30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

่ ตารางที 5 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม<br />

แยกเพศ<br />

ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม<br />

แยกเพศ<br />

กลุม<br />

ระยะสวนสูงถึงพื้น<br />

ระยะสะดือถึงพื้น<br />

ระยะไหลถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะสะโพกถึงพื้น<br />

ระยะหัวเขาถึงพื้น<br />

เพศหญิง Accept H0 (0.400) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

เพศชาย Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value<br />

่ ตารางที 6 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม<br />

รวมเพศ<br />

ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม<br />

รวมเพศ<br />

กลุม<br />

ระยะสวนสูงถึงพื้น<br />

ระยะสะดือถึงพื้น<br />

ระยะไหลถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะสะโพกถึงพื้น<br />

ระยะหัวเขาถึงพื้น<br />

กลุมประชากร<br />

ตัวอยาง<br />

Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value<br />

5. สรุปผลการวิจัย<br />

ผลจากการวัดขนาดสัดสวนรางกายของกลุมประชากร<br />

ตัวอยาง โดยแสดงขอมูลเปนคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ดังตาราง<br />

ที่<br />

1 และตารางที่<br />

2 แสดงใหเห็นวาคาเฉลี่ยของแตละสัดสวน<br />

ของแตละ<br />

กลุมประชากรตัวอยางจะมีคาใกลเคียงกัน<br />

ซึ่งแสดงใหเห็นวาแตละชวง<br />

อายุของมนุษยตั้งแตเด็ก<br />

วัยรุน<br />

จนถึงวัยสูงอายุนั้นไมมีผลตออัตราสวน<br />

ทองคํา (Golden Ratio) และคาสัดสวนรางกายของแตละสวนมากนัก<br />

เพราะแตละวัยก็จะมีพัฒนาการที่ตอเนื่องกัน<br />

เจริญเติบโตพรอมกันทุกๆ<br />

สวน เมื่อหาคาอัตราสวนระหวางกันก็จะใหคาที่ใกลเคียงกัน<br />

ผลจากการหาอัตราสวนของสัดสวนรางกายที่ทําการศึกษานั้น<br />

จะเห็นไดวาเมื่อเปรียบเทียบกับคาอัตราสวนทองคํา<br />

(Golden Ratio) ซึ่ง<br />

เปนคาทางทฤษฎีนั้น<br />

โดยใชการทดสอบสมมติฐานทางนัยสําคัญโดย<br />

โปรแกรม Minitab จะใหคาดังตารางที่<br />

3 ซึ่งสามารถสรุปไดวา<br />

ผูหญิงมี<br />

คาสัดสวนใกลเคียงกับคาอัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) มากที่สุด<br />

อยางมีนัยสําคัญ สาเหตุเนื่องมาจากผูหญิงเมื่อเทียบกับผูชายแลวสัดสวน<br />

ของรางกายจะใกลเคียงมากที่สุดเพราะผูชายมีการออกกําลังกายมากกวา<br />

ซึ่งอาจทําใหเกิดการยืดของกระดูกได<br />

และสัดสวนที่มีคาใกลเคียงกับคา<br />

อัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) มากที่สุดคือสัดสวนไหลถึงปลายนิ้ว<br />

สวนขอศอกถึงปลายนิ้ว<br />

สาเหตุมาจากแขนเปนสัดสวนที่จะสอดคลอง<br />

กับสวนอื่นๆ<br />

ควรมีขนาดที่พอดีไมสั้นหรือยาวไป<br />

ในขณะที่สัดสวน<br />

สะโพกถึงพื้นสวนหัวเขาถึงพื้นมีคาที่ไมใกลเคียงกับคาอัตราสวนทองคํา<br />

295<br />

(Golden Ratio ) สาเหตุมาจากสัดสวนขาของมนุษยทุกคนมีขนาดที่<br />

แตกตางกันออกไปทั้งนี้แลวแตบุคคลบางคนขาสั้น<br />

บางคนขายาว แตก็ดู<br />

ไมแตกตางกันขึ้นอยูกับชีวิตความเปนอยู<br />

อาหารการกินและอื่นๆ<br />

6. เอกสารอางอิง<br />

[1] กิตติ อินทรานนท, 2545. การยศาสตร. กรุงเทพฯ :โรงพิมพแหง<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

[2] สุทธิ์<br />

ศรีบูรพา, 2540. เออรกอนอมิกสิ์<br />

: วิศวกรรมมนุษยปจจัย.<br />

กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น<br />

จํากัด.<br />

[3] ธิดาสิริ ภัทรากาญจน, กองกัญจน ภัทรากาญจนและธนกาญจน ภัท<br />

รากาญจน, 2548. เลขฟบอนาชี : เลขกล สวยงาม ล้ําลึก.<br />

กรุงเทพฯ :<br />

สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

[4] Jeong Young Park, D.F. Ogletree, M. Salmeron, R.A. Ribeiro, P.C.<br />

Canfield, C. J. Jenks and P.A. Thiel. 2005. High Frictional<br />

Anisotropy of Periodic and Aperiodic Directions on a Quasicrystal<br />

Surface. Science Journal : Vol.309. no.5739 : pp.1354-1356.<br />

[5] Chaorong Li, Xiaona Zhang, Zexian Cao. 2005. Triangular and<br />

Fibonacci Number Patterns Driven by Stress on Core/Shell<br />

Microstructures. Science Journal : Vol.309. no. 5736 : pp.909-911.<br />

[6] Pheasant, S. T. 1988.Bodyspace Anthropometry: Ergonomics and<br />

Design. London. Taylor&Francis Ltd.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!