30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1. การวางคําสั่งผลิตบนเครื่องจักรจะถูกวางตามโครงสรางของผลิตภัณฑ<br />

เทานั้น<br />

2. การวางคําสั่งผลิตจะเริ่มวางที่สถานีงานหลักกอน<br />

แตหากการวางคําสั่ง<br />

ผลิตบนสถานีงานรองทําใหเกิดเวลาลาชาของคําสั่งผลิตนอยกวาก็จะทํา<br />

การวางคําสั่งผลิตบนสถานีงานรอง<br />

3. การวางคําสั่งผลิตจะไมอนุญาตใหวางคําสั่งผลิตกอนเวลาเริ่มงาน<br />

4. เครื่องจักรทุกเครื่องจะตองมีลําดับของคําสั่งผลิตที่เหมือนกัน<br />

(Permutation Schedule) [11]<br />

รูปที่<br />

4 ตัวอยางการวางงานบนเครื่องจักร<br />

จากรูปที่<br />

4 แสดงการวางคําสั่งผลิตบนเครื่องจักรที่มีลําดับ<br />

ของใบสั่งผลิตตามโครโมโซมที่<br />

1 ไดแก A, C, B และ D ตามลําดับ จะ<br />

เห็นไดวาใบสั่งผลิตที่เกิดความลาชา<br />

คือ ใบสั่งผลิต<br />

B และใบสั่งผลิต<br />

D<br />

เนื่องจากใบสั่งผลิตเหลานี้เสร็จหลังเวลาที่ตองการ<br />

ซึ่งแสดงไวแลวดังรูป<br />

ที่<br />

2 จากขอมูลในตารางที่<br />

2, 3 และสมการที่<br />

(1) สามารถแสดง<br />

รายละเอียดการคํานวณไดดังนี้<br />

ใบสั่งผลิต<br />

B เกิดความลาชา 10 ชั่วโมง<br />

คิดเปน 1.25 วัน (1 วัน = 8 ชั่วโมง)<br />

คิดเปนคาใชจายเทากับ 150 บาท<br />

(1.25x1x120) ใบสั่งผลิต<br />

D เกิดความลาชา 10 ชั่วโมง<br />

คิดเปน 1.25 วัน<br />

คิดเปนคาใชจายเทากับ 100 บาท (1.25x1x80) ทําใหเกิดคาใชจายที่งาน<br />

ลาชารวมเทากับ 250 บาท คาใชจายของการมีงานคางอยูในระบบจะถูก<br />

คํานวณสําหรับทุกใบสั่งผลิตที่เกี่ยวของ<br />

เริ่มจากใบสั่งผลิต<br />

A อยูในระบบ<br />

เปนเวลา 20 ชั่วโมง<br />

(33-13) คิดเปน 2.5 วัน เกิดคาใชจายขึ้นมีคาเทากับ<br />

7.5 บาท (3x1x2.5) ใบสั่งผลิต<br />

B อยูในระบบเปนเวลา<br />

26 ชั่วโมง<br />

(46-20)<br />

คิดเปน 3.25 วัน เกิดคาใชจายขึ้นมีคาเทากับ<br />

6.5 บาท (2x1x3.25) ใบสั่ง<br />

ผลิต C อยูในระบบเปนเวลา<br />

19 ชั่วโมง<br />

(35-16) คิดเปน 2.375 วัน เกิด<br />

คาใชจายขึ้นมีคาเทากับ<br />

2.375 บาท (1x1x 2.375) และใบสั่งผลิต<br />

D อยูใน<br />

ระบบเปนเวลา 25 ชั่วโมง<br />

(47-22) คิดเปน 3.125 วัน เกิดคาใชจายขึ้นมีคา<br />

เทากับ 3.125 บาท (1x1x3.125) ทําใหเกิดคาใชจายเมื่องานคางอยูใน<br />

ระบบรวมเทากับ 19.5 บาท (7.5+6.5+2.375+3.125) ดังนั้นคาใชจายรวม<br />

สําหรับตารางการผลิตที่มีลําดับของใบสั่งผลิต<br />

A, C, B และ D มีคา<br />

เทากับ 269.5 บาท (250+19.5) ซึ่งคาใชจายรวมนี้จะแสดงเปนคาความ<br />

แข็งแรงของลําดับการผลิต A, C, B และ D ดังตารางที่<br />

2 คอลัมนที่<br />

4<br />

285<br />

- ขั้นตอนที่<br />

3 การคัดเลือก (Selection) เปนการคัดเลือกโครโมโซมเพื่อ<br />

นําไปทําการปรังปรุงคําตอบใหมีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น<br />

ผูวิจัยใชวิธีการ<br />

คัดเลือกดวยวงลอรูเล็ต (Roulette Wheel) รวมกับวิธีการ Elitism ในการ<br />

คัดเลือกโครโมโซมทั้งหมด<br />

5 โครโมโซมเพื่อนําไปสรางประชากรรุน<br />

ใหม (New Generation) โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

วิธีการ Elitism เปนวิธีการสงผานโครโมโซมที่มีคาความ<br />

แข็งแรงดีที่สุด<br />

(คาต่ําสุด)<br />

ไปสูประชากรรุนใหม<br />

โดยไมตองผานตัว<br />

ดําเนินการเชิงพันธุกรรม (Crossover and Mutation) ผูวิจัยกําหนดจํานวน<br />

การคัดเลือกดวยวิธีการนี้เทากับ<br />

1 โครโมโซม ดังนั้นจากประชากร<br />

เริ่มตนในตารางที่<br />

2 โครโมโซมที่ไดรับการคัดเลือกเปนประชากรรุน<br />

ใหมดวยวิธีนี้<br />

ไดแก โครโมโซมที่<br />

4 เนื่องจากมีคาความแข็งแรงดีที่สุด<br />

จากนั้นจะใชวิธีการวงลอรูเล็ตเพื่อคัดเลือกโครโมโซมไปดําเนินการเชิง<br />

พันธุกรรม [12] อีกจํานวน 4 โครโมโซม โดยใชหลักความนาจะเปนใน<br />

การคัดเลือก วิธีการนี้ใชคาความแข็งแรงของแตละโครโมโซมในการ<br />

สรางสัดสวนพื้นที่<br />

(ความนาจะเปน) บนวงลอ ซึ่งสามารถคํานวณโดยใช<br />

สมการที่<br />

(2) และ (3) เชน โครโมโซมที่<br />

1 มีคาความแข็งแรงเทากับ 269.5<br />

จะมีคาความนาจะเปนในการถูกคัดเลือก (pk) เทากับ 0.855 ดังตารางที่<br />

4<br />

คอลัมนที่<br />

2 จากนั้นจะทําการคํานวณสัดสวนพื้นที่บนวงลอดวยสมการที่<br />

(3) ดังนั้นโครโมโซมที่<br />

1 จะมีสัดสวนพื้นที่บนวงลอเทากับ<br />

0.2138<br />

เปนตน จากตารางที่<br />

4 คอลัมนที่<br />

3 และคอลัมนที่<br />

4 สามารถเขียนวงลอ<br />

รูเล็ตไดดังรูปที่<br />

5<br />

⎡ ⎤<br />

⎢ ⎥<br />

⎢ f ⎥<br />

p = −<br />

k<br />

k ⎢ n ⎥<br />

⎢ ∑ f ⎥<br />

k<br />

⎢ ⎥<br />

⎣ k = 1 ⎦<br />

p<br />

p =<br />

k<br />

r n<br />

∑ pk<br />

k = 1<br />

1 (2)<br />

โดยที่<br />

f k คือ คาความแข็งแรงของโครโมโซมที่<br />

k<br />

p k คือ ความนาจะเปนในการคัดเลือกโครโมโซมที่<br />

k<br />

p r คือ สัดสวนพื้นที่บนวงลอรูเล็ต<br />

n คือ จํานวนโครโมโซมในประชากร<br />

ตารางที่<br />

4 สัดสวนพื้นที่บนวงลอรูเล็ต<br />

โครโมโซมที่<br />

ความนาจะเปนใน<br />

การคัดเลือก ( p k )<br />

สัดสวนพื้นที่<br />

( p r )<br />

สัดสวนสะสม<br />

1 0.855 0.214 0.214<br />

2 0.853 0.213 0.427<br />

3 0.730 0.182 0.609<br />

4 0.883 0.221 0.83<br />

5 0.680 0.170 1<br />

รวม 4 1<br />

(3)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!