30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เมื่อพิจารณาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่กําหนดไว<br />

คือ ความแข็งแรงตองมีคา<br />

มากกวา 70 Kgf /cm 2 พบวาสูตรยางที่ใชเขมาดําชนิด<br />

N-660 สัดสวน 50<br />

phr นั้นไมผานมาตรฐานที่ลูกคากําหนดไว<br />

จึงไมสามารถนําไปใชงานได<br />

เนื่องจากการเพิ่มสัดสวนของเขมาดําเปนการเพิ่มอันตรกิริยา<br />

ระหวางยางและสารตัวเติม หรือการเกิดพันธะเชื่อมโยงขึ้น<br />

ความรอน<br />

ทําลายโมเลกุลยางคอมปาวดไดนอยลง นั่นคือยางที่มีสัดสวนเขมาดํามาก<br />

ขึ้น<br />

มีความทนทานตอความรอนดีขึ้น<br />

เขมาดําชนิด N-330 มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงไปของความแข็งแรงนอยที่สุด<br />

สวนชนิด N-660 มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงไปของความแข็งแรงมากกวาชนิดอื่น<br />

เนื่องจาก<br />

N-330 เปน<br />

เขมาดําที่มีขนาดอนุภาคเล็ก<br />

มีพื้นที่ผิวมาก<br />

ทําใหเกิดอันตรกิริยาระหวาง<br />

ยางและสารตัวเติมไดมาก ทําใหประสิทธิภาพการทนทานตอความรอน<br />

ของยางดีขึ้นตามไปดวย<br />

ยางที่ผสมเขมาดํา<br />

N-330 มีความแข็งแรงหรือมี<br />

ความทนทานดีกวาชนิด N-550 และ N-660 ซึ่งมีขนาดอนุภาคใหญกวา<br />

เมื่อพิจารณาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่กําหนดไว<br />

คือ การเปลี่ยนแปลงไป<br />

ของคาความแข็งแรงของยางตองไมเกิน 40% พบวาสูตรยางทั้งหมดนั้น<br />

ผานมาตรฐานที่ลูกคากําหนด<br />

4. การวิเคราะหผลการทดลอง<br />

4.1 การทดลองแฟคทอเรียลแบบ 33 การวิเคราะหความแปรปรวนในงานวิจัยนี้<br />

(ตารางที่<br />

1)<br />

กําหนดระดับนัยสําคัญของการทดสอบที่<br />

0.05 พิจารณาสัมประสิทธิ์การ<br />

ตัดสินใจปรับคา (R 2 adj) มีคา 91% แสดงวาขอมูลนั้นมีความ<br />

เสถียรไม<br />

แปรผันไปตามปจจัยอื่นที่ไมไดควบคุม<br />

จากนั้นจึงพิจารณาปจจัยที่มีตอ<br />

เปอรเซ็นตการหดตัว ซึ่งหากพิจารณาคา<br />

p-value พบวา p-value ของ<br />

ปจจัยหลักไดแก ชนิด, สัดสวนของเขมาดํา และ ความเร็วสกรูการอัดรีด<br />

และผลกระทบของปจจัยรวม ไดแก ชนิดและสัดสวนของเขมาดํา พบวา<br />

มีผลตอเปอรเซ็นตการหดตัวอยางมีนัยสําคัญ เนื่องจากมีคา<br />

p-value นอย<br />

กวา 0.05 ดังนั้นเขมาดําชนิด<br />

N-660 สัดสวน 70 phr ทําการอัดรีดที่<br />

ความเร็วสกรู 3 rpm ทําใหชิ้นงานยางมีการหดตัวต่ําที่สุด<br />

[9] อธิบายการ<br />

ทดลองและผลการทดลองอยางละเอียด<br />

304<br />

ตารางที่<br />

1 การวิเคราะหความแปรปรวน<br />

4.2 การตรวจสอบคุณสมบัติของขอมูลความผิดพลาด<br />

(Residual) จากตัวแบบ<br />

การตรวจสอบคุณสมบัติของขอมูลความผิดพลาดในงานวิจัย<br />

นี้<br />

(ภาพที่<br />

1) เปนการตรวจสอบความเหมาะสมของขอมูลและความ<br />

ถูกตองในการวิเคราะห โดยอาศัยคาความคลาดเคลื่อน(Residual)<br />

ในการ<br />

วิเคราะหขอมูล การตรวจสอบสามารถทําได 3 วิธี คือ<br />

1) การตรวจสอบการกระจายตัววาเปนการกระจายตัวแบบ<br />

ปกติ (Normal Distribution Plot) โดยพิจารณาจากการกระจายของคา<br />

ความคลาดเคลื่อน<br />

จากภาพที่<br />

1 (a)/(c) พบวาขอมูลมีการกระจายตัวตาม<br />

แนวเสนตรงซึ่งเปนลักษณะของขอมูลที่มีการกระจายตัวแบบปกติ<br />

2) การตรวจสอบความเสถียรของความแปรปรวน (Variance<br />

Stability) จากภาพที่<br />

1 (b) พิจารณาจากกราฟแสดงการกระจายตัว<br />

ระหวางความคลาดเคลื่อนและคา<br />

Fitted Value ในแตละระดับของปจจัย<br />

พบวาลักษณะของการกระจายขอมูลไมเปนไปตามลักษณะของการเพิ่ม<br />

หรือลดลงของความแปรปรวนแสดงวาขอมูลมีความเสถียรของความ<br />

แปรปรวน<br />

3) การตรวจสอบความเปนอิสระของขอมูล (Independence)<br />

จากการพิจารณาการกระจายตัวของคาความคลาดเคลื่อนของเปอรเซ็นต<br />

การหดตัวในภาพที่<br />

1 (d) พบวาขอมูลมีการกระจายตัวอยางเปนอิสระและ<br />

สม่ําเสมอ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!