30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

8<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรเพื่อแกปญหาการจัดตารางสอบ<br />

A mathematical model for solving problems of exam timetabling<br />

อนิสรา ไชยเรศ 1 และกัญจนา ทองสนิท 2<br />

1,2<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการจัดการ คณะวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

อ.เมือง จ.นครปฐม 73000<br />

โทรศัพท/โทรสาร: 088-5202215 E-mail: 1 nunam_79@hotmail.com, 2 kajanath@su.ac.th<br />

บทคัดยอ<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาปญหาการจัดตารางสอบเนื่องจาก<br />

ปจจุบันนักศึกษามีจํานวนเพิ่มมากขึ้น<br />

ในขณะที่ปริมาณหองเรียนและ<br />

ชวงเวลาในการสอบมีอยูอยางจํากัด<br />

เมื่อมีความตองการใชหองเพิ่มจะมี<br />

คาใชจายเกิดขึ้น<br />

หากปริมาณหองสอบไมเพียงพอจะตองไปใชหองสอบ<br />

ของคณะอื่นทําใหเกิดคาใชจายและตองใชเวลาในการจัดการเพิ่มมากขึ้น<br />

การจัดตารางสอบมีหลายปจจัยที่จะตองพิจารณา<br />

อาทิเชน จํานวน<br />

นักศึกษา ความจุของหอง คาใชจาย นอกจากนี้ยังคํานึงถึงประเด็นปญหา<br />

ในบางวิชาที่มีจํานวนนักศึกษานอยทําใหการใชหองไมเกิดประสิทธิภาพ<br />

สูงสุดจึงสามารถกําหนดเงื่อนไข<br />

1 หองสามารถสอบไดหลายวิชามาใช<br />

ในการพิจารณา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหไดตนทุนที่ต่ําที่สุดจึงไดเสนอ<br />

การแกปญหาโดยใชแบบจําลองทางคณิตศาสตรและหาคําตอบโดยใช<br />

IBM ILOG CPLEX ในการคํานวนผลลัพธ กรณีศึกษา: คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

คําสําคัญ: แบบจําลองทางคณิตศาสตร, การจัดตารางสอบ<br />

Abstract<br />

This research studies the problem of exam timetabling. In<br />

present, amounts of student have been increased while the amounts of<br />

classroom and time are limited in the exam. Classroom requirements<br />

increases cost. When there are not enough room, students must use<br />

classrooms at another faculty which causes increases cost and time of<br />

management. The exam timetabling construction must be considered<br />

amounts of student, capacities of classroom and cost. In addition, must<br />

subjects had less amounts of student cause the using of classroom were<br />

not effective. Therefore, in order to one classroom can be conducted the<br />

exam more than one subject. In this research offers mathematical model<br />

for solving and determining by using IBM ILOG CPLEX (case study :<br />

Faculty of Engineering and Industrial Technology, Silpakorn<br />

University) for lowest cost.<br />

Keyword: mathematical model, exam timetabling<br />

1. บทนํา<br />

การจัดตารางสอบเปนกระบวนการจัดระเบียบตารางเวลาที่<br />

เกี่ยวของกับ<br />

นักศึกษา วัน เวลา สถานที่<br />

และรายวิชาที่จัดสอบในแตละ<br />

ภาคการศึกษา และเพื่อใหการสอบของนักศึกษาดําเนินไปไดโดยไม<br />

ติดขัด จะตองมีการบริหารจัดการทรัพยากรซึ่งไดแก<br />

ปริมาณหองเรียน<br />

และชวงเวลาในการสอบที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประสิทธิภาพและ<br />

ประโยชนสูงสุด เนื่องจากการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยนั้นนักศึกษา<br />

แตละคนสามารถเลือกลงทะเบียนเรียนไดหลายวิชาตามแตละสาขาวิชา<br />

และหลักสูตรที่เปดสอนแตกตางกันไปและแตละวิชาจะตองมีการสอบ<br />

เพื่อวัดผลในแตละภาคการศึกษา<br />

นักศึกษาทุกคนจะตองมีตารางสอบ<br />

สําหรับทุกวิชาโดยไมเกิดการซ้ําซอนกันของตารางเวลา<br />

ปญหาการจัด<br />

ตารางสอบจึงมีความยุงยากในการจัดการตามจํานวนวิชาและนักศึกษาที่<br />

เพิ่มมากขึ้นและจะตองมีการจัดทําอยูบอยครั้ง<br />

ดังนั้นผูศึกษาจึงไดเล็งเห็นปญหาการจัดตารางสอบวามี<br />

ความสําคัญเปนอยางมาก ซึ่งจากการศึกษาปญหาการจัดตารางสอบ<br />

คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรมพบวาสํานักงานบริหาร<br />

การศึกษาของคณะเปนผูรับผิดชอบเรื่องการจัดตารางสอบทั้งหมด<br />

ซึ่ง<br />

กระบวนการจัดตารางสอบเปนการจัดทําดวยมือโดยมิไดมีโปรแกรมหรือ<br />

เครื่องมีอใด<br />

ๆ ชวย จึงทําใหเกิดความลาชาทั้งยังพบวาปจจุบันจํานวน<br />

นักศึกษาและรายวิชามีจํานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย<br />

ๆ ในขณะปริมาณหองเรียน<br />

และชวงเวลาในการสอบมีอยูเทาเดิมทําใหปญหามีความซับซอนยิ่งขึ้น<br />

ในการสอบทุกครั้งจะมีตนทุนเกิดขึ้นจากการใชหองสอบ<br />

ซึ่งหากปริมาณ<br />

หองสอบไมเพียงพอจะตองไปใชหองสอบของคณะอื่น<br />

ซึ่งจะมีคาใชจาย<br />

เพิ่มมากขึ้นกวาใชหองสอบของตัวเองเนื่องจากจะตองเสียคาใชจายใน<br />

อัตราที่สูงกวา<br />

และตองมีการติดตอประสานงานจากหลายฝายซึ่งตองใช<br />

เวลาในการจัดการเพิ่มมาก<br />

จากปญหาดังกลาวจะเห็นไดวาการจัดตาราง<br />

สอบเปนงานทียุงยากและมีหลายปจจัยที่จะตองพิจารณา<br />

อาทิเชน จํานวน<br />

นักศึกษา ความจุของหอง คาใชจาย ผูสอบจะซ้ําซอนกันไมได<br />

ชวงเวลา<br />

หนึ่ง<br />

ๆ นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงประเด็นปญหาในบางวิชาที่มีจํานวน<br />

นักศึกษานอยทําใหการใชหองไมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด การจัดตาราง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!