30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เสร็จชั่วโมงที่<br />

22 บนสถานีงานที่<br />

5 จากนั้นคําสั่งผลิต<br />

C2 จึงสามารถเริ่ม<br />

ทํางานที่ชั่วโมงที่<br />

22 และเสร็จที่ชั่วโมงที่<br />

27 บนสถานีงานที่<br />

3 เปนตน<br />

2. การหาคําตอบเริ่มตนดวยวิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรม<br />

วิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรมเปนอัลกอริทึมที่อิงกระบวนการ<br />

หาคําตอบมาจากแนวความคิดของชารลส ดารวิน (Charles Darwin) ใน<br />

เรื่องของการอยูรอดของผูที่แข็งแรงที่สุด<br />

(Survival of the Fittest) [9,10]<br />

วิธีการนี้มีลักษณะการคนหาคําตอบแบบขนาน<br />

(Parallel Search) ใน<br />

รูปแบบของโครโมโซม (Chromosome) ซึ่งโครโมโซมที่มีความแข็งแรง<br />

ดีที่สุดจะเปนตัวแทนของคําตอบที่แมนตรง<br />

(Exact Solution) หรือคําตอบ<br />

โดยประมาณ (Approximate Solution) วิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรมมี<br />

ขั้นตอนในการหาคําตอบ<br />

7 ขั้นตอน<br />

แสดงดังรูปที่<br />

3<br />

รูปที่<br />

3 วิธีการขั้นตอนเชิงพันธุกรรม<br />

- ขั้นตอนที่<br />

1 ทําการเขารหัสโครโมโซมแบบวิธีเรียงสับเปลี่ยน<br />

(Permutation Encoding) และกําหนดประชากรเริ่มตน<br />

(Initial Population)<br />

ในงานวิจัยนี้ผูวิจัยกําหนดประชากรเริ่มตนเทากับ<br />

5 โครโมโซม<br />

โดยใชกฎการจายงาน (Dispatching Rule) ในการสรางประชากรเริ่มตน<br />

จํานวน 3 โครโมโซม ไดแก EDD (Earliest Due Date), MST (Minimum<br />

Slack Time) และ SPT (Shortest Processing Time) และใชการสุมแบบ<br />

เรียงสับเปลี่ยน<br />

(Random Permutation) ในการสรางประชากรเริ่มตน<br />

2<br />

โครโมโซม แสดงดังตารางที่<br />

2 คอลัมนที่<br />

1, 2 และ 3<br />

284<br />

ตารางที่<br />

2 การสรางประชากรเริ่มตน<br />

โครโมโซมที่<br />

วิธีการสราง<br />

ประชากรเริ่มตน<br />

ประชากรเริ่มตน<br />

คาความแข็งแรง<br />

( f k )<br />

่<br />

่<br />

1 EDD A C B D 269.500<br />

2 MST A C D B 274.625<br />

3 SPT B D C A 504.250<br />

4 การสุมครั้งที<br />

1 C A B D 218.750<br />

5 การสุมครั้งที<br />

2 B C D A 597.375<br />

รวม 1864.5<br />

- ขั้นตอนที่<br />

2 การประเมินคาความแข็งแรง (Evaluate Individual) ของ<br />

โครโมโซมที่เปนตัวแทนคําตอบในการจัดตารางการผลิตจะทําการ<br />

ประเมินดวยสมการเปาหมายของการจัดตารางการผลิต งานวิจัยนี้มี<br />

เปาหมายที่จะหาคานอยที่สุดของผลรวมระหวางคาใชจายของความลาชา<br />

และคาใชจายของการมีงานคางอยูในระบบ<br />

โดยมีสมการเปาหมายแสดง<br />

ดังสมการที่<br />

1<br />

Minimize Total<br />

n<br />

n<br />

Cost ∑ CTiQ<br />

iti<br />

+ ∑ CFiQ<br />

i fi<br />

i = 1<br />

i = 1<br />

โดยที่<br />

f i คือ เวลาที่งาน<br />

i อยูในระบบ<br />

t i คือ เวลาลาชาของงาน i<br />

CT i คือ คาปรับเมื่องาน<br />

i ลาชาตอชิ้นตอหนวยเวลา<br />

CF i คือ คาใชจายในการจัดเก็บเมื่องาน<br />

i อยูในระบบตอชิ้นตอหนวย<br />

เวลา<br />

Q i คือ จํานวนของผลิตภัณฑแตละชนิด<br />

n คือ จํานวนงานทั้งหมด<br />

โดยที่<br />

f i สามารถคํานวณไดจากเวลาที่งาน<br />

i เริ่มดําเนินการ<br />

ในระบบลบดวยเวลาที่งาน<br />

i เสร็จสิ้น<br />

ในขณะที่<br />

ti คํานวณจากเวลาเสร็จ<br />

งานของงาน i ลบดวยเวลาที่ตองการของงาน<br />

i ในกรณีที่เวลาเสร็จงาน<br />

อยูหลังเวลาที่ตองการเทานั้น<br />

โดยใชขอมูลคาใชจายที่แสดงดังตารางที่<br />

3<br />

และขอมูลจากรูปที่<br />

2 สามารถคํานวณผลลัพธของขั้นตอนที่<br />

2 ไดดัง<br />

ตารางที่<br />

2 คอลัมนที่<br />

4<br />

ตารางที่<br />

3 คาปรับเมื่องานและคาใชจายเมื่อมีงานคาง<br />

ใบสั่งผลิต<br />

จํานวน<br />

( Q i )<br />

คาปรับเมื่องานลาชา<br />

( CT i ) (บาท/ชิ้น/วัน)<br />

คาใชจายเมื่องานอยูในระบบ<br />

( CF i ) (บาท/ชิ้น/วัน)<br />

A 1 150 3<br />

B 1 120 2<br />

C 1 100 1<br />

D 1 80 1<br />

หลักการคํานวณคาความแข็งแรงโดยใชสมการที่<br />

(1) นั้น<br />

จะตองนําคําสั่งผลิตทั้งหมดวางบนเครื่องจักร<br />

ซึ่งมีเงื่อนไขในการวาง<br />

ดังตอไปนี้<br />

(1)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!