30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รูปที่<br />

5 วงลอรูเล็ตของคัดเลือกโครโมโซมใหกับวิธี GA เพื่อหาคําตอบ<br />

เริ่มตนใหกับวิธี<br />

ANN<br />

จากรูปที่<br />

5 แสดงการคัดเลือกดวยวงลอรูเล็ต การคัดเลือกจะ<br />

ทําการสุมคาที่อยูในชวง<br />

0 – 1 ที่เปนตัวแทนสัดสวนพื้นที่บนวงลอรูเล็ต<br />

เชน การสุมครั้งที่<br />

1 มีคาเทากับ 0.3816 จะเห็นไดวาคาที่ไดจากการสุมตก<br />

ในสัดสวนพื้นที่ของโครโมโซมที่<br />

2 ดังนั้นโครโมโซมที่<br />

2 คือ A, C, D<br />

และ B จะไดรับการคัดเลือก ซึ่งการสุมครั้งที่<br />

2 ครั้งที่<br />

3 และครั้งที่<br />

4 จะ<br />

ทําเชนเดียวกันกับการสุมครั้งที่<br />

1 หลังจากเสร็จสิ้นกระบวนการจะได<br />

โครโมโซมใหมจํานวน 4 โครโมโซม ตามตองการ แสดงดังตารางที่<br />

5<br />

เพื่อนําไปปรับปรุงคําตอบดวยตัวดําเนินการเชิงพันธุกรรมตอไป<br />

่<br />

่<br />

ตารางที 5 การสุมการคัดเลือกโครโมโซมดวยวงลอรูเล็ต<br />

สุมครั้งที<br />

เลขสุม<br />

โครโมโซมที่ไดรับคัดเลือก<br />

รหัสโครโมโซม<br />

1 0.3816 2 A C D B<br />

2 0.5235 3 B D C A<br />

3 0.6948 4 C A B D<br />

4 0.0462 1 A C B D<br />

- ขั้นตอนที่<br />

4 การขามสายพันธุ<br />

(Crossover) คือตัวดําเนินการ<br />

พันธุกรรมในการพัฒนาความแข็งแรงของโครโมโซม โดยผูวิจัยใช<br />

วิธีการขามสายพันธุแบบจัดคูเปนสวน<br />

(Partially Mapped Crossover :<br />

PMX) เนื่องจากวิธีการนี้เปนวิธีการหนึ่งที่สามารถใหคําตอบที่ดีได<br />

[13]<br />

ซึ่งโอกาสในการขามสายพันธุจะขึ้นอยูกับความนาจะเปนในการขามสาย<br />

พันธุ<br />

(Crossover Probability : Pc) งานวิจัยนี้ผูวิจัยกําหนดคา<br />

Pc ไวที่<br />

0.9<br />

โดยเปรียบเทียบกับความนาจะเปนที่ไดจากการสุม<br />

หากความนาจะเปนที่<br />

ไดจากการสุมมีคานอยกวาความนาจะเปนในการขามสายพันธุที่กําหนด<br />

โครโมโซมคูนั้นจะทําการขามสายพันธุ<br />

แตในทางกลับกันหากความ<br />

นาจะเปนที่ไดจากการสุมมีคามากกวาความนาจะเปนในการขามสาย<br />

พันธุที่กําหนด<br />

โครโมโซมคูนั้นจะถูกสงผานไปยังขั้นตอนถัดไปโดยไม<br />

ผานขั้นตอนการขามสายพันธุ<br />

ดังนั้นจากคา<br />

Pc ที่ตั้งไวจะทําใหเกิดการ<br />

ขามสายพันธุบอยครั้ง<br />

สมมติวาความนาจะเปนที่ไดจากการสุมมีคา<br />

เทากับ 0.72 ดังนั้นโครโมโซม<br />

2 ลําดับแรกจากตารางที่<br />

5 จะตองถูกนํามา<br />

ทําการขามสายพันธ ซึ่งไดแก<br />

โครโมโซมที่<br />

2 (พอ) และ โครโมโซมที่<br />

3<br />

(แม) จากนั้นจะทําการสุมตําแหนงในการขามสายพันธุของโครโมโซม<br />

286<br />

พอและแม ยกตัวอยางเชน ไดตําแหนงที่<br />

1 และตําแหนงที่<br />

3 แสดงดัง<br />

รูปที่<br />

6 หลังจากนั้นจะทําการขามสายพันธุโดยทําการสลับยีน<br />

(Gene) ที่<br />

อยูระหวางตําแหนงที่ไดจากการสุมของโครโมโซมพอและแม<br />

ซึ่งยีนที่อยู<br />

ระหวางตําแหนงของโครโมโซมพอและโครโมโซมแม คือ C, D และ D,<br />

C ตามลําดับ หลังจากสลับที่แลวจะไดโครโมโซมรุนลูก<br />

(Offspring)<br />

จํานวน 2 โครโมโซมแสดงดังรูปที่<br />

7<br />

รูปที่<br />

6. โครโมโซมพอและโครโมโซมแม<br />

รูปที่<br />

7 โครโมโซมรุนลูกที่ไดจากการขามสายพันธุ<br />

- ขั้นตอนที่<br />

5 การกลายพันธุ<br />

(Mutation) เปนตัวดําเนินการเชิง<br />

พันธุกรรมอีกหนึ่งตัวที่ใชในการพัฒนาคําตอบหรือเปนการคนหาคําตอบ<br />

ใกลเคียงโดยทําการสลับยีนภายในโครโมโซม ซึ่งขั้นตอนนี้จะทําให<br />

คําตอบหลุดออกจากคําตอบเฉพาะที่<br />

[14] วิธีการกลายพันธุที่ใชในการ<br />

แกปญหาการจัดตารางการผลิตแบบไหลเลื่อนนั้นจะมีอยูหลายวิธี<br />

เชน<br />

การกลายพันธุแบบสลับตําแหนง<br />

(Swap Mutation) การกลายพันธุแบบ<br />

ผกผัน (Inverse Mutation) และการกลายพันธุแบบแทรก<br />

(Insert Mutation)<br />

ซึ่งจากงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการจัดตารางการผลิตพบวาแตละวิธีมี<br />

ประสิทธิภาพที่ไมแตกตางกัน<br />

[15] งานวิจัยนี้เลือกใชการกลายพันธุแบบ<br />

สลับตําแหนง โดยการกลายพันธุของแตละโครโมโซมจะขึ้นอยูกับความ<br />

นาจะเปนในการกลายพันธุ<br />

(Mutation Probability : Pm) ซึ่งมีลักษณะการ<br />

ใชงานเชนเดียวกับคา Pc และกําหนดไวที่<br />

0.01 เนื่องจากไมตองการใหมี<br />

โอกาสกลายพันธุมากเพราะจะทําใหวิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรม<br />

กลายเปนวิธีการคนหาคําตอบแบบสุม<br />

[14] ตัวอยางการกลายพันธุของ<br />

โครโมโซมลูกที่ไดจากการขามสายพันธุ<br />

เริ่มจากการสุมโอกาสในการ<br />

กลายพันธุของแตละโครโมโซม<br />

สมมติวาไดคาเลขสุมเทากับ<br />

0.006 และ<br />

0.0031 ซึ่งมีคานอยกวาคา<br />

Pm ทําใหโครโมโซมลูกทั้ง<br />

2 ตัว ไดรับการ<br />

กลายพันธุ<br />

จากนั้นจะทําการสุมตําแหนงการกลายพันธุของแตละ<br />

โครโมโซมเทากับ 2 ตําแหนง สมมติวาไดตําแหนงที่<br />

1 และตําแหนงที่<br />

3<br />

ของโครโมโซมลูกทั้ง<br />

2 ตัว จากนั้นทําการสลับที่ระหวางยีนของตําแหนง<br />

ดังกลาว จะทําใหไดโครโมโซมใหมจํานวน 2 โครโมโซมแสดงดังรูปที่<br />

8<br />

ขั้นตอนที่<br />

4 และ 5 จะถูกใชกับโครโมโซมที่ไดจากขั้นตอนที่<br />

3 ทั้งหมด<br />

และเกิดโครโมโซมขึ้นใหมจากทั้ง<br />

2 ขั้นตอนจํานวน<br />

4 โครโมโซม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!