ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

as.nida.ac.th
from as.nida.ac.th More from this publisher
30.06.2013 Views

นวัตกรรม ซึ่งงานวิจัยนี้จะทําการศึกษาถึงอิทธิพลของมิติโครงสราง องคกรตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน และรูปแบบขององคกรผลิตภาพ 2. มิติโครงสรางองคกร มิติของโครงสรางองคกร[10],[13] ประกอบดวย ดานความ ชํานาญเฉพาะดาน (Specialization) เกี่ยวของกับการรวมมือกันภายใน องคกรโดยแบงหนาที่รับผิดชอบไปตามตําแหนงงานที่เฉพาะเจาะจง [17] รวมถึงบทบาทเฉพาะดานขององคกร เชน บทบาทที่ปรึกษา เปนตน ดาน ความมีมาตรฐาน (Standardization) เกี่ยวของกับวิธีการปฏิบัติงานและกฎ ขอบังคับในองคกรที่ไดรับการกําหนดอยางชัดเจน และครอบคลุมทุก สถานการณที่เกิดขึ้นในองคกร ดานความมีรูปแบบ (Formalization) เกี่ยวของกับขอบเขตของบทบาทและหนาที่ รวมถึงการสื่อสารในองคกร ซึ่งจะถูกเขียนเปนคูมือ แผนผังความรับผิดชอบ สัญญาวาจาง ดานระดับ อํานาจหนาที่ (Centralization) อธิบายถึงอํานาจในการตัดสินใจของ บุคคลในตําแหนงที่แตกตางกันซึ่งสงผลตอองคกร ดานระบบสายงาน (Configuration) คือรูปแบบของโครงสรางบทบาทและหนาที่ ดานความ เชี่ยวชาญในการผลิตและบริการ (Professionalism) เกี่ยวของกับระดับ การศึกษาและประสบการณของพนักงาน รวมถึงประสบการณของ องคกรในธุรกิจ มิติของโครงสรางองคกรนี้เปนตัวแปรอิสระที่ใชกําหนด รูปแบบของคกร ซึ่งในปจจุบันองคกรเนนการกระจายอํานาจการ ตัดสินใจและความรับผิดชอบไปยังพนักงานในระดับตางๆ [5] ทําให พนักงานมีสวนรวมในการดําเนินการขององคกร อยางไรก็ตามองคกรที่มี ขนาดใหญ มีการดําเนินการในหลายประเทศ อาจใหอํานาจในการ ตัดสินใจอยูที่สวนกลางและเนนการทํางานที่เปนมาตรฐานเดียวกัน [3], [20] อีกหลายองคกรเนนรูปแบบเพื่อสนับสนุนนวัตรกรรมใหมๆ รวมถึง การนําเสนอผลิตภัณฑใหมๆ เพื่อตอบสนองความตองการของตลาดที่มี การแขงขันสูง องคกรจําเปนตองเนนปรับปรุงมิติในดานความรู ความสามารถเฉพาะดานของทีมงาน และความคลองตัวในการดําเนินการ ขององคกร [25] ซึ่งงานวิจัยนี้จะเนนศึกษา มิติองคกรทั้ง 5 ดานตาม แนวทางการศึกษาของ Hinning [10],[13],[20] ประกอบดวย ดานความมี รูปแบบ (Formalization) ดานความชํานาญเฉพาะดาน (Specialization) ดานความมีมาตรฐาน (Standardization), ดานระดับอํานาจหนาที่ (Centralization) และดานระบบสายงาน (Configuration) 3. รูปแบบโครงสรางองคกร ในชวงศตวรรษที่ 19 และ 20 บริษัทเนนประสิทธิภาพในการ ผลิตสินคาและบริการประเภทเดียวดวยการตนทุนต่ํา จึงมีโครงสราง องคกรทีมีความชํานาญเฉพาะ ขึ้นตรงตอผูบริหารคนเดียว เรียกวา รูปแบบองคกรแบบหนวยงานเดียว (Unitary Form) เพื่อใหสามารถ ควบคุมประสิทธิภาพการผลิต [5] เชนรูปแบบขาราชการ เปนตน ตอมา กลางทศวรรษ ที่ 20 บริษัทเนนการผลิตผลิตภัณฑหลากหลายมากขึ้นเพื่อ ตอบสนองความตองการของตลาดที่เติบโตมากขึ้น จึงตองแบงหนาที่เปน 248 หลายสวนงาน ทีรับผิดชอบทีแตกตางกัน แตทํางานรวมกัน เรียกวา รูปแบบองคกรแบบหลายหนวยงาน (Multidivisional form) รองรับการ ขยายตัวขององคกร เชน รูปแบบองคกรผสม (Hybrid Form) ซึ่งเปนการ ผสมผสานรูปแบบองคกรที่เกิดจากการควบรวมกิจกรรม นอกจากนี้ยังมี รูปแบบองคกรที่เนนกําหนดความรับผิดชอบหลักใหกับหลายหนวยงาน ทํางานรวมกัน[3] ปจจุบันเทคโนโลยีเขามามีบทบาทตอรูปแบบ โครงสรางองคกร ทั้งการนํามาใชในการจัดการภายในองคกร รวมถึงการ เติบโตอยางรวดเร็วของเทคโนโลยีในการสื่อสาร การขนสง ที่ทําธุรกิจ สามารถเขาถึงตลาดไดงายและรวดเรว สงผลการแขงขันในตลาดที่ รุนแรงขึ้น องคกรจึงเนนรูปแบบที่สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี เรียกวา องคกรนวัตกรรม (Innovation Form) เชน รูปแบบ โครงขาย (Network form) ซึ่งเปนการทํางานรวมกันของหลายหนวยงาน ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องเดียวกัน ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูและ ประสบการณ หรือรูปแบบโครงการ (Project form) เปนการกําหนดความ รับผิดชอบใหหลายหนวยงานที่มีเปาหมายเฉพาะรวมกัน ในชวงเวลา หนึ่ง [18-19] 4. ดัชนีผลิตภาพ จากงานวิจัยที่เกี่ยวของไดอธิบายความหมายของผลิตภาพ ดังนี้ นิยามผลิตภาพ คือ “ผลผลิตที่คนสามารถผลิตไดดวยความพยายาม นอยที่สุด” อธิบายผลิตภาพคือ “ปริมาณผลผลิตที่มีคุณภาพตอชั่วโมงการ ทํางานของพนักงาน” กลาววาผลิตภาพคือ “ผลงานขององคกรและ หนวยงานที่เพิ่มสูงขึ้นอยางมีคุณภาพ” ซึ่งผลิตภาพถูกใชในการชี้วัด ประสิทธิภาพในการดําเนินงานขององคกร จาการใชวัตถุดิบหรือแรงงาน ตอปริมาณสินคาหรือบริการที่ผลิตขึ้น [1] และยังใชอธิบายความสามารถ ในการใชทรัพยากรในการผลิตสินคา หรือใหบริการ [23] นอกจากนี้ผลิต ภาพยังสามารถวัดไดจาก ปริมาณการใชวัตถุดิบจากสินคาที่ใชแลว หรือ สินคาที่นํากลับมาใชใหม [24] ผลิตภาพแรงงาน จะพิจารณาจากปริมาณผลผลิต หรือบริการ ที่พนักงานทําไดในชวงเวลาทํางานที่ถูกกําหนด ซึ่งจากงานวิจัยที่ผานมา มีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน ไดแก ปจจัยคาแรง และชั่วโมงการทํางาน ซึ่งรวมถึงระดับความชํานาญและประสบการณ ของแรงงาน [12] ปจจัยดานสภาพแวดลอมในสถานที่ทํางาน สุขภาพ แรงงาน วัฒนธรรมองคกร และความปลอดภัย [2],[16] โดยปจจัยเหลานี้ สงผลตอดัชนีผลิตภาพโดยทางตรง วัดจากปริมาณผลผลิตที่ผลิตได ใน ระยะเวลาการผลิตคงเดิม และยังสงผลทางออม วัดจากปริมาณมูลคาเพิ่ม ที่เกิดขึ้นจากการทํางานในระยะเวลาที่ถูกกําหนด[15] เชน ความคิด สรางสรรค คุณภาพในการทํางาน และมาตรฐานในการทํางาน [22] 5. ระเบียบและวิธีวิจัย งานวิจัยเรื่องอิทธิพลของมิติโครงสรางองคกรตอดัชนีผลิต ภาพแรงงาน นี้เปนงานวิจัยเชิงปริมาณ และวิเคราะหผลการศึกษาดวย สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมาน โดยเก็บขอมูลจากการสํารวจ ดวย

แบบสอบถาม และทําการวิเคราะหโดยใชการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ศึกษาอิทธิพลของมิติโครงสรางองคกรตอดัชนี ผลิตภาพแรงงาน 5.1 กลุมตัวอยาง งานวิจัยฉบับนี้ทําการสุมตัวอยาง 99 บริษัทจากทุกประเภท ธุรกิจที่ตั้งอยูในประเทศไทย โดยแบบสํารวจไดมีการตรวจสอบดาน ภาษาเพื่อลดความสับสนและเขาใจคลาดเคลื่อน อีกทั้งยังไดทําการสํารวจ เบื้องตนและวัดคา Reliability ไดมากกวา 0.7 ซึ่งสูงกวามาตรฐานที่ ยอมรับได อยางไรก็ตามภายหลังการติดตามผลการสํารวจ มีบริษัทที่ตอบ แบบสอบถามทั้งสิ้น 68 บริษัท เนื่องจากระยะเวลาจํากัด 5.2 ตัวแปร ตัวแปรตน ประกอบดวย มิติของโครงสรางองคกรทั้ง 5 ดาน ไดแก ดานความมีมาตรฐาน (Standardization) ดานความมีรูปแบบ (Formalization) ดานความชํานาญเฉพาะดาน (Specialization), ดานระดับ อํานาจหนาที่ (Centralization) และดานระบบสายงาน (Configuration) ซึ่งอางอิงจากงานวิจัยของ Hining (2002) และ Mintzberg (1981) ตัวแปร ตาม ไดแก ดัชนีผลิตภาพแรงงาน ซึ่งอางอิง S Mohan (2010) และ Organization for Economic Co-Operation and Development, OECD (2001) 5.3 เครื่องมือในการวิจัย คําถามในแบบสํารวจไดถูกพัฒนามาจาก Hining (2002), Mintzberg (1981), Francisco G. F. et al. (2008), John, A. P (1983), S Mohan (2010) แบบสอบถามมาตรวัดแบบ Likert Scale โดยทุกคําถาม จะถามความคิดเห็นจากมาตรวัดโดย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไป จนถึง 5 หมายถึงเห็นดวยอยางยิ่ง 6. ผลการวิจัย 6.1 ลักษณะประชากร ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด 99 คนซึ่งเปนพนักงานในบริษัท ตางๆจํานวน 99 บริษัทที่ประกอบธุรกิจแตกตางกัน ไดแก ผลิตและ จําหนายสินคาอุปโภคและบริโภค ธนาคาร สื่อสารและโทรคมนาคม ที่ ปรึกษา อุตสาหกรรมถยนต ปโตรเคมี พลังงาน เปนตน ผลการสํารวจ พบวา ผูตอบแบบสํารวจเปนเพศหญิง 59.6% มีอายุอยูระหวาง 31 ถึง 40 ปจํานวน 56.6%และจํานวน 37.4% มีอายุระหวาง 21 ถึง 30 ป มีอายุการ ทํางานอยูระหวาง 1 ถึง 5 ปจํานวน 90% จบการศึกษาระดับปริญญาตรี 75.8% และจํานวน 42.4% ไดรับเงินเดือนอยูระหวาง 10,000 ถึง 30,000 บาท อีก 39.4% ไดรับระหวาง 30,001 ถึง 60,000 บาท 6.2 การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) งานวิจัยนี้ไดวิเคราะหองคประกอบของตัวแปรตาม ซึ่งผลการ วิเคราะหพบวาจากตัวแปรจํานวน 5 ตัวแปร มีเพียงสองตัวแปรที่มี คาไอเกนมากกวา 1 ซึ่งทั้งสองตัวแปรอธิบายคาความแปรปรวนรวมได 249 72.025 ดังนั้นจึงสามารถแยกตัวแปรทั้ง 5 ตัวไดเพียง 2 องคประกอบ เทานั้น และเมื่อทําการทดสอบหมุนแกนดวยวิธี Varimax เพื่อวิเคราะห แบงแยกตัวแปรตามคา Loading ดังแสดงในตารางที่ 2 พบวา องคประกอบแรก ประกอบดวยตัวแปรดานความมีมาตรฐาน ดานความมี รูปแบบ ดานความมีรูปแบบ องคประกอบที่สอง ประกอบดวยตัวแปร ดานระดับอํานาจหนาที่ และดานระบบสาย ซึ่งองคประกอบแรกจะเรียก ใหมวา “ความสามารถดานการดําเนินงาน” และองคประกอบที่สองจะ เรียกใหมวา “ความสามารถดานการตัดสินใจ” ่ ตารางที 1: ผลลัพธจากการสกัดองคประกอบ Factors Total Initial Eigen values % of Variance % Cumulative 1 2.415 48.290 48.29 2 1.227 24.575 72.025 3 .642 12.835 85.659 4 .485 9.702 95.61 5 .232 4.639 100 ่ ตารางที 2: เมตริกองคประกอบหลังการหมุน Item loaded Factor 1 Factor 2 Formalization .804 .074 Standardization .903 .151 Specialization .875 .074 Configuration .098 .823 Centralization .090 .839 6.3 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ หลังจากการวิเคราะหองคประกอบของตัวแปรตามแลว ได นําผลการวิเคราะหไปใชในการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ พบวาคา สัมประสิทธิ์ถดถอยของแตละองคประกอบไดแก ความสามารถดานการ ดําเนินงาน = 0.46 (t = 3.924) และความสามารถดานการตัดสินใจ = 0.37 (t = 3.974) ดังตารางที่ 3 ซึ่งคาสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระ อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของดัชนีผลิตภาพแรงงานเมื่อปจจัยแตละตัวมี การเปลี่ยนแปลงขณะที่ปจจัยอื่นคงที่ ดังนั้นสรุปไดวาองคประกอบทั้ง สองดาน ของโครงสรางองคกรมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงดัชนีผลิต ภาพแรงงานเมื่อปจจัยตัวอื่นคงที่ จากผลการวิเคราะหตารางที่ 4 พบวา ความสามารถดานการดําเนินงานและความสามารถดานการตัดสินใจมี ผลกระทบตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน 44.7% (R Square = 0.447) ซึ่งเมื่อ พิจารณาคาที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 และ F มีคาเทากับ 20.18 โดยมีสมการ ถดถอยพหุปจจัยดังนี้ LABORP= 0.554+0.46 (OPER) + 0.37 (DECI)

แบบสอบถาม และทําการวิเคราะหโดยใชการถดถอยพหุคูณ (Multiple<br />

Regression Analysis) ศึกษาอิทธิพลของมิติโครงสรางองคกรตอดัชนี<br />

ผลิตภาพแรงงาน<br />

5.1 กลุมตัวอยาง<br />

งานวิจัยฉบับนี้ทําการสุมตัวอยาง<br />

99 บริษัทจากทุกประเภท<br />

ธุรกิจที่ตั้งอยูในประเทศไทย<br />

โดยแบบสํารวจไดมีการตรวจสอบดาน<br />

ภาษาเพื่อลดความสับสนและเขาใจคลาดเคลื่อน<br />

อีกทั้งยังไดทําการสํารวจ<br />

เบื้องตนและวัดคา<br />

Reliability ไดมากกวา 0.7 ซึ่งสูงกวามาตรฐานที่<br />

ยอมรับได อยางไรก็ตามภายหลังการติดตามผลการสํารวจ มีบริษัทที่ตอบ<br />

แบบสอบถามทั้งสิ้น<br />

68 บริษัท เนื่องจากระยะเวลาจํากัด<br />

5.2 ตัวแปร<br />

ตัวแปรตน ประกอบดวย มิติของโครงสรางองคกรทั้ง<br />

5 ดาน<br />

ไดแก ดานความมีมาตรฐาน (Standardization) ดานความมีรูปแบบ<br />

(Formalization) ดานความชํานาญเฉพาะดาน (Specialization), ดานระดับ<br />

อํานาจหนาที่<br />

(Centralization) และดานระบบสายงาน (Configuration)<br />

ซึ่งอางอิงจากงานวิจัยของ<br />

Hining (2002) และ Mintzberg (1981) ตัวแปร<br />

ตาม ไดแก ดัชนีผลิตภาพแรงงาน ซึ่งอางอิง<br />

S Mohan (2010) และ<br />

Organization for Economic Co-Operation and Development, OECD<br />

(2001)<br />

5.3 เครื่องมือในการวิจัย<br />

คําถามในแบบสํารวจไดถูกพัฒนามาจาก Hining (2002),<br />

Mintzberg (1981), Francisco G. F. et al. (2008), John, A. P (1983), S<br />

Mohan (2010) แบบสอบถามมาตรวัดแบบ Likert Scale โดยทุกคําถาม<br />

จะถามความคิดเห็นจากมาตรวัดโดย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางยิ่ง<br />

ไป<br />

จนถึง 5 หมายถึงเห็นดวยอยางยิ่ง<br />

6. ผลการวิจัย<br />

6.1 ลักษณะประชากร<br />

ผูตอบแบบสอบถามทั้งหมด<br />

99 คนซึ่งเปนพนักงานในบริษัท<br />

ตางๆจํานวน 99 บริษัทที่ประกอบธุรกิจแตกตางกัน<br />

ไดแก ผลิตและ<br />

จําหนายสินคาอุปโภคและบริโภค ธนาคาร สื่อสารและโทรคมนาคม<br />

ที่<br />

ปรึกษา อุตสาหกรรมถยนต ปโตรเคมี พลังงาน เปนตน ผลการสํารวจ<br />

พบวา ผูตอบแบบสํารวจเปนเพศหญิง<br />

59.6% มีอายุอยูระหวาง<br />

31 ถึง 40<br />

ปจํานวน 56.6%และจํานวน 37.4% มีอายุระหวาง 21 ถึง 30 ป มีอายุการ<br />

ทํางานอยูระหวาง<br />

1 ถึง 5 ปจํานวน 90% จบการศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

75.8% และจํานวน 42.4% ไดรับเงินเดือนอยูระหวาง<br />

10,000 ถึง 30,000<br />

บาท อีก 39.4% ไดรับระหวาง 30,001 ถึง 60,000 บาท<br />

6.2 การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis)<br />

งานวิจัยนี้ไดวิเคราะหองคประกอบของตัวแปรตาม<br />

ซึ่งผลการ<br />

วิเคราะหพบวาจากตัวแปรจํานวน 5 ตัวแปร มีเพียงสองตัวแปรที่มี<br />

คาไอเกนมากกวา 1 ซึ่งทั้งสองตัวแปรอธิบายคาความแปรปรวนรวมได<br />

249<br />

72.025 ดังนั้นจึงสามารถแยกตัวแปรทั้ง<br />

5 ตัวไดเพียง 2 องคประกอบ<br />

เทานั้น<br />

และเมื่อทําการทดสอบหมุนแกนดวยวิธี<br />

Varimax เพื่อวิเคราะห<br />

แบงแยกตัวแปรตามคา Loading ดังแสดงในตารางที่<br />

2 พบวา<br />

องคประกอบแรก ประกอบดวยตัวแปรดานความมีมาตรฐาน ดานความมี<br />

รูปแบบ ดานความมีรูปแบบ องคประกอบที่สอง<br />

ประกอบดวยตัวแปร<br />

ดานระดับอํานาจหนาที่<br />

และดานระบบสาย ซึ่งองคประกอบแรกจะเรียก<br />

ใหมวา “ความสามารถดานการดําเนินงาน” และองคประกอบที่สองจะ<br />

เรียกใหมวา “ความสามารถดานการตัดสินใจ”<br />

่ ตารางที 1: ผลลัพธจากการสกัดองคประกอบ<br />

Factors<br />

Total<br />

Initial Eigen values<br />

% of Variance % Cumulative<br />

1 2.415 48.290 48.29<br />

2 1.227 24.575 72.025<br />

3 .642 12.835 85.659<br />

4 .485 9.702 95.61<br />

5 .232 4.639 100<br />

่ ตารางที 2: เมตริกองคประกอบหลังการหมุน<br />

Item loaded Factor 1 Factor 2<br />

Formalization .804 .074<br />

Standardization .903 .151<br />

Specialization .875 .074<br />

Configuration .098 .823<br />

Centralization .090 .839<br />

6.3 การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ<br />

หลังจากการวิเคราะหองคประกอบของตัวแปรตามแลว ได<br />

นําผลการวิเคราะหไปใชในการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ พบวาคา<br />

สัมประสิทธิ์ถดถอยของแตละองคประกอบไดแก<br />

ความสามารถดานการ<br />

ดําเนินงาน = 0.46 (t = 3.924) และความสามารถดานการตัดสินใจ = 0.37<br />

(t = 3.974) ดังตารางที่<br />

3 ซึ่งคาสัมประสิทธิ์การถดถอยของตัวแปรอิสระ<br />

อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของดัชนีผลิตภาพแรงงานเมื่อปจจัยแตละตัวมี<br />

การเปลี่ยนแปลงขณะที่ปจจัยอื่นคงที่<br />

ดังนั้นสรุปไดวาองคประกอบทั้ง<br />

สองดาน ของโครงสรางองคกรมีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงดัชนีผลิต<br />

ภาพแรงงานเมื่อปจจัยตัวอื่นคงที่<br />

จากผลการวิเคราะหตารางที่<br />

4 พบวา<br />

ความสามารถดานการดําเนินงานและความสามารถดานการตัดสินใจมี<br />

ผลกระทบตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน 44.7% (R Square = 0.447) ซึ่งเมื่อ<br />

พิจารณาคาที่ระดับนัยสําคัญ<br />

0.05 และ F มีคาเทากับ 20.18 โดยมีสมการ<br />

ถดถอยพหุปจจัยดังนี้<br />

LABORP= 0.554+0.46 (OPER) + 0.37 (DECI)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!