ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

จากคาเปาหมายที่ได กระบวนการเรียนรูของวิธีการโครงขาย ประสาทเทียมจะทําการคํานวณหาคาถวงน้ําหนักการเชื่อมโยงและคา ไบแอส (Connection weight and Bias) ซึ่งโดยทั่วไปจะใชวิธีการแพรคา ยอนกลับ (Back propagation) และตัดสินใจโดยใชคาผิดพลาดยกกําลัง สองเฉลี่ย (Mean Square Error: MSE) ระหวางคาเปาหมาย (Output Target) ที่ตองการกับคาเปาหมายจริง (Output Actual) ที่เกิดขึ้นที่ยอมรับ ไดเปนตัวกําหนดคาถวงน้ําหนักการเชื่อมโยงและคาไบแอสที่เหมาะสม ดังแสดงในสมการที่ (5) n 2 ∑ ( Output T arg eti −Output Actual i ) i = 1 MSE = ; i = 1, 2,..., n (5) n โดยที่ OutputT arg eti คือ คาเปาหมายของงานในลําดับที่ i Output Actuali คือ ขอมูลออกจากโครงขายประสาทเทียมของงานใน ลําดับที่ i n คือจํานวนใบสั่งผลิตทั้งหมด 4. การใชวิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรมในกระบวนการเรียนรู ของโครงขายประสาทเทียม การใชวิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรมในการหาคาถวงน้ําหนัก การเชื่อมโยงและคาไบแอสใหกับกระบวนการเรียนรูของโครงขาย ประสาทเทียมจะมีขั้นตอนที่คลายคลึงกับขั้นตอนเชิงพันธุกรรมที่ได อธิบายไวแลวในหัวขอที่ผานมา ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้ - ขั้นตอนที่ 1 เริ่มจากการเขารหัสโครโมโซมของคาถวงน้ําหนักการ เชื่อมโยงและคาไบแอส เพื่อใหงายตอความเขาใจผูวิจัยขอยกตัวอยาง โครงขายประสาทเทียมที่ประกอบดวย ชั้นขอมูลเขา 3 เซลลประสาท ขั้น ซอน 2 ชั้น แตละชั้นมีเซลลประสาท 2 และ 1 เซลลประสาท ตาม ลําดับ และชั้นขอมูลออก 1 เซลลประสาท แสดงดังรูปที่ 10 รูปที่ 10 การเขารหัสโครงขายประสาทเทียมตัวอยาง การเขารหัสคาถวงน้ําหนักการเชื่อมโยงและคาไบแอสจะใช การสุมเลขจํานวนจริง ซึ่งแสดงไดดังรูปที่ 10 เชน คาถวงน้ําหนักการ เชื่อมโยงของเซลลประสาทในชั้นขอมูลเขาที่เชื่อมโยงกับเซลลประสาท ที่ 1 ในชั้นซอนที่ 1 จะถูกนํามาทําการเขารหัสในยีนที่ 1 เทากับ 0.862 ยีนที่ 2 เทากับ 0.019 และยีนที่ 3 เทากับ 0.874 ตามดวยการเชื่อมโยงของ 288 เซลลประสาทในชั้นขอมูลเขาที่เชื่อมโยงกับเซลลประสาทที่ 2 ในชั้น ซอนที่ 1 จะถูกนํามาทําการเขารหัสในยีนที่ 4 เทากับ 0.759 ยีนที่ 5 เทากับ 0.795 และยีนที่ 6 เทากับ 0.704 และการเขารหัสคาไบแอสของเซลล ประสาทในชั้นซอนที่ 1 จะถูกเขารหัสยีนในตําแหนงที่ 7 เทากับ 0.8 และ ตําแหนงที่ 8 เทากับ 0.501 การเชื่อมโยงของชั้นซอนที่ 1 กับเซลล ประสาทในชั้นซอนที่ 2 จะถูกเขารหัสยีนในตําแหนงที่ 9 และ 10 คือ 0.934 และ 0.453 ตามลําดับ คาไบแอสของชั้นซอนที่ 2 จะถูกเขารหัสใน ตําแหนงที่ 11 เทากับ 0.459 เปนตน ผูวิจัยกําหนดประชากรเริ่มตนเทากับ 5 โครโมโซมแสดงดังตารางที่ 9 ตารางที่ 9 ประชากรเริ่มตนของวิธีการแบบผสม โครโมโซม คาจากการสุม 1 (0.862, 0.759, 0.019, 0.795, 0.874, 0.704, 0.800, 0.501, 0.934, 0.453, 0.459) 2 (0.966, 0.586, 0.184, 0.457, 0.633, 0.775, 0.630, 0.541, 0.594, 0.509, 0.554) 3 (0.760, 0.822, 0.027, 0.494, 0.292, 0.823, 0.232, 0.345, 0.593, 0.929, 0.041) 4 (0.247, 0.927, 0.935, 0.426, 0.292, 0.806, 0.381, 0.291, 0.739, 0.451, 0.802) 5 (0.676, 0.638, 0.484, 0.892, 0.246, 0.254, 0.453, 0.704, 0.373, 0.637, 0.672) - ขั้นตอนที่ 2 การประเมินคาความแข็งแรงของคาถวงน้ําหนักการ เชื่อมโยงและคาไบแอสจะประเมินดวยคาผิดพลาดกําลังสองเฉลี่ย (MSE) ซึ่งจะไมขอกลาวในที่นี้ - ขั้นตอนที่ 3 การคัดเลือก ผูวิจัยใชการคัดเลือกเชนเดียวกับขั้นตอนเชิง พันธุกรรมที่ไดกลาวไวขางตน คือ การคัดเลือกดวยวิธีการ Elitism 1 โครโมโซม และวิธีการวงลอรูเล็ต 4 โครโมโซม ดังนั้นโครโมโซมที่ 4 จะถูกนําไปสรางประชากรรุนใหม และอีก 4 โครโมโซมจะถูกคัดเลือก ดวยวิธีการวงลอรูเล็ต โดยสัดสวนพื้นที่สามารถคํานวณไดจากสมการที่ (2) และ (3) ดังตารางที่ 10 คอลัมนที่ 3 และ 4 วงลอรูเล็ตและผลการ คัดเลือกดวยวงลอรูเล็ตแสดงดังรูปที่ 11 และตารางที่ 11 ตามลําดับ ตารางที่ 10 สัดสวนพื้นที่บนวงลอรูเล็ต ่ โครโมโซม คาความแข็งแรง ( f k ) ความนาจะเปนใน การคัดเลือก ( p k) สัดสวนพื้นที ( p r ) สัดสวน สะสม 1 0.2766 0.792342342 0.198 0.198 2 0.2769 0.792117117 0.198 0.396 3 0.2601 0.80472973 0.201 0.597 4 0.2172 0.836936937 0.209 0.807 5 0.3012 0.773873874 0.193 1 รวม 1.332 4 1 ่ ่ ตารางที 11 ตารางการสุมการคัดเลือกโครโมโซม สุมครั้งที เลขสุม โครโมโซมที่ไดรับคัดเลือก 1 0.2003 2 2 0.0146 1 3 0.7632 4 4 0.5675 3

รูปที่ 11 วงลอรูเล็ตเพื่อหาคา Weight และคา Bias - ขั้นตอนที่ 4 การขามสายพันธุ ผูวิจัยใชวิธีการขามสายพันธุแบบยูนิ- ฟอรม (Uniform Crossover) เนื่องจากวิธีการขามสายพันธุแบบยูนิฟอรม เปนวิธีการที่มีความเปนแบบแผนในการขามสายพันธุกวาการขามสาย พันธุแบบหนึ่งตําแหนง (One-point Crossover) และแบบสองตําแหนง (Two-point Crossover) [19] โดยผูวิจัยกําหนดความนาจะเปนในการ กลายพันธุ (Pc) เทากับ 0.9 สมมติวาความนาจะเปนที่ไดจากการสุมมีคา เทากับ 0.65 ดังนั้นโครโมโซม 2 ลําดับแรก (จากตารางที่ 11) ที่จะตองถูก ทําการขามสายพันธ ไดแก โครโมโซมที่ 2 และ โครโมโซมที่ 1 จากนั้น จะทําการสุมเลขฐานสองเทากับขนาดความยาวของโครโมโซม โดยเลขที่ สุมนั้นจะเปนตัวกําหนดวาโครโมโซมลูกตัวที่ 1 และโครโมโซมลูกตัวที่ 2 จะไดรับยีนจากโครโมโซมพอหรือโครโมโซมแม ยกตัวอยางเชน สุม เลขฐานสองไดเทากับ 11010010110 ดังนั้นโครโมโซมลูกตัวที่ 1 จะ ไดรับยีนจากโครโมโซมพอในตําแหนงที่ 1, 2, 4, 7, 9 และ 10 และไดรับ ยีนจากโครโมโซมแมที่ตําแหนงที่ 3, 5, 6, 8 และ 11 โครโมโซมลูกตัวที่ 2 จะไดรับยีนจากโครโมโซมแมในตําแหนงที่ 1, 2, 4, 7, 9 และ 10 และ ไดรับยีนจากโครโมโซมพอในตําแหนงที่ 3, 5, 6, 8 และ 11 เปนตน ผลลัพธจากการขามสายพันธุแสดงดังรูปที่ 12 ซึ่งจะถูกสงตอไปยัง ขั้นตอนเชิงพันธุกรรมในขั้นตอนถัดไป เพื่อปรับปรุงคําตอบใหดีขึ้น รูปที่ 12 การขามสายพันธุแบบยูนิฟอรม - ขั้นตอนที่ 5 การกลายพันธุของการหาคาถวงน้ําหนักการเชื่อมโยงและ คาไบแอสนั้นจะไมเหมือนกับการกลายพันธุของการจัดตารางการผลิต ในขั้นตอนนี้จะทําการสุมคาตัวเลขขึ้นมาแทนตําแหนงที่ไดรับการกลาย พันธุ ผูวิจัยใชวิธีการกลายพันธุแบบยูนิฟอรม (Uniform Mutation) และ กําหนดความนาจะเปนในการกลายพันธุไวที่ 0.01 เปรียบเทียบกับความ นาจะเปนที่สุมขึ้นมาของแตละยีนในโครโมโซมจากนั้นตําแหนงดังกลาว 289 จะถูกแทนที่ดวยตัวเลขที่ไดจากการสุมแบบยูนิฟอรม เชน จากรูปที่ 13 จะเห็นไดวาความนาจะเปนในการกลายพันธุของโครโมโซมลูกตัวที่ 1 ในตําแหนงยีนที่ 3 และตําแหนงยีนที่ 7 มีคาเทากับ 0.001 และ 0.008 ทํา ใหตําแหนงดังกลาวถูกแทนที่ดวยตัวเลขที่ไดจากการสุมแบบยูนิฟอรม เทากับ 0.416 และ 0.361 ตามลําดับ แตโครโมโซมลูกตัวที่ 2 ความนาจะ เปนในการกลายพันธุที่ไดจากการสุมมีคามากกวาความนาจะเปนที่ กําหนด ทําใหโครโมโซมลูกตัวที่ 2 ถูกสงผานไปยังประชากรใหมทันที ผลที่ไดจากการกลายพันธุดังรูปที่ 14 รูปที่ 13 การกลายพันธุแบบยูนิฟอรม รูปที่ 14 ผลการกลายพันธุแบบยูนิฟอรม - ขั้นตอนที่ 6 การสรางประชากรรุนใหมจะไดรับโครโมโซมจาก วิธีการ Elitism 1 โครโมโซม และจากการคัดเลือกดวยวงลอรูเล็ตผานตัว ดําเนินการเชิงพันธุกรรมอีก 4 โครโมโซม แสดงดังตารางที่ 12 ตารางที่ 12 ประชากรใหม โครโมโซม รหัสโครโมโซม 1 (0.247, 0.927, 0.935, 0.426, 0.292, 0.806, 0.381, 0.291, 0.739, 0.451, 0.802) 2 (0.966, 0.586, 0.416, 0.457, 0.874, 0.704, 0.361, 0.501, 0.594, 0.509, 0.459) 3 (0.862, 0.759, 0.184, 0.795, 0.633, 0.775, 0.800, 0.541, 0.934, 0.453, 0.554) 4 (0.247, 0.927, 0.634, 0.494, 0.292, 0.823, 0.734, 0.291, 0.739, 0.451, 0.802) 5 (0.760, 0.822, 0.027, 0.426, 0.292, 0.806, 0.232, 0.345, 0.593, 0.929, 0.041) ่ ่ ตารางที 13 คาความแข็งแรง วิธีการ โครโมโซมที คาความแข็งแรง Elitism 1 0.2172 Crossover and Mutation 2 0.2819 Crossover and Mutation 3 0.2716 Crossover and Mutation 4 0.2255 Crossover and Mutation 5 0.2512 - ขั้นตอนที่ 7 การประเมินคาความแข็งแรงดวยสมการที่ (5) แสดงดัง ตารางที่ 13 เพื่อใชเปรียบเทียบในเงื่อนไขการหยุดของวิธีการขั้นตอนเชิง พันธุกรรม หรือใชในขั้นตอนการคัดเลือกในรอบถัดไป

รูปที่<br />

11 วงลอรูเล็ตเพื่อหาคา<br />

Weight และคา Bias<br />

- ขั้นตอนที่<br />

4 การขามสายพันธุ<br />

ผูวิจัยใชวิธีการขามสายพันธุแบบยูนิ-<br />

ฟอรม (Uniform Crossover) เนื่องจากวิธีการขามสายพันธุแบบยูนิฟอรม<br />

เปนวิธีการที่มีความเปนแบบแผนในการขามสายพันธุกวาการขามสาย<br />

พันธุแบบหนึ่งตําแหนง<br />

(One-point Crossover) และแบบสองตําแหนง<br />

(Two-point Crossover) [19] โดยผูวิจัยกําหนดความนาจะเปนในการ<br />

กลายพันธุ<br />

(Pc) เทากับ 0.9 สมมติวาความนาจะเปนที่ไดจากการสุมมีคา<br />

เทากับ 0.65 ดังนั้นโครโมโซม<br />

2 ลําดับแรก (จากตารางที่<br />

11) ที่จะตองถูก<br />

ทําการขามสายพันธ ไดแก โครโมโซมที่<br />

2 และ โครโมโซมที่<br />

1 จากนั้น<br />

จะทําการสุมเลขฐานสองเทากับขนาดความยาวของโครโมโซม<br />

โดยเลขที่<br />

สุมนั้นจะเปนตัวกําหนดวาโครโมโซมลูกตัวที่<br />

1 และโครโมโซมลูกตัวที่<br />

2 จะไดรับยีนจากโครโมโซมพอหรือโครโมโซมแม ยกตัวอยางเชน สุม<br />

เลขฐานสองไดเทากับ 11010010110 ดังนั้นโครโมโซมลูกตัวที่<br />

1 จะ<br />

ไดรับยีนจากโครโมโซมพอในตําแหนงที่<br />

1, 2, 4, 7, 9 และ 10 และไดรับ<br />

ยีนจากโครโมโซมแมที่ตําแหนงที่<br />

3, 5, 6, 8 และ 11 โครโมโซมลูกตัวที่<br />

2 จะไดรับยีนจากโครโมโซมแมในตําแหนงที่<br />

1, 2, 4, 7, 9 และ 10 และ<br />

ไดรับยีนจากโครโมโซมพอในตําแหนงที่<br />

3, 5, 6, 8 และ 11 เปนตน<br />

ผลลัพธจากการขามสายพันธุแสดงดังรูปที่<br />

12 ซึ่งจะถูกสงตอไปยัง<br />

ขั้นตอนเชิงพันธุกรรมในขั้นตอนถัดไป<br />

เพื่อปรับปรุงคําตอบใหดีขึ้น<br />

รูปที่<br />

12 การขามสายพันธุแบบยูนิฟอรม<br />

- ขั้นตอนที่<br />

5 การกลายพันธุของการหาคาถวงน้ําหนักการเชื่อมโยงและ<br />

คาไบแอสนั้นจะไมเหมือนกับการกลายพันธุของการจัดตารางการผลิต<br />

ในขั้นตอนนี้จะทําการสุมคาตัวเลขขึ้นมาแทนตําแหนงที่ไดรับการกลาย<br />

พันธุ<br />

ผูวิจัยใชวิธีการกลายพันธุแบบยูนิฟอรม<br />

(Uniform Mutation) และ<br />

กําหนดความนาจะเปนในการกลายพันธุไวที่<br />

0.01 เปรียบเทียบกับความ<br />

นาจะเปนที่สุมขึ้นมาของแตละยีนในโครโมโซมจากนั้นตําแหนงดังกลาว<br />

289<br />

จะถูกแทนที่ดวยตัวเลขที่ไดจากการสุมแบบยูนิฟอรม<br />

เชน จากรูปที่<br />

13<br />

จะเห็นไดวาความนาจะเปนในการกลายพันธุของโครโมโซมลูกตัวที่<br />

1<br />

ในตําแหนงยีนที่<br />

3 และตําแหนงยีนที่<br />

7 มีคาเทากับ 0.001 และ 0.008 ทํา<br />

ใหตําแหนงดังกลาวถูกแทนที่ดวยตัวเลขที่ไดจากการสุมแบบยูนิฟอรม<br />

เทากับ 0.416 และ 0.361 ตามลําดับ แตโครโมโซมลูกตัวที่<br />

2 ความนาจะ<br />

เปนในการกลายพันธุที่ไดจากการสุมมีคามากกวาความนาจะเปนที่<br />

กําหนด ทําใหโครโมโซมลูกตัวที่<br />

2 ถูกสงผานไปยังประชากรใหมทันที<br />

ผลที่ไดจากการกลายพันธุดังรูปที่<br />

14<br />

รูปที่<br />

13 การกลายพันธุแบบยูนิฟอรม<br />

รูปที่<br />

14 ผลการกลายพันธุแบบยูนิฟอรม<br />

- ขั้นตอนที่<br />

6 การสรางประชากรรุนใหมจะไดรับโครโมโซมจาก<br />

วิธีการ Elitism 1 โครโมโซม และจากการคัดเลือกดวยวงลอรูเล็ตผานตัว<br />

ดําเนินการเชิงพันธุกรรมอีก 4 โครโมโซม แสดงดังตารางที่<br />

12<br />

ตารางที่<br />

12 ประชากรใหม<br />

โครโมโซม รหัสโครโมโซม<br />

1 (0.247, 0.927, 0.935, 0.426, 0.292, 0.806, 0.381, 0.291, 0.739, 0.451, 0.802)<br />

2 (0.966, 0.586, 0.416, 0.457, 0.874, 0.704, 0.361, 0.501, 0.594, 0.509, 0.459)<br />

3 (0.862, 0.759, 0.184, 0.795, 0.633, 0.775, 0.800, 0.541, 0.934, 0.453, 0.554)<br />

4 (0.247, 0.927, 0.634, 0.494, 0.292, 0.823, 0.734, 0.291, 0.739, 0.451, 0.802)<br />

5 (0.760, 0.822, 0.027, 0.426, 0.292, 0.806, 0.232, 0.345, 0.593, 0.929, 0.041)<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 13 คาความแข็งแรง<br />

วิธีการ โครโมโซมที คาความแข็งแรง<br />

Elitism 1 0.2172<br />

Crossover and Mutation 2 0.2819<br />

Crossover and Mutation 3 0.2716<br />

Crossover and Mutation 4 0.2255<br />

Crossover and Mutation 5 0.2512<br />

- ขั้นตอนที่<br />

7 การประเมินคาความแข็งแรงดวยสมการที่<br />

(5) แสดงดัง<br />

ตารางที่<br />

13 เพื่อใชเปรียบเทียบในเงื่อนไขการหยุดของวิธีการขั้นตอนเชิง<br />

พันธุกรรม หรือใชในขั้นตอนการคัดเลือกในรอบถัดไป

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!