30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รูปที่<br />

8 โครโมโซมที่ไดหลังจากทําการกลายพันธุ<br />

- ขั้นตอนที่<br />

6 การสรางประชากรรุนใหมจะใชโครโมโซมที่ไดรับการ<br />

คัดเลือกจากวิธีการ Elitism 1 โครโมโซมกับโครโมโซมที่ผาน<br />

กระบวนการกลายพันธุอีก<br />

4 โครโมโซม โดยแทนที่ประชากรรุนเกาเพื่อ<br />

นําไปปรับปรุงคําตอบในรอบถัดไป แสดงดังตารางที่<br />

6 คอลัมนที่<br />

2 และ<br />

คอลัมนที่<br />

3<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 6 ประชากรรุนใหม<br />

วิธีการ โครโมโซมที<br />

รหัส<br />

โครโมโซม<br />

ความแข็งแรง<br />

( f k )<br />

Elitism 1 C A B D 218.75<br />

Crossover and Mutation 2 C D A B 665.50<br />

Crossover and Mutation 3 D C B A 815.25<br />

Crossover and Mutation 4 B C A D 600.75<br />

Crossover and Mutation 5 B A C D 516.37<br />

- ขั้นตอนที่<br />

7 ทําการประเมินคาความแข็งแรงของแตละโครโมโซม<br />

ดวยสมการที่<br />

(1) แสดงดังตารางที่<br />

6 คอลัมนที่<br />

4 จากนั้นจะทําการ<br />

ตรวจสอบเงื่อนไขในการหยุด<br />

(Stopping Criteria) เชน เวลาที่กําหนด<br />

(Time Limit) จํานวนการกําเนิดประชากรรุนใหม<br />

(Generation) เปนตน<br />

หากเงื่อนไขเปนจริงจะทําการเลือกคําตอบที่ดีที่สุดจากคาความแข็งแรง<br />

หากเงื่อนไขการหยุดยังไมถูกตองจะทําการสงประชากรรุนใหมไปทําการ<br />

วนซ้ําในขั้นตอน<br />

การคัดเลือก การขามสายพันธุ<br />

และการกลายพันธุตอไป<br />

และจากการวนซ้ําจนครบเงื่อนไข<br />

พบวาคําตอบที่เหมาะสมของตัวอยางนี้<br />

ไดแก การผลิตใบสั่ง<br />

A B C และ D ตามลําดับ ซึ่งทําใหเกิดคาใชจายรวม<br />

เทากับ 162.375 บาท<br />

3. การจัดตารางการผลิตดวยวิธีการโครงขายประสาทเทียม<br />

วิธีการโครงขายประสาทเทียมเปนเครื่องมือในการ<br />

สรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร (Mathematical Model) ที่ไดจาก<br />

ประสบการณ และสามารถนําความรูเหลานี้มาใชในภายหลังได<br />

[16,17]<br />

โดยโครงขายประสาทเทียมที่ใชในการแกปญหาการจัดตารางการผลิต<br />

ของปญหาตัวอยางคือ โครงขายประสาทเทียมแบบปอนไปขางหนาหลาย<br />

ชั้น<br />

(Multiple Layer Feed Forward Network) ประกอบดวย ชั้นขอมูลเขา<br />

(Input Layer) ชั้นซอน<br />

(Hidden Layer) และชั้นขอมูลออก<br />

(Output<br />

Layer) ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

ชั้นขอมูลเขา<br />

เปนการคัดเลือกลักษณะสําคัญ (Feature Selec-<br />

287<br />

tion) ของปญหาเพื่อใหโครงขายประสาทเทียมสามารถรูถึงพฤติกรรม<br />

ของขอมูลที่ใชในการแกปญหา<br />

ผูวิจัยขอยกตัวอยางลักษณะสําคัญโดยใช<br />

ตัวอยางเดียวกันกับที่ผานมา<br />

ซึ่งประกอบไปดวย<br />

เวลาในการผลิต เวลาสง<br />

มอบ และจํานวนคําสั่งผลิต<br />

ดังนั้นชั้นขอมูลเขาจะประกอบไปดวยเซลล<br />

ประสาทจํานวน 3 เซลล แสดงดังตารางที่<br />

7<br />

ตารางที่<br />

7 ลักษณะสําคัญของปญหาในชั้นขอมูลเขา<br />

เซลล<br />

ประสาทที่<br />

ลักษณะที่สําคัญ<br />

ใบสั่งผลิต<br />

A B C D<br />

1 เวลาในการผลิต 26 24 19 23<br />

2 เวลาสงมอบ 33 36 35 37<br />

3 จํานวนคําสั่งผลิตของแตละใบสั่งผลิต<br />

4 5 3 4<br />

ชั้นซอน<br />

การกําหนดจํานวนชั้นซอนและจํานวนเซลล<br />

ประสาทนั้นยังไมมีวิธีการใดที่สามารถบอกไดวาจะตองมีชั้นซอนจํานวน<br />

กี่ชั้นและจํานวนเซลลประสาทในแตละชั้นซอนจํานวนกี่เซลล<br />

[18] แต<br />

สามารถใชวิธีการลองผิดลองถูกในการกําหนด โดยการปรับเพิ่มหรือ<br />

ลดลงจนกวาคาวัตถุประสงคมีคานอยที่สุดหรืออยูในชวงที่ยอมรับได<br />

โดยยกตัวอยางการกําหนดจํานวนชั้นซอนในการแกปญหาดังกลาว<br />

ขางตนเทากับ 2 ชั้น<br />

และมีจํานวนเซลลประสาท (วงกลม) ในชั้นซอนแต<br />

ละชั้นเทากับ<br />

2 และ 1 เซลลประสาทตามลําดับ แสดงดังรูปที่<br />

9<br />

ชั้นขอมูลออก<br />

เปนชั้นที่แสดงคําตอบของลําดับตารางการผลิต<br />

โดยในกระบวนการเรียนรู<br />

(Learning Process) จะใชคําตอบที่ไดจาก<br />

วิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรมคือการผลิตใบสั่ง<br />

A, B, C และ D ตามลําดับ<br />

จากนั้นจะคํานวณคาเปาหมาย<br />

(Output target) ดวยสมการที่<br />

(4) ซึ่งคา<br />

ขอมูลออกเปาหมายจะมีคาอยูในชวงระหวาง<br />

0.1-0.9 [6] แสดงดัง<br />

ตารางที่<br />

8<br />

⎛ i −1<br />

⎞<br />

Output T arg et ( i)<br />

0.<br />

1 + 0.<br />

8⎜<br />

⎟ ; i = 1,<br />

2,...,<br />

n<br />

⎝ n −1<br />

⎠<br />

= (4)<br />

โดยที่<br />

Output T arg et ( i)<br />

คือ ขอมูลออกเปาหมายที่มีลําดับในตารางการ<br />

ผลิตลําดับที่<br />

i และ n คือ จํานวนใบสั่งผลิต<br />

่ ตารางที 8 ตัวอยางคาเปาหมายเปาหมาย (n = 4)<br />

คําตอบเริ่มตน<br />

A B C D<br />

ลําดับในตารางการผลิต ( i ) 1 2 3 4<br />

คาเปาหมาย 0.1 0.366 0.633 0.9<br />

รูปที่<br />

9 ตัวอยางโครงขายประสาทเทียม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!