30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

247<br />

การประชุมวิชาการดานการวิจัยดําเนินงานแหงชาติ ประจําป 2554<br />

วันที่<br />

8-9 กันยายน 2554 ณ โรงแรม เอส ดี อเวนิว กรุงเทพฯ<br />

อิทธิพลของมิติในโครงสรางองคกรตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน<br />

The Influence of Organizational Structure’s Dimensions on the Employee Productivity Indicator<br />

ตอเกียรติ นอยสําลี 1 และ ดร.ภูษิต วงศหลอสายชล 2<br />

1, 2 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย<br />

โทรศัพท 0870817263 E-mail: 1 tawkiatnoisomlee@hotmail.co.th, 2 dr.phusit@gmail.com<br />

บทคัดยอ<br />

ดัชนีผลิตภาพแรงงานเปนตัวชี้วัดความสามารถพนักงานใน<br />

การเพิ่มผลผลิตขององคกรและยังเปนตัวชี้วัดเศรษฐกิจของประเทศ<br />

ซึ่ง<br />

จากการศึกษาวิจัยที่ผานมาพบวาการเพิ่มผลิตภาพจะทําไดโดยตรงจาก<br />

การเพิ่มคาแรงเพื่อใหมีผลผลิตที่สูงขึ้นมากกวาอัตราการเพิ่มของแรงงาน<br />

และสามารถเพิ่มผลิตภาพทางออมดวยการปรับสภาพแวดลอมในสถานที่<br />

ทํางานเพื่อกระตุนใหมีการผลิตเพิ่มขึ้นในเวลาทํางานเทาเดิม<br />

ดังนั้น<br />

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาอิทธิพลของมิติในโครงสรางองคกร<br />

ที่สงผลตอการเพิ่มดัชนีผลิตภาพแรงงาน<br />

จากผลการวิจัยพบวามิติ<br />

ความสามารถขององคกร เชน ความเชี่ยวชาญ<br />

และ มิติการจัดการองคกร<br />

เชน การแบงสายงาน ลวนสงผลตอดัชนีผลิตภาพแรงงาน ดังนั้นองคกร<br />

ควรใหความสําคัญตอมิติทั้งสองดานนี้ในการปรับโครงสรางองคกร<br />

คําสําคัญ: ดัชนีผลิตภาพ, ผลิตภาพแรงงาน, มิติในโครงสรางองคกร<br />

Abstract<br />

Employee productivity indicator has been used to determine<br />

the employee capability in organization and it can be used to indicate<br />

the economy of country. It is quite interesting to understand the factors<br />

which can influence the labor productivity. Previously, the studies more<br />

focus on wage and working environment to improve the labor<br />

productivity. Therefore, the objective of this paper is to study the<br />

influence of organizational structure’s dimensions on employee<br />

productivity, which can be used for designing the new organization<br />

form to increase the employee productivity without investment. The<br />

result is shown that both organization capability and organization<br />

administration influence on increasing of employee productivity. Thus,<br />

the organization should consider these dimensions while working on<br />

organization design.<br />

Keywords: productivity, employee productivity, organizational<br />

structure’s dimension<br />

1. บทนํา<br />

จากขอมูลดัชนีผลิตภาพแรงงานอุตสาหกรรมของ สํานักงาน<br />

เศรษฐกิจอุตสาหกรรมพบวาในป 2543 มีคาดัชนีอยูที่<br />

98.68 และป 2554<br />

มีคาดัชนีอยูที่<br />

149.94 พบวามีอัตราเพิ่มขึ้นเพียง<br />

51.94% โดยเฉพาะใน<br />

ภาคอุตสาหกรรมที่มีการใชแรงงานเปนปจจัยหลักในการดําเนินการผลิต<br />

ไดแก การผลิตสิ่งทอ<br />

การผลิตผลิตภัณฑอาหาร การผลิตผลิตภัณฑแกว<br />

การผลิตผลิตภัณฑจากดิน การผลิตผลิตภัณฑยางและพลาสติก เปนตน<br />

[14] แสดงใหเห็นวา บริษัทยังคงใชแรงงานเพื่อทําการผลิตอยางไมมี<br />

ประสิทธิภาพ ซึ่งสงผลโดยตรงตอตนทุนในการผลิตและกระทบตอ<br />

ความสามารถในการแขงขันทั้งในตลาดภายในประเทศและตลาด<br />

ตางประเทศ เมื่อพิจารณาอัตราการเติบโตของผลิตภาพแรงงานตอปของ<br />

ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตในป 2008 พบวาประเทศไทยอยูที่<br />

1%<br />

สูงกวาสิงคโปร และพมา เทานั้น<br />

[8] แสดงใหเห็นวา ประเทศไทยกําลัง<br />

สูญเสียความสามารถในการแขงขันใหกับประเทศเพื่อนบาน<br />

ดัชนีผลิตภาพแรงงานมีความสําคัญตอการเพิ่มขึ้นของ<br />

ความสามารถในการผลิตและประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต<br />

ปจจุบันมีการศึกษาปจจัยที่สงผลตอการเพิ่มผลิตภาพ<br />

ไดแก ปจจัยดาน<br />

คาจางและชั่วโมงการทํางาน<br />

[8],[12] ซึ่งไมเหมาะกับสภาพเศรษฐกิจที่<br />

ตองการลดตนทุนในการผลิต เพิ่มความพึงพอใจ<br />

ความปลอดภัย ชีวิต<br />

ความเปนอยูของครอบครัวของพนักงาน<br />

[2],[16] และปจจัยดาน<br />

สภาพแวดลอมในที่ทํางาน<br />

เชน สุขภาพของพนักงาน รวมถึงการสื่อสาร<br />

ในที่ทํางาน<br />

[2],[16] ซึ่งปจจัยเหลานี้สงผลโดยตรงตอทัศนคติและ<br />

พฤติกรรมในการทํางานของพนักงานเปนรายบุคคล ดวยเหตุนี้จึงเกิด<br />

แนวคิดที่จะทําการศึกษาปจจัยในระดับองคกรที่จะสนับสนุนให<br />

การ<br />

ทํางานของพนักงานทั้งองคกรผลิตผลิตผลที่สูงขึ้น<br />

แมที่ผานมาจะมีการ<br />

ทําการศึกษาปจจัยในดานกระบวนการทํางาน การกระจายอํานาจใน<br />

องคกร การกําหนดบทบาทหนาที่ในองคกร<br />

[4-5] แตยังขาดมุมมองใน<br />

ทุกมิติของโครงสรางองคกร ซึ่งไดแก<br />

ดานความชํานาญเพาะดาน ดาน<br />

ความมีมาตรฐาน ดานความมีรูปแบบ ดานระดับอํานาจหนาที่<br />

ดานระบบ<br />

สายงาน และดานความเชี่ยวชาญในการผลิตและบริการ<br />

[9-11],[13]<br />

นอกจากนี้มิติโครงสรางองคกรเปนปจจัยกําหนดรูปแบบขององคกรเชน<br />

รูปแบบองคกรราชการ รูปแบบองคกรหนวยงาน หรือรูปแบบองคกร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!