ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

ตารางที่ 2 ตารางแสดงคาเฉลี่ยรวมของกลุมประชากรตัวอยาง การวิเคราะหเปรียบเทียบคาอัตราสวนของสัดสวนกับคา อัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) โดยการทดสอบสมมติฐาน การทดสอบสมมติฐานจากผลที่เกิดขึ้นเพื่อเปรียบเทียบวาคา อัตราสวนที่คํานวณได มีคาเทากับคาอัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) หรือไม โดยแยกในแตละกลุม แตละเพศ, แยกในแตละกลุม รวมเพศ, 294 ทุกกลุม แยกเพศและทุกกลุม รวมเพศ โดยการทดสอบสมมติฐานนี้จะใช การประมวลผลโดยโปรแกรม Minitab คาความเชื่อมั่นที่ 99 % กําหนด ระดับนัยสําคัญ α = 0.01 ซึ่งมีเงื่อนไขวา - ถาผลการทดสอบไดคา P – value < 0.01 สรุปวา Reject H0 - ถาผลการทดสอบไดคา P – value > 0.01 สรุปวา Accept H0 ่ ตารางที 3 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม แยกเพศ กลุม ระยะสวนสูงถึงพื้น ระยะสะดือถึงพื้น ระยะไหลถึงปลายนิ้ว ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว ระยะสะโพกถึงพื้น ระยะหัวเขาถึงพื้น เด็กประถมวัยเพศหญิง Reject H0 (0.000) Accept H0 (0.049) Reject H0 (0.000) เด็กประถมวัยเพศชาย Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) วัยรุนเพศหญิง Accept H0 (0.018) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) วัยรุนเพศชาย Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) ผูใหญเพศหญิง Accept H0 (0.041) Accept H0 (0.632) Reject H0 (0.000) ผูใหญเพศชาย หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) ่ ตารางที 4 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม รวมเพศ ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม รวมเพศ กลุม ระยะสวนสูงถึงพื้น ระยะสะดือถึงพื้น ระยะไหลถึงปลายนิ้ว ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว ระยะสะโพกถึงพื้น ระยะหัวเขาถึงพื้น เด็กประถมวัย Reject H0 (0.000) Accept H0 (0.235) Reject H0 (0.000) วัยรุน Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) ผูใหญ Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value

่ ตารางที 5 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม แยกเพศ ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม แยกเพศ กลุม ระยะสวนสูงถึงพื้น ระยะสะดือถึงพื้น ระยะไหลถึงปลายนิ้ว ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว ระยะสะโพกถึงพื้น ระยะหัวเขาถึงพื้น เพศหญิง Accept H0 (0.400) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) เพศชาย Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value ่ ตารางที 6 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม รวมเพศ ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางรวมทุกกลุม รวมเพศ กลุม ระยะสวนสูงถึงพื้น ระยะสะดือถึงพื้น ระยะไหลถึงปลายนิ้ว ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว ระยะสะโพกถึงพื้น ระยะหัวเขาถึงพื้น กลุมประชากร ตัวอยาง Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value 5. สรุปผลการวิจัย ผลจากการวัดขนาดสัดสวนรางกายของกลุมประชากร ตัวอยาง โดยแสดงขอมูลเปนคาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังตาราง ที่ 1 และตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวาคาเฉลี่ยของแตละสัดสวน ของแตละ กลุมประชากรตัวอยางจะมีคาใกลเคียงกัน ซึ่งแสดงใหเห็นวาแตละชวง อายุของมนุษยตั้งแตเด็ก วัยรุน จนถึงวัยสูงอายุนั้นไมมีผลตออัตราสวน ทองคํา (Golden Ratio) และคาสัดสวนรางกายของแตละสวนมากนัก เพราะแตละวัยก็จะมีพัฒนาการที่ตอเนื่องกัน เจริญเติบโตพรอมกันทุกๆ สวน เมื่อหาคาอัตราสวนระหวางกันก็จะใหคาที่ใกลเคียงกัน ผลจากการหาอัตราสวนของสัดสวนรางกายที่ทําการศึกษานั้น จะเห็นไดวาเมื่อเปรียบเทียบกับคาอัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) ซึ่ง เปนคาทางทฤษฎีนั้น โดยใชการทดสอบสมมติฐานทางนัยสําคัญโดย โปรแกรม Minitab จะใหคาดังตารางที่ 3 ซึ่งสามารถสรุปไดวา ผูหญิงมี คาสัดสวนใกลเคียงกับคาอัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) มากที่สุด อยางมีนัยสําคัญ สาเหตุเนื่องมาจากผูหญิงเมื่อเทียบกับผูชายแลวสัดสวน ของรางกายจะใกลเคียงมากที่สุดเพราะผูชายมีการออกกําลังกายมากกวา ซึ่งอาจทําใหเกิดการยืดของกระดูกได และสัดสวนที่มีคาใกลเคียงกับคา อัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) มากที่สุดคือสัดสวนไหลถึงปลายนิ้ว สวนขอศอกถึงปลายนิ้ว สาเหตุมาจากแขนเปนสัดสวนที่จะสอดคลอง กับสวนอื่นๆ ควรมีขนาดที่พอดีไมสั้นหรือยาวไป ในขณะที่สัดสวน สะโพกถึงพื้นสวนหัวเขาถึงพื้นมีคาที่ไมใกลเคียงกับคาอัตราสวนทองคํา 295 (Golden Ratio ) สาเหตุมาจากสัดสวนขาของมนุษยทุกคนมีขนาดที่ แตกตางกันออกไปทั้งนี้แลวแตบุคคลบางคนขาสั้น บางคนขายาว แตก็ดู ไมแตกตางกันขึ้นอยูกับชีวิตความเปนอยู อาหารการกินและอื่นๆ 6. เอกสารอางอิง [1] กิตติ อินทรานนท, 2545. การยศาสตร. กรุงเทพฯ :โรงพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [2] สุทธิ์ ศรีบูรพา, 2540. เออรกอนอมิกสิ์ : วิศวกรรมมนุษยปจจัย. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด. [3] ธิดาสิริ ภัทรากาญจน, กองกัญจน ภัทรากาญจนและธนกาญจน ภัท รากาญจน, 2548. เลขฟบอนาชี : เลขกล สวยงาม ล้ําลึก. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [4] Jeong Young Park, D.F. Ogletree, M. Salmeron, R.A. Ribeiro, P.C. Canfield, C. J. Jenks and P.A. Thiel. 2005. High Frictional Anisotropy of Periodic and Aperiodic Directions on a Quasicrystal Surface. Science Journal : Vol.309. no.5739 : pp.1354-1356. [5] Chaorong Li, Xiaona Zhang, Zexian Cao. 2005. Triangular and Fibonacci Number Patterns Driven by Stress on Core/Shell Microstructures. Science Journal : Vol.309. no. 5736 : pp.909-911. [6] Pheasant, S. T. 1988.Bodyspace Anthropometry: Ergonomics and Design. London. Taylor&Francis Ltd.

ตารางที่<br />

2 ตารางแสดงคาเฉลี่ยรวมของกลุมประชากรตัวอยาง<br />

การวิเคราะหเปรียบเทียบคาอัตราสวนของสัดสวนกับคา<br />

อัตราสวนทองคํา (Golden Ratio) โดยการทดสอบสมมติฐาน<br />

การทดสอบสมมติฐานจากผลที่เกิดขึ้นเพื่อเปรียบเทียบวาคา<br />

อัตราสวนที่คํานวณได<br />

มีคาเทากับคาอัตราสวนทองคํา (Golden Ratio)<br />

หรือไม โดยแยกในแตละกลุม<br />

แตละเพศ, แยกในแตละกลุม<br />

รวมเพศ,<br />

294<br />

ทุกกลุม<br />

แยกเพศและทุกกลุม<br />

รวมเพศ โดยการทดสอบสมมติฐานนี้จะใช<br />

การประมวลผลโดยโปรแกรม Minitab คาความเชื่อมั่นที่<br />

99 % กําหนด<br />

ระดับนัยสําคัญ α = 0.01 ซึ่งมีเงื่อนไขวา<br />

- ถาผลการทดสอบไดคา P – value < 0.01 สรุปวา Reject H0 - ถาผลการทดสอบไดคา P – value > 0.01 สรุปวา Accept H0 ่ ตารางที 3 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม<br />

แยกเพศ<br />

กลุม<br />

ระยะสวนสูงถึงพื้น<br />

ระยะสะดือถึงพื้น<br />

ระยะไหลถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะสะโพกถึงพื้น<br />

ระยะหัวเขาถึงพื้น<br />

เด็กประถมวัยเพศหญิง Reject H0 (0.000) Accept H0 (0.049) Reject H0 (0.000)<br />

เด็กประถมวัยเพศชาย Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

วัยรุนเพศหญิง<br />

Accept H0 (0.018) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

วัยรุนเพศชาย<br />

Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

ผูใหญเพศหญิง<br />

Accept H0 (0.041) Accept H0 (0.632) Reject H0 (0.000)<br />

ผูใหญเพศชาย<br />

หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value<br />

Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

่ ตารางที 4 ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม<br />

รวมเพศ<br />

ตารางแสดงการทดสอบสมมติฐานของกลุมประชากรตัวอยางแยกกลุม<br />

รวมเพศ<br />

กลุม<br />

ระยะสวนสูงถึงพื้น<br />

ระยะสะดือถึงพื้น<br />

ระยะไหลถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะขอศอกถึงปลายนิ้ว<br />

ระยะสะโพกถึงพื้น<br />

ระยะหัวเขาถึงพื้น<br />

เด็กประถมวัย Reject H0 (0.000) Accept H0 (0.235) Reject H0 (0.000)<br />

วัยรุน<br />

Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

ผูใหญ<br />

Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000) Reject H0 (0.000)<br />

หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บคือคา p-value

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!