30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ซึ่งทําใหเกิดแรงดันภายในเพื่ออัดดันใหวัสดุไหลผานหัวแมพิมพเพื่อให<br />

ไดรูปทรงที่ตองการ<br />

ในการผลิตชิ้นงาน<br />

การหดตัวมีความสําคัญอยางยิ่งเนื่องจากมี<br />

ผลกระทบตอการออกแบบแมพิมพ การออกแบบกระบวนการผลิตและ<br />

คุณภาพของชิ้นงาน<br />

ปจจัยจากการหดตัวเกิดจากหลายปจจัย เชน<br />

คุณสมบัติของวัตถุดิบ สภาวะและเงื่อนไขของการผลิต<br />

[5]<br />

DSM Company [6] อธิบายถึงปจจัยที่ทําใหยาง<br />

EPDM เกิด<br />

การหดตัวทั้งแนวนอนและแนวหนาตัดขวาง<br />

ซึ่งการหดตัวนั้นสามารถ<br />

เกิดไดในทันทีหลังผานกระบวนการผลิต หรือเกิดขึ้นหลังจากผาน<br />

กระบวนการผลิตไปเปนระยะเวลานาน ปญหาที่เกิดขึ้นสงผลกระทบ<br />

อยางมากในอุตสาหกรรม สาเหตุของการหดตัวมีดังนี้<br />

• การจัดเรียงโมเลกุลของยาง ซึ่งพบมากกระบวนการผลิต<br />

เชน<br />

การอัดรีดและการรีดแผนยาง (Calendering) การหดตัวที่<br />

เกิดขึ้นจะเกิดในแนวยาวมากที่สุด<br />

• ความรอน ทําใหเกิดการหดตัวทั้งแนวยาวและแนวหนา<br />

ตัดขวาง<br />

• การระเหยออกของสารเคมีในยางคอมปาวด ทําใหเกิดการหด<br />

ตัวทั้งแนวยาวและแนวหนาตัดขวาง<br />

• ลักษณะของชิ้นงาน<br />

เชน ความหนา และมอดูลัส ยางที่มี<br />

มอดูลัสสูงก็จะเกิดการหดตัวต่ํา<br />

2.3 การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล<br />

การออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลใชศึกษาอิทธิพล<br />

ของปจจัยตั้งแต<br />

2 ตัวขึ้นไป<br />

ทั้งอิทธิพลหลัก<br />

(Main Effect) และอิทธิพล<br />

รวม (Interaction Effect) ระหวางปจจัย โดยอิทธิพลรวมเกิดขึ้นเมื่อผล<br />

ของปจจัยขึ้นอยูกับคาของปจจัยอื่น<br />

.ในการทดลองแบบแฟคทอเรียล<br />

สามารถเปลี่ยนคาระดับปจจัยหลายๆ<br />

ตัวพรอมๆกัน แทนที่เปลี่ยนคา<br />

ระดับปจจัยทีละตัว ดังนั้นการทดลองจึงมีประสิทธิภาพมากกวาในแง<br />

จํานวนการทดลองที่ตองใช<br />

ทําใหประหยัดเวลาและเงิน [7] ทั้งนี้<br />

ขอเสีย<br />

ของการทดลองแบบแฟคทอเรียลคือ เมื่อมีหลายปจจัยที่หลายระดับ<br />

จํานวนการทดลองที่ตองการมีคามาก<br />

และยังยากตอการวิเคราะหอิทธิพล<br />

รวม<br />

3. การคัดเลือกปจจัย<br />

ผูวิจัยศึกษากระบวนการผลิตปจจุบันและรวบรวมขอมูล<br />

เปอรเซ็นตการหดตัวของชิ้นงาน<br />

พบวาปจจัยที่สงผลตอการหดตัวของ<br />

ยาง ซึ่งตัวแปรที่มีผลตอตัวแปรตอบสนอง<br />

คือ ชนิดของเขมาดํา, สัดสวน<br />

303<br />

ของเขมาดํา, ความเร็วสกรูในการอัดรีด การกําหนดคาตางๆ ของปจจัย<br />

ในการทดลอง มีดังนี้<br />

• ชนิดของเขมาดํา กําหนดจากชนิดที่ปจจุบันในโรงงานมีใชอยู<br />

(N-330 / 550 /660 ปจจุบันใชชนิด N-330)<br />

• ปริมาณเขมาดํา กําหนดจากปริมาณสูงสุดที่ใสเขาไปในยาง<br />

คอมปาวดไดและความสามารถในการผสม (40 /50 /60 phr)<br />

เนื่องจากมาตรฐานลูกคาไมไดกําหนดความแข็งเปนจุดสําคัญ<br />

จึงไมตองควบคุมเรื่องปริมาณและชนิด<br />

ซึ่งแตละชนิดอาจมี<br />

ผลตอความแข็งที่แตกตางกัน<br />

(ปจจุบันใชสัดสวนเขมาดํา 30<br />

phr) มีรายงานพบวา [8] ผลของเขมาดําในยางบิวทาไดอีน<br />

รับเบอร (BR) ผลที่ไดคือ<br />

เมื่อเพิ่มเขมาดําชนิด<br />

N-660 เปน 80<br />

phr ทําใหคุณสมบัติต่ําลง<br />

• ความเร็วสกรูในการอัดรีด โดยกําหนดจากคาต่ํา<br />

คากลาง และ<br />

คาสูงที่สามารถผลิตชิ้นงานซีลยางฟองน้ําได<br />

(3, 5, 7 rpm<br />

ปจจุบันใชความเร็วสกรูการอัดรีด 3 rpm)<br />

ผูวิจัยทดสอบคุณสมบัติของชิ้นงานยางซึ่งเปนมาตรฐานที่<br />

ลูกคากําหนดไว ไดแก คุณสมบัติการไหล (ความหนืดของยาง),<br />

คุณสมบัติเชิงกล (ความแข็งแรงของยาง), คุณสมบัติความทนทานตอ<br />

ความรอน (การเปลี่ยนแปลงไปของความแข็งแรง),<br />

เปอรเซ็นตหดตัว<br />

ดวยการออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลเต็มรูป 3 3 ระดับ ไดแก<br />

ชนิดของเขมาดํา (N-330, N-550, N-660), สัดสวนของเขมาดํา (50, 60,<br />

70 phr), และความเร็วสกรูในการอัดรีด (3, 5, 7 rpm)<br />

เมื่อใชเขมาดําชนิด<br />

N-330, N-550 และ N-660 ที่สัดสวน<br />

50,<br />

60 และ 70 phr พบวา เมื่อสัดสวนเขมาดําเพิ่มขึ้น<br />

ทําใหความหนืดของ<br />

ยางเพิ่ม<br />

และพบขอสังเกตนี้ในทุกชนิดของเขมาดํา<br />

เขมาดําชนิด N-330<br />

ใหความหนืดสูงกวา N-550 และ N-660 เนื่องจากชนิด<br />

N-330 เปนเขมา<br />

ดําที่มีขนาดอนุภาคเล็ก<br />

มีพื้นที่ผิวมาก<br />

ทําใหเกิดอันตรกิริยาระหวางยาง<br />

และสารตัวเติมไดมาก เมื่อพิจารณาคุณสมบัติของวัตถุดิบที่กําหนดไว<br />

คือ ความหนืดต่ําสุดไมเกิน<br />

40 พบวาสูตรยางทั้งหมดนั้นผานมาตรฐานที่<br />

ลูกคากําหนด<br />

จากการทดลองพบวาเขมาดําชนิด N-330 ใหความแข็งแรงสูง<br />

กวา N-550 และ N-660 เนื่องจากชนิด<br />

N-330 เปนเขมาดําที่มีขนาด<br />

อนุภาคเล็ก มีพื้นที่ผิวมาก<br />

ทําใหเกิดอันตรกิริยาระหวางยางและสารตัว<br />

เติมไดมาก มีประสิทธิภาพในการเสริมแรงใหแกยางสูง ดังนั้นเมื่อ<br />

สัดสวนเขมาดําเพิ่มขึ้น<br />

จึงทําใหมีการเสริมประสิทธิภาพใหแกยางมาก<br />

ขึ้นตามลําดับ<br />

ผลของชนิดของเขมาดําอื่นๆ<br />

ใหผลใหทิศทางเดียวกัน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!