30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

และผูศึกษาจึงไดทําการศึกษาผลลัพธของสมการโดยการเพิ่ม<br />

จํานวนทรัพยากร (ตัวแปรที่ใชในการตัดสินใจ)<br />

เพื่อศึกษาวาหากมีการ<br />

เพิ่มจํานวนของทรัพยากรแลวในผลตอการหาผลลัพธของสมการหรือไม<br />

โดยทําการศึกษาวิเคราะหผลของคําตอบที่ไดจากกราฟความสัมพันธ<br />

ระหวางขนาดของตัวแปรตัดสินใจและขนาดของเวลาที่ใหในการหา<br />

คําตอบ<br />

จากกราฟความสัมพันธระหวางขนาดของตัวแปรตัดสินใจ<br />

และขนาดของเวลาที่ใหในการหาคําตอบ<br />

ทําใหผูศึกษาพบวาการเพิ่มขึ้น<br />

ของจํานวนวิชาที่สอบ<br />

(การเพิ่มขนาดของปญหา)<br />

สงผลตอเวลาในการหา<br />

คําตอบของสมการ นั้นคือแสดงใหเห็นวาหากหลักสูตรและจํานวน<br />

นักศึกษามีการเพิ่มจํานวนขึ้นความยุงยากและซับซอนในการหาคําตอบ<br />

จะแปรผันตามการเพิ่มขนาดของปญหา<br />

6. สรุปผลและขอเสนอแนะ<br />

จากที่ไดกลาวมาแลวขางตนคงจะพอแสดงใหเห็นถึงแนว<br />

ทางการประยุกตใชหลักการวิจัยการดําเนินงานโดยใชแบบจําลองทาง<br />

คณิตศาสตร เพื่อชวยในการแกปญหาการจัดตารางสอบโดยตัวอยางที่ยก<br />

มานําเสนอนี้เปนการดึงขอมูลจริงในบางสวนของปญหามาแสดงเทานั้น<br />

ซึ่งโดยทั่วไปการจัดตารางสอบมักจะไมไดคํานึงถึงคาใชจายมากนัก<br />

ใน<br />

ความเปนจริงแลวมหาวิทยาลัยถือไดวาเปนองคกรหนึ่งที่จะตองคํานึงถึง<br />

การจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณในการบริหารจัดการงาน จาก<br />

แบบจําลองทางคณิตศาสตรที่ไดนําเสนอไปนั้น<br />

ยังสามารถนําหลักการ<br />

และรูปแบบในการดําเนินการศึกษาในงานวิจัยฉบับนี้ไปใชในการ<br />

แกปญหาไดอีกหลายปญหา เชน ปญหาการจัดตารางเรียน ปญหาการจัด<br />

ตารางเวลาในอุตสาหกรรม โรงพยาบาล และอื่นๆ<br />

เปนตน ซึ่งปญหาที่<br />

กลาวมาเพิ่มเติมนั้นเปนปญหาที่สําคัญมากในการแขงขันกันในเชิง<br />

อุตสาหกรรม เพราะการจัดสรรการใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด<br />

12<br />

นั้นแสดงถึงการทํางานที่มีประสิทธิภาพนั้นเอง<br />

การทําสามารถควบคุม<br />

งบประมาณและตนทุนในการดําเนินงานไดนั้นถือเปนเปาหมายหลักของ<br />

การดําเนินงานของทุกองคกร และจากการศึกษาปญหาการจัดตารางสอบ<br />

ที่ไดกลาวมาขางตนนี้<br />

เปนเพียงสวนหนึ่งของงานวิจัยเทานั้น<br />

ผูศึกษายังมี<br />

แผนที่จะนําเสนอรูปแบบสมการที่พิจารณาเงื่อนไข<br />

1 วิชาหลายหอง ใน<br />

งานวิจัยนี้อีกดวยเพื่อใหครอบคลุมปญหามากยิ่งขึ้นและจะไดนําเสนอใน<br />

โอกาสตอไป<br />

เอกสารอางอิง<br />

[1] วิจิตร ตัณฑสุทธิ์,<br />

วันชัย ริจิรวนิช และ ศิริจันทร ทองประเสริฐ.<br />

การวิจัยการดําเนินงาน. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,<br />

2540.<br />

[2] บุญสม ศิริโสภณา, ปญหาการกําหนดงาน (<strong>AS</strong>SIGNMENT<br />

PROBLEM) [Online], accessed 10 May 2011. Available from<br />

http://www.eco.ru.ac.th/eco/article/Y6C2/Y6C2_09.pdf<br />

[3] M. Dimopoulou and P. Miliotis. “Implementation of a university<br />

course and examination timetabling system”, Athens University,<br />

2000<br />

[4] Abdelaziz Dammak et al. “Classroom assignment for exam<br />

timetabling”, University of Sfax, 2006<br />

[5] Mujgan Sagir et al. “Exam scheduling: Mathematical modeling and<br />

parameter estimation with the Analytic Network Process<br />

approach”, Anadolu University, 2010<br />

[6] M.N.M. Kahar et al. “The examination timetabling problem at<br />

Universiti Malaysia Pahang: Comparison of a constructive heuristic<br />

with an existing software solution”, Universiti Malaysia Pahang,<br />

2010<br />

[7] Luca Di Gaspero et al. “Tabu Search Techniques for Examination<br />

Timetabling”, Universit`a di Udine<br />

[8] Edmund K. Burke et al. “A Memetic Algorithm for University<br />

Exam Timetabling”, University Park Nottingham<br />

[9] Ching-Chin Chern et al. “A heuristic algorithm for the hospital<br />

health examination scheduling problem”, Ming Chuang University,<br />

2008<br />

[10] Ahmed Wasfy and Fadi A. Aloul. “Solving the University Class<br />

Scheduling Problem Using Advanced ILP Techniques”, American<br />

University of Sharjah<br />

[11] Janewit Nakasuwan et al. “Class Scheduling Optimization”,<br />

Thammasat University, 2542<br />

[12] นายกิตติพงศ พลพิพัฒนพงศ “การออกแบบและพัฒนาระบบ<br />

สารสนเทศเพื่อการจัดการตารางสอน<br />

ตารางสอบและทุนผูชวยสอน<br />

ในระดับภาควิชา”, 2550

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!