30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วัดประสิทธิภาพของการจัดตารางการทดสอบคุณสมบัติสีของ<br />

แบบจําลองที่สรางขึ้นเหมาะสมกับการจัดตารางการทดสอบคุณสมบัติสี<br />

เมื่อทําการเปรียบเทียบกับงานประจํา<br />

และกฎการจัดความสําคัญใน<br />

โปรแกรม Lekin หรือไม<br />

3. ชวงสาม ตั้งแตเดือนมกราคม<br />

ถึงเดือนตุลาคม 2553 โดยใช<br />

ขอมูลจากงานทั้งหมดที่ไดรับหมอบหมายใหทําการทดสอบคุณสมบัติสี<br />

2.3 ผลการทดลอง<br />

รูปที่<br />

2 กรอบแนวคิดในการวิจัย<br />

ตารางที่<br />

2 การเปรียบเทียบชวงที่สามตั้งแตเดือน<br />

มกราคม – ตุลาคม 2553<br />

KPI Routine Model FCFS % Diff.<br />

เวลาปดงานของระบบ 302 306 302 1.32<br />

ความลาชา 9 11 9 22.22<br />

จํานวนงานที่สายทั้งหมด<br />

21 11 21 -47.62<br />

เวลาไหลของงานรวม 7679 6035 7679 -21.41<br />

ความลาชารวม 45 30 45 -33.33<br />

จากตารางที่<br />

2 พบวาการจัดตารางการทดสอบคุณสมบัติสีของ<br />

แบบจําลองที่นําเสนอนั้นมีดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพดีที่สุดคือ<br />

มีจํานวนงาน<br />

ที่สายทั้งหมดลดลง<br />

47% เวลาไหลของงานรวมลดลง 21% และมีความ<br />

ลาชารวมลดลง 33% ทั้งนี้การจัดตารางการทดสอบคุณสมบัติสีของงาน<br />

ประจําและแบบ FCFS มีเวลาปดงานของระบบและคาความลาชามีคา<br />

เทากัน<br />

จากนั้นนํามาเปรียบเทียบกับกฎการจัดลําดับความสําคัญหรือ<br />

กฎการแจกจายงาน คือ EDD, SPT, LPT, FCFS และวิธีการฮิวรีสติกแบบ<br />

225<br />

ยายคอขวด (Shifting Bottleneck Heuristics) เพื่อทําการทดสอบกับ<br />

แบบจําลองที่ผูวิจัยนําเสนอวามีความแตกตางอยางไรบาง<br />

3. สรุปผลการทดลอง<br />

ผูวิจัยไดทําการเปรียบเทียบการจัดตารางการทดสอบ<br />

คุณสมบัติสีระหวางแบบจําลองที่สรางขึ้น<br />

แบบงานประจําและการจัด<br />

ตารางการทดสอบในโปรแกรม Lekin ซึ่งคือ<br />

แบบงานประจํา แบบจําลอง<br />

ที่นําเสนอ<br />

แบบ EDD แบบ SPT แบบ LPT แบบ FCFS แบบ MST และ<br />

แบบ Shift Bottleneck Heuristic เพื่อเปรียบเทียบคาดัชนีชี้วัด<br />

ประสิทธิภาพการทํางาน คือ เวลาปดงานของระบบ (Makespan) ความ<br />

ลาชา (Tardiness) ความลาชารวม (Total Tardiness) เวลาสาย (Lateness)<br />

เวลาไหลของงาน (Flow Time) เวลาไหลของงานรวม (Total Flow Time)<br />

จํานวนงานที่สายทั้งหมด<br />

(Total Number of Late Jobs) เปนเกณฑในการ<br />

พิจารณาประสิทธิภาพของการจัดตารางการผลิต ซึ่งพบวาการจัดตาราง<br />

ของแบบจําลองที่นําเสนอมีคาดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพดีที่สุด<br />

ซึ่งผูวิจัย<br />

พิจารณาเฉพาะคาของจํานวนงานที่สายทั้งหมดและเวลาไหลของงานรวม<br />

เนื่องจากความลาชารวมเปนผลมาจากจํานวนงานที่สายทั้งหมดและเวลา<br />

ไหลของงานรวมมีคานอยกวาแบบอื่นๆ<br />

และคาดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ<br />

อื่นๆ<br />

มีคาใกลเคียงกัน<br />

รูปที่<br />

3 จํานวนงานที่สายทั้งหมด<br />

รูปที่<br />

4 เวลาไหลของงานรวม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!