility as a Mediating Factor of Brand Loyalty in Ceramic Industry มนตรี พิริยะกุล 1 และบุญฑวรรณ วิงวอน 2 1 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพมหานคร โทร 0-2310-8396-8 2 ภาควิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง จังหวัดลําปาง โทร 08-1882-3465 E-mail: 1 mpitriyakul@yahoo.com, 2 boonthawan2009@gmail.com บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของ CSR ใน ฐานะปจจัยเชื่อมโยงที่เชื่อมโยงปจจัยสาเหตุสูความภักดีในตราของ ผลิตภัณฑเซรามิกจังหวัดลําปางซึ่งมีประวัติดําเนินการมานานกวา 50 ป โดยสุมตัวอยางผูบริโภค 285 คนจากโรงงานเซรามิกที่มีกิจกรรม CSR จํานวน 11 แหง วิเคราะหตัวแบบสมการโครงสรางดวย PLS-Graph ผล การศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุพบวา CSR ทําหนาที่เชื่อมโยงการรับรู ชื่อเสียงองคกรไปยังปจจัยปลายทางคือ ทัศนคติตอผลิตภัณฑและความ ภักดีในตราสินคาไดดี แตเชื่อมโยงไปยังความพึงพอใจในคุณภาพบริการ ไดไมดีเทาใดนัก CSR มีอิทธิพลตอปจจัยปลายทางดังกลาวคอนขางสูง ยกเวนความพึงพอใจในคุณภาพบริการ ผลการศึกษาในภาพรวมพบวา ผูบริโภคมีทัศนคติคอนขางดีตอผลิตภัณฑ มีความภักดีในตราคอนขางต่ํา รับรูชื่อเสียงองคกรและรับรูความรับผิดชอบตอสังคมรวมถึงความพึง พอใจในคุณภาพบริการปานกลาง คําสําคัญ: ความรับผิดชอบตอสังคม ความภักดีตอตราสินคา PLS Abstract The objective of this research was to study the effects of CSR as a mediating factor of brand loyalty in Ceramic industry at Lampang province which has been in operation over 50 years. The sample was 285 consumers from 11 ceramic factories with CSR activities. The Structural Equation Modeling analyzed through PLS-Graph revealed that CSR exhibited good mediating role on linking from the corporate reputation to product attitude and brand loyalty, but not quite appreciated linking toward the consumer satisfaction. CSR itself left rather high effects toward the endogenous variables followed except customer satisfaction in service quality. The overall findings revealed that consumers had good attitude toward the ceramic products but rather low on loyalty and at the medium level on perception of the corporate reputation and perception of corporate social responsibility and also the customer satisfaction in service quality. Keywords: CSR, Brand Loyalty, PLS 1. คํานํา อุตสาหกรรมเซรามิกเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญ เนื่องจากเปนแหลงสรางงานในทองถิ่น โดยสวนใหญจะเนนแรงงาน (Labor intensive) และโรงงานมักตั้งอยูในชุมชนที่ใกลกับแหลงวัตถุดิบ จึงนับวาเปนแหลงจางงานที่สําคัญของแรงงานในชุมชน และเนื่องจาก วัตถุดิบที่ใชสวนใหญเปนวัตถุดิบในประเทศ และการผลิตโดยภาพรวม ของอุตสาหกรรมนี้จะเนนเพื่อการสงออก อุตสาหกรรมเซรามิกจึงเปน อุตสาหกรรมที่ทั้งชวยสรางงานในพื้นที่และเปนอุตสาหกรรมที่นํา เงินตราเขาประเทศ จากขอมูลในป พ.ศ. 2553 อุตสาหกรรมเซรามิก สามารถนําเงินตราเขาประเทศไดสูงถึง 24,000 ลานบาท [2] จังหวัดลําปางนอกจากมีโรงงานเซรามิกจํานวนมากประมาณ 200 แหงแลวยังมีเหมืองลิกไนทแมเมาะและอุตสาหกรรมเหมืองแรและ อุตสาหกรรมอื่นซึ่งอาจสงผลตอคุณภาพอากาศ เรื่องผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมนี้กรมควบคุมมลพิษไดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Index: AQI) ซึ่งคํานวณจากสารพิษ 5 ประเภท สถิติ AQI ในป 2548-2553 ณ สถานีที่พบคา AQI สูงสุดมีคาดังนี้คือ 63, 106, 100, 100, 92, 104, 135 ตามลําดับ [1] ซึ่งมีคาที่โนมเอียงเขาขายที่ตองระวัง เรื่องนี้ แมจะไมอาจกลาวไดวามีสาเหตุมาจากโรงงานเซรามิกแตก็นาจะเปน สาเหตุสําคัญเพราะเปนธุรกิจที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมมากที่อาจ เปนสาเหตุหนึ่งของปญหาดานสิ่งแวดลอมที่ควรเฝาระวัง การผลิตเซรามิกเพื่อสงออกมีลักษณะเปนการรับจางผลิต (Original Equipment Manufacturer; OEM) ยังไมใหความสนใจตอการ สรางตรามากนัก [2] ความภักดีในตราจึงเปนสิ่งที่ธุรกิจเซรามิกจะตองให ความสนใจเพราะมีผลตอมูลคาเพิ่ม ความเชื่อมโยงระหวาง CSR และ ความภักดีในตราจึงเปนสิ่งที่นาสงสัยวาหากจะเรงสรางตราแมจะเปน ระยะเริ่มตนขณะที่อุตสาหกรรมเซรามิกก็ดําเนินกิจกรรม CSR ไปดวย โดยอาจเจาะจงเลือกทําเฉพาะกับชุมชนที่องคกรตั้งอยู (societal CSR activity) ผลดําเนินการดาน CSR ที่ลูกคารับรูไดนั้นจะสงผลตอความภักดี ในตราหรือไม หรือหากยังเนนการสรางตรา แตผูบริโภคก็รับรูวา

307<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

ความรับผิดชอบตอสังคม ในฐานะปจจัยที่เชื่อมโยงสูความจงรักภักดีตอตราสินคาของอุตสาหกรรมเซรามิก<br />

Corporate Social Responsibility as a Mediating Factor of Brand Loyalty in Ceramic Industry<br />

มนตรี พิริยะกุล 1 และบุญฑวรรณ วิงวอน 2<br />

1<br />

ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพมหานคร โทร 0-2310-8396-8<br />

2<br />

ภาควิชาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง จังหวัดลําปาง โทร 08-1882-3465<br />

E-mail: 1 mpitriyakul@yahoo.com, 2 boonthawan2009@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของ<br />

CSR ใน<br />

ฐานะปจจัยเชื่อมโยงที่เชื่อมโยงปจจัยสาเหตุสูความภักดีในตราของ<br />

ผลิตภัณฑเซรามิกจังหวัดลําปางซึ่งมีประวัติดําเนินการมานานกวา<br />

50 ป<br />

โดยสุมตัวอยางผูบริโภค<br />

285 คนจากโรงงานเซรามิกที่มีกิจกรรม<br />

CSR<br />

จํานวน 11 แหง วิเคราะหตัวแบบสมการโครงสรางดวย PLS-Graph ผล<br />

การศึกษาความสัมพันธเชิงสาเหตุพบวา CSR ทําหนาที่เชื่อมโยงการรับรู<br />

ชื่อเสียงองคกรไปยังปจจัยปลายทางคือ<br />

ทัศนคติตอผลิตภัณฑและความ<br />

ภักดีในตราสินคาไดดี แตเชื่อมโยงไปยังความพึงพอใจในคุณภาพบริการ<br />

ไดไมดีเทาใดนัก CSR มีอิทธิพลตอปจจัยปลายทางดังกลาวคอนขางสูง<br />

ยกเวนความพึงพอใจในคุณภาพบริการ ผลการศึกษาในภาพรวมพบวา<br />

ผูบริโภคมีทัศนคติคอนขางดีตอผลิตภัณฑ<br />

มีความภักดีในตราคอนขางต่ํา<br />

รับรูชื่อเสียงองคกรและรับรูความรับผิดชอบตอสังคมรวมถึงความพึง<br />

พอใจในคุณภาพบริการปานกลาง<br />

คําสําคัญ: ความรับผิดชอบตอสังคม ความภักดีตอตราสินคา PLS<br />

Abstract<br />

The objective of this research was to study the effects of CSR<br />

as a mediating factor of brand loyalty in Ceramic industry at Lampang<br />

province which has been in operation over 50 years. The sample was 285<br />

consumers from 11 ceramic factories with CSR activities. The Structural<br />

Equation Modeling analyzed through PLS-Graph revealed that CSR<br />

exhibited good mediating role on linking from the corporate reputation<br />

to product attitude and brand loyalty, but not quite appreciated linking<br />

toward the consumer satisfaction. CSR itself left rather high effects<br />

toward the endogenous variables followed except customer satisfaction in<br />

service quality. The overall findings revealed that consumers had good<br />

attitude toward the ceramic products but rather low on loyalty and at the<br />

medium level on perception of the corporate reputation and perception of<br />

corporate social responsibility and also the customer satisfaction in service<br />

quality.<br />

Keywords: CSR, Brand Loyalty, PLS<br />

1. คํานํา<br />

อุตสาหกรรมเซรามิกเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญ<br />

เนื่องจากเปนแหลงสรางงานในทองถิ่น<br />

โดยสวนใหญจะเนนแรงงาน<br />

(Labor intensive) และโรงงานมักตั้งอยูในชุมชนที่ใกลกับแหลงวัตถุดิบ<br />

จึงนับวาเปนแหลงจางงานที่สําคัญของแรงงานในชุมชน<br />

และเนื่องจาก<br />

วัตถุดิบที่ใชสวนใหญเปนวัตถุดิบในประเทศ<br />

และการผลิตโดยภาพรวม<br />

ของอุตสาหกรรมนี้จะเนนเพื่อการสงออก<br />

อุตสาหกรรมเซรามิกจึงเปน<br />

อุตสาหกรรมที่ทั้งชวยสรางงานในพื้นที่และเปนอุตสาหกรรมที่นํา<br />

เงินตราเขาประเทศ จากขอมูลในป พ.ศ. 2553 อุตสาหกรรมเซรามิก<br />

สามารถนําเงินตราเขาประเทศไดสูงถึง 24,000 ลานบาท [2]<br />

จังหวัดลําปางนอกจากมีโรงงานเซรามิกจํานวนมากประมาณ<br />

200 แหงแลวยังมีเหมืองลิกไนทแมเมาะและอุตสาหกรรมเหมืองแรและ<br />

อุตสาหกรรมอื่นซึ่งอาจสงผลตอคุณภาพอากาศ<br />

เรื่องผลกระทบตอ<br />

สิ่งแวดลอมนี้กรมควบคุมมลพิษไดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ<br />

(Air<br />

Quality Index: AQI) ซึ่งคํานวณจากสารพิษ<br />

5 ประเภท สถิติ AQI ในป<br />

2548-2553 ณ สถานีที่พบคา<br />

AQI สูงสุดมีคาดังนี้คือ<br />

63, 106, 100, 100,<br />

92, 104, 135 ตามลําดับ [1] ซึ่งมีคาที่โนมเอียงเขาขายที่ตองระวัง<br />

เรื่องนี้<br />

แมจะไมอาจกลาวไดวามีสาเหตุมาจากโรงงานเซรามิกแตก็นาจะเปน<br />

สาเหตุสําคัญเพราะเปนธุรกิจที่มีจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมมากที่อาจ<br />

เปนสาเหตุหนึ่งของปญหาดานสิ่งแวดลอมที่ควรเฝาระวัง<br />

การผลิตเซรามิกเพื่อสงออกมีลักษณะเปนการรับจางผลิต<br />

(Original Equipment Manufacturer; OEM) ยังไมใหความสนใจตอการ<br />

สรางตรามากนัก [2] ความภักดีในตราจึงเปนสิ่งที่ธุรกิจเซรามิกจะตองให<br />

ความสนใจเพราะมีผลตอมูลคาเพิ่ม<br />

ความเชื่อมโยงระหวาง<br />

CSR และ<br />

ความภักดีในตราจึงเปนสิ่งที่นาสงสัยวาหากจะเรงสรางตราแมจะเปน<br />

ระยะเริ่มตนขณะที่อุตสาหกรรมเซรามิกก็ดําเนินกิจกรรม<br />

CSR ไปดวย<br />

โดยอาจเจาะจงเลือกทําเฉพาะกับชุมชนที่องคกรตั้งอยู<br />

(societal CSR<br />

activity) ผลดําเนินการดาน CSR ที่ลูกคารับรูไดนั้นจะสงผลตอความภักดี<br />

ในตราหรือไม หรือหากยังเนนการสรางตรา แตผูบริโภคก็รับรูวา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!