30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รูปที่<br />

11 การเปลี่ยนแปลงของความขรุขระผิวจากการเปลี่ยนระดับ<br />

ของปจจัยหลัก<br />

การทดลองเบื้องตน<br />

รูปที่<br />

6 รูปที่<br />

7 และ รูปที่<br />

8 พบวาปจจัย<br />

หลักที่สงผลตอความขรุขระผิวไมตาลโตนดคือ<br />

อัตราปอน และความเร็ว<br />

รอบ โดยอัตราปอนมีแนวโนมวาเมื่อเพิ่มอัตราปอน<br />

คาความขรุขระผิวจะ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

โดยที่ความเร็วรอบมีแนวโนมวาเมื่อเพิ่มความเร็วรอบจากคา<br />

ความขรุขระผิวจะลดลง และเมื่อปรับอัตราปอนลดลง<br />

และความเร็วรอบ<br />

เพิ่มขึ้นทําใหความขรุขระผิวของไมตาลโตนดลดลงดวย<br />

รูปที่<br />

10 และ รูป<br />

ที่<br />

11 พบวาปจจัยรวมอื่น<br />

ๆ ไมสงผลตอความขรุขระผิว<br />

จากนั้นเปนการวิเคราะหการถดถอย<br />

(Regression analysis)<br />

ของความขรุขระผิวกับอัตราปอน และความเร็วรอบ โดยใชขอมูลจาก<br />

การทดลองปรับตัวแปรเพื่อหาคาความขรุขระผิว<br />

กําหนดอัตราปอน 3<br />

ระดับ คือ 0.03 0.04 และ 0.05 มิลลิเมตร/ฟน ความเร็วรอบ 3 ระดับคือ<br />

800 1000 และ 1200 รอบ/นาที กําหนดความลึกคงที่<br />

คือ 1 มิลลิเมตร<br />

ทิศทางในการกัดคงที่<br />

คือ 0 องศา เนื่องจากไมสงผลตอการทดลอง<br />

นํามา<br />

วิเคราะหการถดถอยโดยใชโปรแกรมมินิแทบ รุน15<br />

ซึ่งสามารถวิเคราะห<br />

การถดถอยโดยผลการวิเคราะห ดังรูปที่<br />

12<br />

รูปที่<br />

12 การวิเคราะหการถดถอยของคาความขรุขระผิว<br />

การวิเคราะหความสัมพันธจากการวิเคราะหการถดถอย<br />

สามารถสรางความสัมพันธระหวางปจจัยหลักและตัวแปรตามในรูป<br />

5<br />

สมการเชิงเสนของคาความขรุขระผิวกับความเร็วรอบ และอัตราปอน<br />

โดยสามารถแสดงไดดังนี้<br />

R a = 0.954 + 20.4 feed + 0.00126 speed (1)<br />

ผลการทดลองและวิเคราะหผลการทดลองตอนที่<br />

5 เปนการ<br />

ทดลองเพื่อยืนยันผลที่ไดสอดคลองกับการทดลองที่ผานมา<br />

โดยการนํา<br />

สมการเชิงเสนมาพยากรณความขรุขระผิว โดยทําการสุมสภาวะการกัด<br />

อยูในขอบเขตที่กําหนดแลวมาเปรียบเทียบคาจริง<br />

จากการทดลองเพื่อการ<br />

ยืนยันผล กําหนดคาความคลาดเคลื่อนไมเกิน<br />

10% พบวาคาความขรุขระ<br />

ผิวที่ไดจากสมการเมือเปรียบเทียบกับคาที่วัดจริงเทากับ<br />

6.10% ซึ่งนอย<br />

กวาคาความคลาดเคลื่อนที่ไดกําหนดไวและคาอยูในเกณฑที่ยอมรับได<br />

6. สรุปผลการทดลอง<br />

การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการกัดปาดผิวหนาไม<br />

ตาลโตนดดวยเครื่องกัดควบคุมดวยคอมพิวเตอร<br />

เพื่อหาคาความขรุขระ<br />

ผิวเพื่อผลิตชิ้นสวนเฟอรนิเจอรจากไมตาลโตนด<br />

โดยใชวิธีการออกแบบ<br />

การทดลองแบบสุมสมบูรณ<br />

(Completely randomized factorial design)<br />

ในการทดลองเบื้องตนไดกําหนดตัวแปรที่คาดวามีผลตอการทดลองคือ<br />

อัตราปอน ความเร็วรอบ ทิศทางการกัด ความลึกในการกัด ผลตอบสนอง<br />

คือความขรุขระผิว จากผลการศึกษาพบวา<br />

1. ปจจัยที่มีผลตอความขรุขระผิวไมตาลโตนด<br />

คือ อัตราปอน<br />

มีผลมากสุด รองลงมา คือ ความเร็วรอบ โดยมีแนวโนมวาการใชอัตรา<br />

ปอนต่ํา<br />

และการเพิ่มความเร็วรอบใหสูงขึ้นมีผลทําใหคาความขรุขระผิว<br />

ลดลง<br />

2. จากการทดลองไดสมการเชิงเสนดังนี้<br />

R a = 0.954 + 20.4 feed + 0.00126 speed<br />

สมการนี้ใชกับดอกเชลลเอ็นมิล<br />

(Shell End Mill) วัสดุเหล็ก<br />

รอบสูง (HSS) จํานวน 6 คมตัด ความเร็วรอบ อยูในชวง<br />

800-1200 รอบ/<br />

นาที อัตราปอน อยูในชวง<br />

0.03-0.05 มิลลิเมตร/ฟน<br />

3. จากการทดลองเพื่อยืนยันผล<br />

เปรียบเทียบคาที่ไดจาก<br />

สมการกับคาที่วัดจริงโดยกําหนดคาความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ<br />

สําหรับวัดคาความขรุขระผิวไมเกิน 10% ผลจากการทดลองหาคาเฉลี่ย<br />

เปอรเซ็นตของคาเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อนสมบูรณของสมการความ<br />

ขรุขระผิว เทากับ 6.10% ซึ่งนอยกวาคาความคลาดเคลื่อนที่กําหนดไว<br />

และคาอยูในเกณฑที่ยอมรับได<br />

7. ขอเสนอแนะ<br />

1. ในการวัดชิ้นงานพบวาเนื้อไมตาลโตนดมีความแปรปรวน<br />

มากทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการวัดความขรุขระผิว<br />

ซึ่งเปนปจจัยที่<br />

ไมสามารถควบคุมได และทําใหเสียเวลาทดลอง ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการ<br />

วัดสวนที่เปนไสไม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!