30.06.2013 Views

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

ดาวน์โหลด All Proceeding - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ถดถอย สวนปริมาณที่เหลือไมสามารถอธิบายไดเนื่องจากสาเหตุที่ไม<br />

สามารถควบคุมได<br />

ดังนั้นจะเห็นไดวาความผันแปรของขอมูลวัดความขรุขระผิว<br />

สวนใหญสามารถอธิบายไดตัวแบบถดถอย แสดงวาการออกแบบการ<br />

ทดลองนี้มีความถูกตองและมีความเหมาะสม<br />

จึงสามารถวิเคราะหตอไป<br />

ไดดวยการวิเคราะหความแปรปรวนโดยผลการวิเคราะห ดังรูปที่<br />

6<br />

รูปที่<br />

6 การวิเคราะหความแปรปรวนของคาความขรุขระผิว<br />

รูปที่<br />

7 การปฏิสัมพันธของความขรุขระผิว<br />

รูปที่<br />

8 การเปลี่ยนแปลงของความขรุขระผิวจากการเปลี่ยนระดับ<br />

ของปจจัยหลัก<br />

4<br />

การทดลองเบื้องตน<br />

รูปที่<br />

6 รูปที่<br />

7 และ รูปที่<br />

8 พบวาปจจัย<br />

หลักที่สงผลตอความขรุขระผิวไมตาลโตนดคือ<br />

อัตราปอน และความเร็ว<br />

รอบ โดยมีแนวโนมวาเมื่อเพิ่มอัตราปอนจาก<br />

0.03 เปน 0.05 มิลลิเมตร/<br />

ฟน คาความขรุขระผิวจะเพิ่มขึ้นโดยที่ความเร็วรอบมีแนวโนมวาเมื่อเพิ่ม<br />

ความเร็วรอบ จาก 1000 เปน 1200 รอบ/นาที คาความขรุขระผิวจะลดลง<br />

และเมื่อปรับอัตราปอนลดลง<br />

และความเร็วรอบเพิ่มขึ้นทําใหความขรุขระ<br />

ผิวของไมตาลโตนดลดลงดวย รูปที่<br />

6 และ รูปที่<br />

7 พบวาปจจัยรวมอื่น<br />

ๆ<br />

ไมสงผลตอความขรุขระผิว<br />

ผลการทดลองและผลการวิเคราะหตอนที่<br />

3 การปรับตัวแปร<br />

เพื่อหาคาความขรุขระผิว<br />

การวิเคราะหคาความแปรปรวน จากการ<br />

ทดลองวัดคาความขรุขระผิวตามที่ไดออกแบบไวไดผลวา<br />

สัมประสิทธิ์<br />

แสดงการตัดสินใจ มีคาเทากับ 64.23 % และคา Adjust R 2 มีคาเทากับ<br />

54.25% ซึ่งมีความหมายวาถาความแปรปรวน<br />

100 µm 2 แลวความ<br />

แปรปรวน 64.23 µm 2 สามารถอธิบายไดดวยตัวแบบถดถอย สวนปริมาณ<br />

ที่เหลือไมสามารถอธิบายไดเนื่องจากสาเหตุที่ไมสามารถควบคุมได<br />

ดังนั้นจะไดวา<br />

ความแปรปรวนของขอมูลวัดความขรุขระผิว<br />

สวนใหญสามารถอธิบายไดดวยอัตราปอน และความเร็วรอบ แสดงวา<br />

การออกแบบการทดลองนี้ถูกตอง<br />

และมีความเหมาะสมจึงสามารถ<br />

วิเคราะหตอไปไดดวยการวิเคราะหความแปรปรวนโดยผลการวิเคราะห<br />

ดังรูปที่<br />

9<br />

รูปที่<br />

9 การวิเคราะหความแปรปรวนของคาความขรุขระผิว<br />

รูปที่<br />

10 การปฏิสัมพันธของความขรุขระผิว

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!